ปลานิล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oreochromis niloticus) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาเศรษฐกิจ แพร่ขยายพันธุ์ง่าย และมีรสชาติดี เดิมพบในแอฟริกาตอนเหนือและพื้นที่ลิแวนต์ เช่น และเลบานอน และยังมีชนิดพันธุ์ต่างถิ่นจำนวนมากนอกพื้นที่ดั้งเดิม
ปลานิล/ปลาหมอ | |
---|---|
พันธุ์ป่า (บน), พันธุ์ (น่าจะเป็นพันธุ์ผสม; ล่าง) | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง |
ชั้น: | ปลาที่มีก้านครีบ |
อันดับ: | |
วงศ์: | Cichlidae |
สกุล: | ปลานิล (สกุล) (Linnaeus, ) |
สปีชีส์: | Oreochromis niloticus |
ชื่อทวินาม | |
Oreochromis niloticus (Linnaeus, ) | |
ชื่อพ้อง | |
|
ถิ่นกำเนิด
ปลานิลสามารถอาศัยอยู่ได้ในน้ำจืดและน้ำกร่อย มีถิ่นกำเนิดเดิมอยู่ที่แม่น้ำไนล์ ทวีปแอฟริกา พบทั่วไปตามหนอง บึง และทะเลสาบในประเทศซูดาน, ยูกันดา และทะเลสาบแทนกันยีกา ปลานิลนำเข้าสู่ประเทศไทยครั้งแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น ซึ่งทรงจัดส่งเข้ามาทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2508 จำนวน 50 ตัว ครั้งนั้นได้โปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงปลานิลในบ่อนํ้าภายในสวนจิตรลดา เป็นหนึ่งโครงการในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
ผลการทดลองปรากฏว่าปลานิลที่โปรดเกล้าให้ทดลองเลี้ยงได้เจริญเติบโตและแพร่ขยายพันธุ์ได้เป็นอย่างดี ต่อมาจึงได้พระราชทานชื่อว่า ปลานิล (โดยมีที่มาจากชื่อแม่น้ำไนล์ (Nile) ที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยดั้งเดิม หรือชื่อวิทยาศาสตร์ Tilapia nilotica) ส่วนในสื่อมวลชนญี่ปุ่นกล่าวถึงที่มาของชื่อปลานี้ว่า นิล มาจากตัวอักษรคันจิตัวหนึ่งในพระนามอะกิฮิโตะ คือตัว 仁 ตัวอักษรนี้ในภาษาญี่ปุ่นมีวิธีอ่านสองแบบคือฮิโตะหรือนิน
และพระราชทานพันธุ์ปลาดังกล่าวให้กับกรมประมงจำนวน 10,000 ตัว เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2509 เพื่อนำไปขยายพันธุ์และแจกจ่ายแก่พสกนิกร เนื่องจากปลานิลมีคุณลักษณะพิเศษหลายอย่าง เช่น กินอาหารได้ทุกชนิด เช่น ไรน้ำ, ตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนของแมลงและสัตว์น้ำเล็ก ๆ มีขนาดลำตัวใหญ่ ความยาวประมาณ 10-30 เซนติเมตร แพร่ขยายพันธุ์ง่าย และมีรสชาติดี
ในปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงและแพร่ขยายพันธุ์ปลานิลในบ่อสวนจิตรลดาต่อไป ในทางวิชาการเรียกสายพันธุ์ปลานิลดังกล่าวว่า ปลานิลจิตรลดา ซึ่งยังคงเป็นปลานิลสายพันธุ์แท้ที่ประเทศไทยได้รับจากพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ลักษณะทั่วไป
ปลานิลมีเป็นรูปร่างคล้ายปลาหมอเทศ (O. mossambicus) แตกต่างกันที่ปลานิลมีลายสีดำและจุดสีขาวสลับกันไป บริเวณครีบหลัง ครีบก้นและลำตัวมีสีเขียวปนน้ำตาล มีลายดำพาดขวางตามลำตัว ปลานิลสามารถมีความยาวถึง 60 ซm (24 in) และมีน้ำหนักถึง 5 kg (11 lb) ปลาเพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าและโตเร็วกว่าเพศเมีย
อาหาร
ปลานิลกินอาหารได้หลากหลาย เช่น ไรน้ำ, ตะไคร่น้ำ, ตัวอ่อนของแมลง, กุ้งฝอย ตลอดจนพืชผักชนิดต่างๆ
นิสัย
ปลานิลมีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง (ยกเว้นเวลาสืบพันธุ์) มีความอดทนและปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี จากการศึกษาพบว่าปลานิลทนต่อความเค็มได้ถึง 20 ส่วนในพัน ทนต่อค่าความเป็นกรด–ด่าง (pH) ได้ดีในช่วง 6.5–8.3 และสามารถทนต่ออุณหภูมิได้ถึง 40 องศาเซลเซียส แต่ในอุณหภูมิที่ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส พบว่าปลานิลปรับตัวและเจริญเติบโตได้ไม่ดีนัก ทั้งนี้เป็นเพราะถิ่นกำเนิดเดิมของปลาชนิดนี้อยู่ในเขตร้อน
การสืบพันธุ์
ปลานิลสามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดปี โดยใช้เวลา 2–3 เดือนต่อครั้ง แต่ถ้าอาหารเพียงพอและเหมาะสม ในระยะเวลา 1 ปี จะผสมพันธุ์ได้ 5–6 ครั้ง โดยตัวผู้จะใช้บริเวณหน้าผากดุนที่ใต้ท้องของตัวเมีย เพื่อเป็นการกระตุ้นและเร่งเร้าให้ตัวเมียวางไข่ ปลาตัวเมียจะวางไข่ออกมาครั้งละ 10 หรือ 12 ฟอง ในขณะเดียวกันปลาตัวผู้ก็จะว่ายคลอคู่เคียงกันไปพร้อมกับปล่อยน้ำเชื้อผสมกับไข่นั้น ทำอยู่เช่นนี้จนกว่าการผสมพันธุ์จะแล้วเสร็จ
ไข่ที่ได้รับการผสมกับน้ำเชื้อแล้วปลาตัวเมียจะเก็บไว้ฟัก โดยวิธีอมไข่เข้าไว้ในปาก แล้วว่ายออกจากรังไปยังบริเวณก้นบ่อที่ลึกกว่า ส่วนตัวผู้ก็จะคอยหาโอกาสเวียนว่ายไปเคล้าเคลียกับตัวเมียอื่น ๆ ต่อไป แม่ปลานิลจะอมไข่ไว้ในปากเป็นเวลา 4–5 วัน ไข่จะเริ่มฟักออกเป็นตัว ลูกปลาที่ฟักออกเป็นตัวใหม่ ๆ จะอาศัยอาหารจากถุงอาหารธรรมชาติซึ่งติดอยู่ที่ท้อง ขณะเดียวกันแม่ปลายังคงต้องอมลูกปลาอยู่ต่อไป จนกระทั่งถุงอาหารธรรมชาติของลูกปลายุบหายไป
หลังจากฟักออกเป็นตัวแล้วประมาณ 3–4 วัน แม่ปลาก็จะคายลูกปลาให้ว่ายออกมาจากปาก ลูกปลาในระยะนี้สามารถกินอาหารจำพวกพืชและไรน้ำเล็ก ๆ ซึ่งมีอยู่ในน้ำ โดยจะว่ายวนเวียนอยู่ที่บริเวณหัวของแม่ปลา และจะเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในช่องปากเมื่อต้องการหลบหลีกอันตราย โดยลูกปลาจะเข้าทางปากหรือช่องเหงือก หลังจากลูกปลามีอายุ 1 สัปดาห์ จึงจะเลิกหลบเข้าไปซ่อนในช่องปากของแม่ แต่แม่ปลาก็ยังคอยระวังศัตรูให้ โดยว่ายวนเวียนอยู่ใกล้บริเวณที่ลูกปลาหาอาหารกินอยู่ ปลานิลจะรู้จักวิธีหาอาหารกินได้เองเมื่อมีอายุได้ 3 สัปดาห์ และมักจะว่ายกินอาหารรวมกันเป็นฝูง
ปลาเศรษฐกิจ
การเพาะพันธุ์ปลานิลในประเทศไทยเริ่มมีการบันทึกสถิติในปี พ.ศ. 2517 นับจากนั้นมา ปลานิลหน้าฟาร์มได้สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรไม่น้อยกว่า 107,000 ล้านบาท จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีการผลิตปลานิลไม่น้อยกว่า 220,000 ตันต่อปี คิดเป็นมูลค่าหน้าฟาร์ม 12,000 ล้านบาท ปลานิลยังเป็นปลาน้ำจืดเพื่อการส่งออกที่มีศักยภาพสูงกว่าปลาชนิดอื่น นอกจากนี้แล้ว ปลานิลยังเป็นปลาที่ชาวไทยบริโภคกันมากที่สุดแล้ว ยังทำให้เกิดการมีงานทำแก่ประชาชนมากกว่าล้านคนในฟาร์มปลานิลที่มีอยู่ไม่ต่ำกว่า 300,000 แห่งทั่วประเทศ
ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังส่งออกปลานิลไปยังตลาดต่างประเทศทั้งในยุโรป, ตะวันออกกลาง, สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย และเอเชีย ในปี พ.ศ. 2551 ตลาดสหภาพยุโรปกลายเป็นตลาดอันดับ 1 ของปลานิล คิดเป็นปริมาณส่งออก 7,758.98 ตัน รองลงมาคือ ประเทศในกลุ่มตะวันออกกลาง มีปริมาณการส่งออก 5,583.91 ตัน ส่วนตลาดสหรัฐฯอยู่ในลำดับที่ 3 มีปริมาณ 4,786.27 ตัน คิดเป็นสัดส่วนการส่งออกปลานิลไทยไปยังประเทศต่างๆในสหภาพยุโรปมากที่สุดถึงร้อยละ 40 รองลงมาคือ สหรัฐฯร้อยละ 37 ส่วนประเทศในแถบตะวันออกกลางมีสัดส่วนราวร้อยละ 15 ของการส่งออกรวม โดยทำการส่งออกทั้งหลายรูปแบบทั้งปลานิลสด, ปลานิลที่ยังมีชีวิต และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
