นกกระทุง (อังกฤษ: Spot-billed pelican; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pelecanus philippensis) นกน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกกระทุง (Pelecanidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์นี้ ที่พบได้ในประเทศไทย
นกกระทุง | |
---|---|
ขณะหากินในน้ำ | |
ขณะบิน | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Aves |
อันดับ: | Pelecaniformes |
วงศ์: | Pelecanidae |
สกุล: | Pelecanus |
สปีชีส์: | P. philippensis |
ชื่อทวินาม | |
Pelecanus philippensis , 1789 |
ลักษณะทั่วไป
นกกระทุงเป็นนกขนาดใหญ่ มีความยาวจากปากถึงปลายหางประมาณ 52–60 นิ้ว มีขาสั้นใหญ่ ปากยาวแบนข้างใต้มี ถุงสีออกม่วงขนาดใหญ่ บริเวณขอบปากบนมีจุดสีน้ำเงินเข้มอยู่เป็นระยะตามความยาวของจะงอยปาก ตีนมีพังผืดสี เหลืองขึงเต็มระหว่างนิ้วทุกนิ้วคล้ายเป็ด ม่านตาสีแดง แข้งและตีนสีเนื้อ สามารถว่ายน้ำได้ดี บินได้สูง ในฤดูผสมพันธุ์ ขนจะเปลี่ยนเป็นสีเทาเงินในช่วงบนของลำตัว ส่วนช่วงล่างจะเป็นสีขาว แต่ถ้าไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ปีก หางและส่วนใต้ลำตัว จะมีสีน้ำตาลเช่นเดียวกับนกกระทุงที่ยังไม่โตเต็มที่ ทั้งตัวผู้และตัวเมียรูปร่างและสีสันเหมือนกัน นกกระทุงชอบอยู่เป็นฝูง กินปลา, กุ้ง, กบ หรือสัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ เป็นอาหารและหาอาหารด้วยกัน ถ้าตัวใดตัวหนึ่งทำอะไรตัวอื่นจะทำตาม เวลาที่อยู่เฉย ๆ จะหันหน้าไปทางเดียวกันหมด เวลาบินจะหดคอเข้ามา บินกันเป็นแถวเรียงหนึ่ง บางครั้งบินเป็นรูปตัว V ส่วนใหญ่จะบินเป็นรูปขั้นบันไดกว้าง ๆ รังสร้างด้วยกิ่งไม้ใหญ่ ๆ วางสานกันบนต้นไม้สูง ๆ ขนาดของรังมีเส้นผ่าศูนย์ กลาง 2 ฟุต วางไข่ครั้งละประมาณ 3 ฟอง ไข่มีสีขาว ทั้งตัวผู้และตัวเมียช่วยกันกกไข่ประมาณ 4–5 อาทิตย์ จึงฟักเป็นตัว
ถิ่นที่อยู่อาศัย
อินเดีย, จีน, ไหหลำ, ไต้หวัน, ซุนดา, ออสเตรเลีย, โซโลมอน, อินโดจีน, ฟิลิปปินส์, แหลมมลายูและไทย ประเทศไทย มีอยู่ทั่วไปทุกภาค ปัจจุบันเป็นนกที่ค่อนข้างพบเห็นยากมาก เคยพบปนอยู่กับฝูงนกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม จังหวัดปทุมธานี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2545 ได้มีการพบเห็นฝูงนกกระทุงที่บินผ่านประเทศไทยและแวะพักหากินที่บ่อปลาของชาวบ้านใน หมู่ 7 ตำบลหน้าโคก อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีบ่อปลาอยู่ ซึ่งสามารถพบเห็นได้ปีละ 2 ช่วง คือ ช่วงเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน และช่วงเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน และสามารถมองเห็นได้บนเสาไฟฟ้าแรงสูงจากถนนเสนทางสายป่าโมก–สุพรรณ ช่วงหน้าโคก
ในอดีตนกกระทุงสามารถพบได้มากมายในประเทศไทย ในพงศาวดารระบุไว้ว่า ในศึกลาดหญ้า อันเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเก้าทัพในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระยาสระบุรีได้รับคำสั่งให้เดินทางล่วงหน้าไปตีทัพหน้าของพม่า ที่ริมแม่น้ำน่าน ตำบลปากพิง ใต้เมืองพิษณุโลก เมื่อพระยาสระบุรีพักทัพที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำน่าน ในเวลากลางคืนได้พบกับนกกระทุงฝูงใหญ่ จนเข้าใจผิดคิดว่าเป็นกองทัพพม่า จึงได้สั่งการให้ถอยทัพ
พฤติกรรม, การสืบพันธุ์
ชอบอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงทั้งช่วงเวลาหากินและทำรัง ขณะหาอาหารจะใช้ถุงใต้คอทำหน้าที่คล้ายสวิงช้อนปลาลงในลำคอ นกกระทุงทำรังอยู่บนต้นไม้รวมกันเป็นฝูง วางไข่คราวละ 1–5 ฟอง และใช้เวลาฟักไข่ประมาณ 30 วัน โดยทั้งตัวผู้และตัวเมียผลัดกันทำหน้าที่
สถานภาพปัจจุบัน
ใกล้สูญพันธุ์จากประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 บัญญัติไว้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
อ้างอิง
- undefined. 2017. Pelecanus philippensis. The IUCN Red List of Threatened Species 2017: e.T22697604A117970266. https://dx.doi.org/10.2305/IUCN.UK.2017-3.RLTS.T22697604A117970266.en. Downloaded on 21 May 2020.
