บทความนี้ไม่มีจาก |
จุลชีววิทยา (อังกฤษ: Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา และสาหร่าย
ประวัติศาสตร์ของจุลชีววิทยา
แบคทีเรียถูกค้นพบเป็นครั้งแรกโดย แอนโทนี แวน ลีเวนฮุค ในปี 1676 (พ.ศ. 2219) โดยใช้กล้องจุลทรรศน์เลนส์เดียวที่เขาออกแบบเองส่องจนพบ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นคนแรกของโลก
สาขาวิชาแบคทีเรียวิทยา ซึ่งภายหลังได้เป็นสาขาย่อยในจุลชีววิทยา ได้ริเริ่มโดย นักพฤกษศาสตร์ผู้ซึ่งศึกษาสาหร่ายและแบคทีเรียที่สังเคราะห์แสงได้ จากการศึกษาของเขาทำให้ทราบเกี่ยวกับแบคทีเรียหลายชนิด และเฟอร์ดินานด์ โคห์น ยังเป็นคนแรกที่วางแบบแผนการจัดหมวดหมู่แบคทีเรียตามหลักอนุกรมวิธาน
หลุยส์ ปาสเตอร์ และโรเบิร์ต คอค เป็นผู้ที่มีชีวิตอยู่ในยุคสมัยเดียวกับโคห์น และถือได้ว่าเป็นผู้ริเริ่มสาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ หลุยส์ ปาสเตอร์เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากการทดลองเพื่อพิสูจน์หักล้าง ซึ่งทำให้จุลชีววิทยาได้รับการยอมรับว่าเป็นสาขาหนึ่งในวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ปาสเตอร์ยังได้ออกแบบวิธีการถนอมอาหารโดยการพาสเจอร์ไรซ์ และคิดค้นวัคซีนป้องกันโรคต่างๆอย่างเช่น อหิวาตกโรคจากสัตว์ปีก และโรคพิษสุนัขบ้า ส่วนโรเบิร์ต คอค มีชื่อเสียงจากการสนับสนุนทฤษฎีการเกิดโรค ซึ่งพิสูจน์ว่าโรคชนิดใดๆจะเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์เฉพาะที่ก่อโรคนั้นๆเท่านั้น ต่อมาทฤษฎีนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า สมมติฐานของคอค และคอคยังเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่มุ่งศึกษาการแยกตัวของแบคทีเรียใน ซึ่งทำให้เขาค้นพบเชื้อแบคทีเรียชนิดใหม่ๆ มากมาย เช่น เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ที่เป็นสาเหตุของวัณโรค
แม้ว่าโดยทั่วไปมักจะถือว่า หลุยส์ ปาสเตอร์ และโรเบิร์ต คอค เป็นผู้ริเริ่มสาขาจุลชีววิทยา แต่ผลงานของพวกเขาก็ยังไม่สามารถอธิบายความแตกต่างของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้อย่างถูกต้องนัก เพราะพวกเขามุ่งศึกษาเฉพาะจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์เท่านั้น ผู้ที่ถือได้ว่าริเริ่มสาขาวิชาอย่างแท้จริง คือ มาร์ตินุส ไบเจอริงค์ และเซลเก ไวโนแกลดสกี พวกเขาได้ทำให้ขอบเขตการศึกษาจุลชีววิทยากว้างขวางออกไป ไบเจอริงค์มีผลงานสำคัญทางด้านจุลชีววิทยา 2 ผลงาน คือ การค้นพบไวรัส และการพัฒนาวิธีเพาะเชื้อแบบเอนริช ผลงานการศึกษาไวรัสโรคลายด่างในยาสูบของเขาได้เป็นรากฐานของสาขาไวรัสวิทยา และการเพาะเชื้อแบบเอนริชมีบทบาทสำคัญต่อวงการจุลชีววิทยา โดยทำให้สามารถเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ที่ยังไม่เคยเพาะเลี้ยงได้ ส่วนไวโนแกลดสกี เป็นคนแรกที่คิดค้นแนวคิดเกี่ยวกับเคมีของดิน ซึ่งแสดงให้เห็นกิจกรรมของจุลินทรีย์ในดินที่เป็นกระบวนการทางเคมี และทำให้เขาค้นพบแบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้
สาขาของจุลชีววิทยา
เนื้อหาของจุลชีววิทยาสามารถแบ่งออกเป็นสาขาย่อยได้มากมาย ได้แก่
- สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ ศึกษาหน้าที่ทางชีวเคมี การเจริญเติบโต เมตาบอลิซึม และโครงสร้างของเซลล์ของจุลินทรีย์