ในปี พ.ศ. 2549 องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) รายงานว่า ประเทศไทยสามารถผลิตปลานิลได้เป็นอันดับที่ 4 ของภูมิภาคเอเชีย รองลงมาจากประเทศจีน ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย
การพัฒนาสายพันธุ์
- ปลานิลแดง เป็นการพัฒนาสายพันธุ์จากปลานิลธรรมดา ๆ โดยนำไปผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาหมอเทศ ของศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดของจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดขอนแก่น โดย ดร.ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ ได้ปลาที่มีลักษณะเป็นปลาที่มีสีขาวอมแดง จึงขึ้นทูลเกล้าฯถวาย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และได้รับการพระราชทานนามว่า "ปลานิลแดง" มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522
- ปลาทับทิม เป็นการพัฒนาสายพันธุ์โดย เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือ บริษัท ซีพี ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน จนได้ปลานิลสายพันธุ์ใหม่ที่อดทน สามารถเลี้ยงได้ดีในน้ำกร่อยได้ เนื้อแน่นมีรสชาติอร่อยกว่าปลานิลธรรมดา เนื่องจากมีสีขาวอมแดงเรื่อ ๆ คล้ายทับทิม จึงได้รับการพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ว่า "ปลาทับทิม"
- ปลานิลซูเปอร์เมล หรือ ปลานิลเพศผู้ GMT เป็นการพัฒนาสายพันธุ์จนได้ปลาเพศผู้ทั้งหมด โดยทำการดัดแปลงโครโมโซม ซึ่งปลานิลซูเปอร์เมลให้ผลผลิตต่อไร่สูงกว่าปลานิลทั่วไป
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Diallo, I.; Snoeks, J.; Freyhof, J.; Geelhand, D.; Hughes, A. (2020). "Oreochromis niloticus". IUCN Red List of Threatened Species. 2020: e.T166975A134879289. doi:10.2305/IUCN.UK.2020-3.RLTS.T166975A134879289.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
- Froese, Rainer and Pauly, Daniel, eds. (2015). "Oreochromis niloticus" in . November 2015 version.
- Azevedo-Santos, V.M.; O. Rigolin-Sá; and F.M. Pelicice (2011). "Growing, losing or introducing? Cage aquaculture as a vector for the introduction of non-native fish in Furnas Reservoir, Minas Gerais, Brazil". Neotropical Ichthyology. 9 (4): 915–919. doi:10.1590/S1679-62252011000400024.
- เกตุวดี (24 ตุลาคม 2559). "ความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างในหลวง ร.๙ กับจักรพรรดิญี่ปุ่น". marumura. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2559.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - Nico, L.G.; P.J. Schofield; M.E. Neilson (2019). "Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758)". Food and Agriculture Organization, United Nations. สืบค้นเมื่อ 5 November 2019.