- Harrison, Peter; Peterson, Roger Tory (1991). Seabirds: A Complete Guide to the Seabirds of the World (Helm Identification Guides) . Christopher Helm Publishers Ltd. .
- หน้า 3 , เคล็ดวิชา ซูจี. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. ไทยรัฐปีที่ 67 ฉบับที่ 21342: วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2559 แรม 8 ค่ำ เดือน 7 ปีวอก
- Spot-billed Pelican (Pelecanus philippensis)
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-02. สืบค้นเมื่อ 2012-11-09.
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Pelecanus philippensis ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nkkrathung xngkvs Spot billed pelican chuxwithyasastr Pelecanus philippensis nknakhnadihychnidhnung inwngsnkkrathung Pelecanidae cdepnephiyngchnidediywethanninwngsni thiphbidinpraethsithynkkrathungkhnahakininnakhnabinsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Pelecaniformeswngs Pelecanidaeskul Pelecanusspichis P philippensischuxthwinamPelecanus philippensis 1789lksnathwipnkkrathungepnnkkhnadihy mikhwamyawcakpakthungplayhangpraman 52 60 niw mikhasnihy pakyawaebnkhangitmi thungsixxkmwngkhnadihy briewnkhxbpakbnmicudsinaenginekhmxyuepnrayatamkhwamyawkhxngcangxypak tinmiphngphudsi ehluxngkhungetmrahwangniwthukniwkhlayepd mantasiaedng aekhngaelatinsienux samarthwaynaiddi binidsung invduphsmphnthu khncaepliynepnsiethaengininchwngbnkhxnglatw swnchwnglangcaepnsikhaw aetthaimichvduphsmphnthu pik hangaelaswnitlatw camisinatalechnediywkbnkkrathungthiyngimotetmthi thngtwphuaelatwemiyruprangaelasisnehmuxnkn nkkrathungchxbxyuepnfung kinpla kung kb hruxstweluxykhlanelk epnxaharaelahaxahardwykn thatwidtwhnungthaxairtwxuncathatam ewlathixyuechy cahnhnaipthangediywknhmd ewlabincahdkhxekhama binknepnaethweriynghnung bangkhrngbinepnruptw V swnihycabinepnrupkhnbnidkwang rngsrangdwykingimihy wangsanknbntnimsung khnadkhxngrngmiesnphasuny klang 2 fut wangikhkhrnglapraman 3 fxng ikhmisikhaw thngtwphuaelatwemiychwyknkkikhpraman 4 5 xathity cungfkepntwthinthixyuxasyxinediy cin ihhla ithwn sunda xxsetreliy osolmxn xinodcin filippins aehlmmlayuaelaithy praethsithy mixyuthwipthukphakh pccubnepnnkthikhxnkhangphbehnyakmak ekhyphbpnxyukbfungnkpakhangthiwdiphlxm cnghwdpthumthani tngaet pi ph s 2545 idmikarphbehnfungnkkrathungthibinphanpraethsithyaelaaewaphkhakinthibxplakhxngchawbanin hmu 7 tablhnaokhk xaephxphkih cnghwdphrankhrsrixyuthya aelabriewniklekhiyng sungmibxplaxyu sungsamarthphbehnidpila 2 chwng khux chwngeduxnphvsphakhm mithunayn aelachwngeduxntulakhm phvscikayn aelasamarthmxngehnidbnesaiffaaerngsungcakthnnesnthangsaypaomk suphrrn chwnghnaokhk inxditnkkrathungsamarthphbidmakmayinpraethsithy inphngsawdarrabuiwwa insukladhya xnepnswnhnungkhxngsngkhramekathphinchwngtnkrungrtnoksinthr emuxphrayasraburiidrbkhasngihedinthanglwnghnaiptithphhnakhxngphma thirimaemnanan tablpakphing itemuxngphisnuolk emuxphrayasraburiphkthphthifngtawnxxkkhxngaemnanan inewlaklangkhunidphbkbnkkrathungfungihy cnekhaicphidkhidwaepnkxngthphphma cungidsngkarihthxythphphvtikrrm karsubphnthuchxbxasyxyurwmknepnfungthngchwngewlahakinaelatharng khnahaxaharcaichthungitkhxthahnathikhlayswingchxnplalnginlakhx nkkrathungtharngxyubntnimrwmknepnfung wangikhkhrawla 1 5 fxng aelaichewlafkikhpraman 30 wn odythngtwphuaelatwemiyphldknthahnathisthanphaphpccubniklsuyphnthucakpraethsithy cdepnstwpakhumkhrxng tamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa phuththskrach 2535 byytiiwepnstwpakhumkhrxngxangxingundefined 2017 Pelecanus philippensis The IUCN Red List of Threatened Species 2017 e T22697604A117970266 https dx doi org 10 2305 IUCN UK 2017 3 RLTS T22697604A117970266 en Downloaded on 21 May 2020 Harrison Peter Peterson Roger Tory 1991 Seabirds A Complete Guide to the Seabirds of the World Helm Identification Guides Christopher Helm Publishers Ltd ISBN 071363510X hna 3 ekhldwicha suci chkthngrb ody kieln pralxngeching ithyrthpithi 67 chbbthi 21342 wncnthrthi 27 mithunayn ph s 2559 aerm 8 kha eduxn 7 piwxk Spot billed Pelican Pelecanus philippensis khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 02 subkhnemux 2012 11 09 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Pelecanus philippensis khxmulthiekiywkhxngkb Pelecanus philippensis thiwikispichis