- พันธุศาสตร์ของจุลินทรีย์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ของเซลล์ของจุลินทรีย์และการสร้างหรือควบคุมยีน สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับอณูชีววิทยา
- จุลชีววิทยาทางการแพทย์ ศึกษาบทบาทของจุลินทรีย์ในโรคของมนุษย์ กระบวนการก่อโรคของจุลินทรีย์ และระบาดวิทยา สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับพยาธิวิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน
- จุลชีววิทยาของสิ่งแวดล้อม ศึกษาหน้าที่และความหลากหลายของจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ รวมทั้งนิเวศวิทยาของจุลินทรีย์ บทบาทของจุลินทรีย์ในวัฏจักรสารอาหาร
- จุลชีววิทยาของอุตสาหกรรม ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ในกระบวนการทางอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น การหมัก สาขานี้มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ
- จุลชีววิทยาของอากาศ ศึกษาจุลินทรีย์ที่อยู่ในอากาศ
- จุลชีววิทยาของอาหาร ศึกษาการเน่าเสียของอาหารที่มีสาเหตุจากจุลินทรีย์
ประโยชน์ของการศึกษาจุลชีววิทยา
ขณะที่จุลินทรีย์มักจะถูกมองในแง่ลบเนื่องจากเกี่ยวข้องกับโรคภัยไข้เจ็บของมนุษย์ จุลินทรีย์บางชนิดก็มีความจำเป็นในกระบวนการที่เป็นประโยชน์ เช่น การหมัก (ใช้ผลิตแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ต่างๆจากนม) การผลิตยาปฏิชีวนะ และเป็นสื่อสำหรับโคลนนิ่งสิ่งมีชีวิตชั้นสูงอย่างเช่นพืช นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ยังต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ในการผลิตเอนไซม์ที่สำคัญๆด้วยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir culchiwwithya xngkvs Microbiology khuxkarsuksaekiywkbsingmichiwitsungmxngimehndwytaepla sungeriykwaculinthriy idaek aebkhthieriy oprotsw iwrs echuxra aelasahraycanxaharwunsungmiechuxculinthriyehnepnriwlayesnprawtisastrkhxngculchiwwithyaaebkhthieriythukkhnphbepnkhrngaerkody aexnothni aewn liewnhukh inpi 1676 ph s 2219 odyichklxngculthrrsnelnsediywthiekhaxxkaebbexngsxngcnphb ekhaidrbkarykyxngwaepnkhnaerkkhxngolk sakhawichaaebkhthieriywithya sungphayhlngidepnsakhayxyinculchiwwithya idrierimody nkphvkssastrphusungsuksasahrayaelaaebkhthieriythisngekhraahaesngid cakkarsuksakhxngekhathaihthrabekiywkbaebkhthieriyhlaychnid aelaefxrdinand okhhn yngepnkhnaerkthiwangaebbaephnkarcdhmwdhmuaebkhthieriytamhlkxnukrmwithan hluys pasetxr aelaorebirt khxkh epnphuthimichiwitxyuinyukhsmyediywkbokhhn aelathuxidwaepnphurierimsakhawichaculchiwwithyathangkaraephthy hluys pasetxrepnthiruckmakthisudcakkarthdlxngephuxphisucnhklang sungthaihculchiwwithyaidrbkaryxmrbwaepnsakhahnunginwithyasastrchiwphaph pasetxryngidxxkaebbwithikarthnxmxaharodykarphasecxrirs aelakhidkhnwkhsinpxngknorkhtangxyangechn xhiwatkorkhcakstwpik aelaorkhphissunkhba swnorebirt khxkh michuxesiyngcakkarsnbsnunthvsdikarekidorkh