- หน้า 8 ข่าวเศรษฐกิจไทยรัฐ, ในหลวงผู้ทรงงานหนักตลอดการครองราชย์ 70 ปี โดย ทีมเศรษฐกิจ. ไทยรัฐปีที่ 67 ฉบับที่ 21356: วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก
- รายการเพื่อนเกษตร เช้าข่าวเจ็ดสี ทางช่อง 7: วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2554
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-29. สืบค้นเมื่อ 2011-09-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
- View the oreNil2 genome assembly in the .
อ่านเพิ่ม
- "Oreochromis niloticus". . สืบค้นเมื่อ 11 March 2006.
- Bardach, J.E.; Ryther, J.H. & McLarney, W.O. (1972): Aquaculture. the Farming and Husbandry of Freshwater and Marine Organisms. John Wiley & Sons.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
planil chuxwithyasastr Oreochromis niloticus epnplanacudchnidhnunginwngsplahmxsi Cichlidae epnplaesrsthkic aephrkhyayphnthungay aelamirschatidi edimphbinaexfrikatxnehnuxaelaphunthiliaewnt echn aelaelbanxn aelayngmichnidphnthutangthincanwnmaknxkphunthidngedimplanil plahmxphnthupa bn phnthu nacaepnphnthuphsm lang sthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm stwmiaeknsnhlngchn plathimikankhribxndb wngs Cichlidaeskul planil skul Linnaeus spichis Oreochromis niloticuschuxthwinamOreochromis niloticus Linnaeus chuxphxngTilapia crassispina 1948 Perca nilotica Linnaeus 1758 Chromis nilotica Linnaeus 1758 Chromis niloticus Linnaeus 1758 Oreochromis nilotica Linnaeus 1758 Oreochromis niloticus niloticus Linnaeus 1758 Sarotherodon niloticus Linnaeus 1758 Tilapia nilotica Linnaeus 1758 Tilapia nilotica nilotica Linnaeus 1758 Chromis guentheri 1864 Tilapia eduardiana 1912 Oreochromis niloticus eduardianus Boulenger 1912 Tilapia nilotica eduardiana Boulenger 1912 Tilapia cancellata 1923 Oreochromis cancellatus cancellatus Nichols 1923 Oreochromis niloticus cancellatus Nichols 1923 Tilapia nilotica cancellata Nichols 1923 Tilapia calciati 1924 Tilapia regani 1932 Tilapia nilotica regani Poll 1932 Tilapia inducta 1933 Tilapia vulcani Trewavas 1933 Oreochromis niloticus vulcani Trewavas 1933 Oreochromis vulcani Trewavas 1933 Oreochromis niloticus baringoensis Trewavas 1983 Oreochromis niloticus filoa Trewavas 1983 Oreochromis cancellatus filoa Trewavas 1983 Oreochromis niloticus sugutae Trewavas 1983 Oreochromis niloticus tana Seyoum amp Kornfield 1992thinkaenidphrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngplxyphnthuplanillngbxephaaphnthuplaphayinswncitrlda emux ph s 2508 planilsamarthxasyxyuidinnacudaelanakrxy mithinkaenidedimxyuthiaemnainl thwipaexfrika phbthwiptamhnxng bung aelathaelsabinpraethssudan yuknda aelathaelsabaethnknyika planilnaekhasupraethsithykhrngaerkodysmedcphrackrphrrdixakihiota emuxkhrngdarngphraxisriyysmkudrachkumaraehngyipun sungthrngcdsngekhamathulekla thwayphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch emuxwnthi 25 minakhm ph s 2508 canwn 50 tw khrngnnidoprdekla ihthdlxngeliyngplanilinbxnaphayinswncitrlda epnhnungokhrngkarinokhrngkarswnphraxngkh swncitrlda phlkarthdlxngpraktwaplanilthioprdeklaihthdlxngeliyngidecriyetibotaelaaephrkhyayphnthuidepnxyangdi txmacungidphrarachthanchuxwa planil odymithimacakchuxaemnainl Nile thiepnthinthixyuxasydngedim hruxchuxwithyasastr Tilapia nilotica swninsuxmwlchnyipunklawthungthimakhxngchuxplaniwa nil