sungphisucnwaorkhchnididcaekidcakechuxculinthriyechphaathikxorkhnnethann txmathvsdiniepnthiruckkninchuxwa smmtithankhxngkhxkh aelakhxkhyngepnhnunginnkwithyasastrthimungsuksakaraeyktwkhxngaebkhthieriyin sungthaihekhakhnphbechuxaebkhthieriychnidihm makmay echn echux Mycobacterium tuberculosis thiepnsaehtukhxngwnorkh aemwaodythwipmkcathuxwa hluys pasetxr aelaorebirt khxkh epnphurierimsakhaculchiwwithya aetphlngankhxngphwkekhakyngimsamarthxthibaykhwamaetktangkhxngculinthriychnidtang idxyangthuktxngnk ephraaphwkekhamungsuksaechphaaculinthriythiekiywkhxngkbkaraephthyethann phuthithuxidwarierimsakhawichaxyangaethcring khux martinus ibecxringkh aelaeslek iwonaekldski phwkekhaidthaihkhxbekhtkarsuksaculchiwwithyakwangkhwangxxkip ibecxringkhmiphlngansakhythangdanculchiwwithya 2 phlngan khux karkhnphbiwrs aelakarphthnawithiephaaechuxaebbexnrich phlngankarsuksaiwrsorkhlaydanginyasubkhxngekhaidepnrakthankhxngsakhaiwrswithya aelakarephaaechuxaebbexnrichmibthbathsakhytxwngkarculchiwwithya odythaihsamarthephaaeliyngculinthriythiyngimekhyephaaeliyngid swniwonaekldski epnkhnaerkthikhidkhnaenwkhidekiywkbekhmikhxngdin sungaesdngihehnkickrrmkhxngculinthriyindinthiepnkrabwnkarthangekhmi aelathaihekhakhnphbaebkhthieriythisamarthtrunginotrecncakxakasidsakhakhxngculchiwwithyaenuxhakhxngculchiwwithyasamarthaebngxxkepnsakhayxyidmakmay idaek srirwithyakhxngculinthriy suksahnathithangchiwekhmi karecriyetibot emtabxlisum aelaokhrngsrangkhxngesllkhxngculinthriy phnthusastrkhxngculinthriy suksakhwamsmphnthrahwanghnathikhxngesllkhxngculinthriyaelakarsranghruxkhwbkhumyin sakhanimikhwamekiywkhxngkbxnuchiwwithya culchiwwithyathangkaraephthy suksabthbathkhxngculinthriyinorkhkhxngmnusy krabwnkarkxorkhkhxngculinthriy aelarabadwithya sakhanimikhwamekiywkhxngkbphyathiwithyaaelawithyaphumikhumkn culchiwwithyakhxngsingaewdlxm suksahnathiaelakhwamhlakhlaykhxngculinthriyinsingaewdlxmtamthrrmchati rwmthngniewswithyakhxngculinthriy bthbathkhxngculinthriyinwtckrsarxahar culchiwwithyakhxngxutsahkrrm suksakarichculinthriyinkrabwnkarthangxutsahkrrm twxyangechn karhmk sakhanimikhwamekiywkhxngkbethkhonolyichiwphaph culchiwwithyakhxngxakas suksaculinthriythixyuinxakas culchiwwithyakhxngxahar suksakarenaesiykhxngxaharthimisaehtucakculinthriythnghmkyistthiichhmkebiyrpraoychnkhxngkarsuksaculchiwwithyakhnathiculinthriymkcathukmxnginaenglbenuxngcakekiywkhxngkborkhphyikhecbkhxngmnusy culinthriybangchnidkmikhwamcaepninkrabwnkarthiepnpraoychn echn karhmk ichphlitaexlkxhxlaelaphlitphnthtangcaknm karphlityaptichiwna aelaepnsuxsahrbokhlnningsingmichiwitchnsungxyangechnphuch nxkcakni nkwithyasastryngtxngichkhwamruekiywkbculinthriyinkarphlitexnismthisakhydwywithithangethkhonolyichiwphaphduephimchiwekhmi ethkhonolyichiwphaph phnthusastr withyaphumikhumkn aephthysastr iwrswithya