macaktwxksrkhncitwhnunginphranamxakihiota khuxtw 仁 twxksrniinphasayipunmiwithixansxngaebbkhuxhiotahruxnin aelaphrarachthanphnthupladngklawihkbkrmpramngcanwn 10 000 tw emuxwnthi 17 minakhm ph s 2509 ephuxnaipkhyayphnthuaelaaeckcayaekphsknikr enuxngcakplanilmikhunlksnaphiesshlayxyang echn kinxaharidthukchnid echn irna taikhrna twxxnkhxngaemlngaelastwnaelk mikhnadlatwihy khwamyawpraman 10 30 esntiemtr aephrkhyayphnthungay aelamirschatidi inpccubnphrabathsmedcphraecaxyuhwyngoprdekla ihthdlxngeliyngaelaaephrkhyayphnthuplanilinbxswncitrldatxip inthangwichakareriyksayphnthuplanildngklawwa planilcitrlda sungyngkhngepnplanilsayphnthuaeththipraethsithyidrbcakphrackrphrrdixakihiotathulekla thwayphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedchlksnathwipplanilmiepnruprangkhlayplahmxeths O mossambicus aetktangknthiplanilmilaysidaaelacudsikhawslbknip briewnkhribhlng khribknaelalatwmisiekhiywpnnatal milaydaphadkhwangtamlatw planilsamarthmikhwamyawthung 60 sm 24 in aelaminahnkthung 5 kg 11 lb plaephsphumikhnadihykwaaelaoterwkwaephsemiyxaharplanilkinxaharidhlakhlay echn irna taikhrna twxxnkhxngaemlng kungfxy tlxdcnphuchphkchnidtangnisyplanilminisychxbxyurwmknepnfung ykewnewlasubphnthu mikhwamxdthnaelaprbtwekhakbsphaphaewdlxmiddi cakkarsuksaphbwaplanilthntxkhwamekhmidthung 20 swninphn thntxkhakhwamepnkrd dang pH iddiinchwng 6 5 8 3 aelasamarththntxxunhphumiidthung 40 xngsaeslesiys aetinxunhphumithitakwa 10 xngsaeslesiys phbwaplanilprbtwaelaecriyetibotidimdink thngniepnephraathinkaenidedimkhxngplachnidnixyuinekhtrxnkarsubphnthuplanilsamarthphsmphnthuidtlxdpi odyichewla 2 3 eduxntxkhrng aetthaxaharephiyngphxaelaehmaasm inrayaewla 1 pi caphsmphnthuid 5 6 khrng odytwphucaichbriewnhnaphakdunthiitthxngkhxngtwemiy ephuxepnkarkratunaelaerngeraihtwemiywangikh platwemiycawangikhxxkmakhrngla 10 hrux 12 fxng inkhnaediywknplatwphukcawaykhlxkhuekhiyngknipphrxmkbplxynaechuxphsmkbikhnn thaxyuechnnicnkwakarphsmphnthucaaelwesrc ikhthiidrbkarphsmkbnaechuxaelwplatwemiycaekbiwfk odywithixmikhekhaiwinpak aelwwayxxkcakrngipyngbriewnknbxthilukkwa swntwphukcakhxyhaoxkasewiynwayipekhlaekhliykbtwemiyxun txip aemplanilcaxmikhiwinpakepnewla 4 5 wn ikhcaerimfkxxkepntw lukplathifkxxkepntwihm caxasyxaharcakthungxaharthrrmchatisungtidxyuthithxng khnaediywknaemplayngkhngtxngxmlukplaxyutxip cnkrathngthungxaharthrrmchatikhxnglukplayubhayip hlngcakfkxxkepntwaelwpraman 3 4 wn aemplakcakhaylukplaihwayxxkmacakpak lukplainrayanisamarthkinxaharcaphwkphuchaelairnaelk sungmixyuinna odycawaywnewiynxyuthibriewnhwkhxngaempla aelacaekhaiphlbsxnxyuinchxngpakemuxtxngkarhlbhlikxntray odylukplacaekhathangpakhruxchxngehnguxk hlngcaklukplamixayu 1 spdah cungcaelikhlbekhaipsxninchxngpakkhxngaem aetaemplakyngkhxyrawngstruih odywaywnewiynxyuiklbriewnthilukplahaxaharkinxyu planilcaruckwithihaxaharkinidexngemuxmixayuid 3 spdah aelamkcawaykinxaharrwmknepnfungplaesrsthkicplathbthim karephaaphnthuplanilinpraethsithyerimmikarbnthuksthitiinpi ph s 2517 nbcaknnma planilhnafarmidsrangrayidihaekekstrkrimnxykwa 107 000 lanbath cnthungpccubn praethsithymikarphlitplanilimnxykwa 220 000 tntxpi khidepnmulkhahnafarm 12 000 lanbath planilyngepnplanacudephuxkarsngxxkthimiskyphaphsungkwaplachnidxun nxkcakniaelw planilyngepnplathichawithybriophkhknmakthisudaelw yngthaihekidkarminganthaaekprachachnmakkwalankhninfarmplanilthimixyuimtakwa 300 000 aehngthwpraeths inpccubn praethsithyyngsngxxkplanilipyngtladtangpraethsthnginyuorp tawnxxkklang shrthxemrika xxsetreliy aelaexechiy inpi ph s 2551 tladshphaphyuorpklayepntladxndb 1 khxngplanil khidepnprimansngxxk 7 758 98 tn rxnglngmakhux praethsinklumtawnxxkklang miprimankarsngxxk 5 583 91 tn swntladshrthxyuinladbthi 3 mipriman 4 786 27 tn khidepnsdswnkarsngxxkplanilithyipyngpraethstanginshphaphyuorpmakthisudthungrxyla 40 rxnglngmakhux shrthrxyla 37 swnpraethsinaethbtawnxxkklangmisdswnrawrxyla 15 khxngkarsngxxkrwm odythakarsngxxkthnghlayrupaebbthngplanilsd planilthiyngmichiwit aelaaeprrupepnphlitphnthtang inpi ph s 2549 xngkhkarxaharaelaekstraehngshprachachati FAO raynganwa praethsithysamarthphlitplanilidepnxndbthi 4 khxngphumiphakhexechiy rxnglngmacakpraethscin filippins aelaxinodniesiy karphthnasayphnthu planilaedng epnkarphthnasayphnthucakplanilthrrmda odynaipphsmkhamsayphnthukbplahmxeths khxngsunyphthnapramngnacudkhxngcnghwdxublrachthaniaelacnghwdkhxnaekn ody dr pkrn xunpraesrith idplathimilksnaepnplathimisikhawxmaedng cungkhunthuleklathway smedcphranangecasirikiti phrabrmrachininath phrabrmrachchnniphnpihlwng aelaidrbkarphrarachthannamwa planilaedng matngaetpi ph s 2522 plathbthim epnkarphthnasayphnthuody ekhruxecriyophkhphnth hrux bristh siphi sungepnbristhexkchn cnidplanilsayphnthuihmthixdthn samartheliyngiddiinnakrxyid enuxaennmirschatixrxykwaplanilthrrmda enuxngcakmisikhawxmaedngerux khlaythbthim cungidrbkarphrarachthannamcak phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr wa plathbthim planilsuepxreml hrux planilephsphu GMT epnkarphthnasayphnthucnidplaephsphuthnghmd odythakarddaeplngokhromosm sungplanilsuepxremlihphlphlittxirsungkwaplanilthwipduephimplahmxeths plahmxethskhanglayxangxingDiallo I Snoeks J Freyhof J Geelhand D Hughes A 2020 Oreochromis niloticus IUCN Red List of Threatened Species 2020 e T166975A134879289 doi 10 2305 IUCN UK 2020 3 RLTS T166975A134879289 en subkhnemux 19 November 2021 Froese Rainer and Pauly Daniel eds 2015 Oreochromis niloticus in November 2015 version Azevedo Santos V M O Rigolin Sa and F M Pelicice 2011 Growing losing or introducing Cage aquaculture as a vector for the introduction of non native fish in Furnas Reservoir Minas Gerais Brazil Neotropical Ichthyology 9 4 915 919 doi 10 1590 S1679 62252011000400024 ektuwdi 24 tulakhm 2559 khwamsmphnthxnaennaefnrahwanginhlwng r 9 kbckrphrrdiyipun marumura subkhnemux 26 tulakhm 2559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help Nico L G P J Schofield M E Neilson 2019 Oreochromis niloticus Linnaeus 1758 Food and Agriculture Organization United Nations subkhnemux 5 November 2019 hna 8 khawesrsthkicithyrth inhlwngphuthrngnganhnktlxdkarkhrxngrachy 70 pi ody thimesrsthkic ithyrthpithi 67 chbbthi 21356 wncnthrthi 11 krkdakhm ph s 2559 khun 7 kha eduxn 8 piwxk raykarephuxnekstr echakhawecdsi thangchxng 7 wnphuththi 14 knyayn ph s 2554 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 29 subkhnemux 2011 09 13 aehlngkhxmulxunView the oreNil2 genome assembly in the xanephim Oreochromis niloticus subkhnemux 11 March 2006 Bardach J E Ryther J H amp McLarney W O 1972 Aquaculture the Farming and Husbandry of Freshwater and Marine Organisms John Wiley amp Sons