มะม่วง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Mangifera Indica) เป็นไม้ยืนต้นในสกุล Mangifera ซึ่งเป็นไม้ผลเมืองร้อนในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับถั่วพิสตาชีโอและมะม่วงหิมพานต์) เชื่อว่าเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคอินเดีย บังกลาเทศ และพม่าตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเห็นได้จากความหลากหลายทางพันธุกรรมและร่องรอยฟอสซิลจำนวนมาก นับย้อนไปได้ถึง 25 – 30 ล้านปีก่อน มะม่วงมีความแตกต่างประมาณ 49 สายพันธุ์กระจายอยู่ตามประเทศในเขตร้อนตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงแพร่หลายไปทั่วโลก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบโต ยาว ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบอ่อนสีแดง ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดแบน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง
มะม่วง | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | พืช |
เคลด: | พืชมีท่อลำเลียง |
เคลด: | พืชดอก |
เคลด: | พืชใบเลี้ยงคู่แท้ |
เคลด: | โรสิด |
อันดับ: | เงาะ |
วงศ์: | วงศ์มะม่วง |
สกุล: | สกุลมะม่วง L. |
สปีชีส์: | Mangifera indica |
ชื่อทวินาม | |
Mangifera indica L. | |
ชื่อพ้อง | |
|
มะม่วงเป็นผลไม้เศรษฐกิจ ปลูกเป็นพืชสวน ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเป็นอันดับ 3 รองจากฟิลิปปินส์ และเม็กซิโก เป็นผลไม้ประจำชาติของอินเดียปากีสถาน และฟิลิปปินส์ รวมทั้งบังกลาเทศ
สายพันธุ์พื้นเมือง
มะม่วงมีสายพันธุ์มากมายดังที่ปรากฏในหนังสือของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ที่กล่าวถึงมะม่วงในสมัยรัชกาลที่ 5 ไว้กว่า 50 พันธุ์ โดยสายพันธุ์ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย เช่น เขียวเสวย แรด น้ำดอกไม้ โชคอนันต์ อกร่อง ตัวอย่าง เช่น
- เขียวเสวย เป็นพันธุ์พื้นเมืองของนครปฐม ผลยาว ด้านหลังผลโค้งนูนออก ปลายแหลม ผิวเรียบ สีเขียวเข้ม เปลือกหนา เหนียว ผลแก่รสมัน
- น้ำดอกไม้ เป็นพันธุ์ที่กินผลสุก รูปร่างยาวเรียว ผลดิบเนื้อขาว รสเปรี้ยวจัด ผลสุกสีเหลืองนวล รสหวาน
- อกร่องทอง เป็นพันธุ์เก่าแก่ นิยมกินกับข้าวเหนียวมูน ผลค่อนข้างเล็ก มีร่องเป็นแนวยาวที่ด้านท้อง ผลสุก เนื้อละเอียด มีเสี้ยนน้อย
- ฟ้าลั่น ผลกลม ท้ายแหลม ลูกขนาดกลาง นิยมกินผลแก่ มีรสมัน เมื่อปอกเปลือก เนื้อมะม่วงจะปริแตก
- หนังกลางวัน ผลยาวคล้ายงาช้าง แก่จัดรสมันอมเปรี้ยว สุกรสหวาน
- แก้ว นิยมกินดิบ ผลอ้วนป้อม เปลือกเหนียว เมื่อเกือบสุกเปลือกจะมีสีอมส้มหรืออมแดง
- โชคอนันต์ รูปร่างยาว ปลายมน กลายพันธุ์มาจากมะม่วงป่า นิยมนำไปทำมะม่วงดอง
- มหาชนก เป็นลูกผสมระหว่างมะม่วงพันธุ์หนังกลางวันกับพันธุ์ซันเซ็ตจากอินเดีย ผลยาวรี สุกสีเหลืองเข้ม มีริ้วสีแดง เนื้อไม่เละ กลิ่นหอม จะสุกในช่วงที่มะม่วงพันธุ์อื่นวายแล้ว
การใช้ประโยชน์
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 250 กิโลจูล (60 กิโลแคลอรี) |
15 g | |
น้ำตาล | 13.7 g |
ใยอาหาร | 1.6 g |
0.38 g | |
0.82 g | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (7%) 54 μg(6%) 640 μg |
ไทอามีน (บี1) | (3%) 0.03 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (3%) 0.04 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (4%) 0.67 มก. |
(4%) 0.2 มก. | |
วิตามินบี6 | (9%) 0.12 มก. |
โฟเลต (บี9) | (11%) 43 μg |
วิตามินซี | (43%) 36 มก. |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (1%) 11 มก. |
เหล็ก | (1%) 0.16 มก. |
แมกนีเซียม | (3%) 10 มก. |
ฟอสฟอรัส | (2%) 14 มก. |
โพแทสเซียม | (4%) 168 มก. |
สังกะสี | (1%) 0.09 มก. |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
ผลมะม่วงนำมากินได้ทั้งดิบและสุก มะม่วงดิบเปลือกสีเขียวเนื้อสีขาวส่วนใหญ่มีรสเปรี้ยว ยกเว้นบางพันธุ์ที่เรียกว่ามะม่วงมัน ส่วนผลสุกจะมีสีเหลืองทั้งเปลือกและเนื้อ กินสด หรือ นำไปทำเป็นอาหารเช่น ข้าวเหนียวมะม่วง อีกทั้งมีการนำไปแปรรูป เช่น มะม่วงกวน มะม่วงแก้ว มะม่วงดอง มะม่วงแช่อิ่ม มะม่วงเค็ม น้ำแยมมะม่วง พายมะม่วง เป็นต้น แบ่งมะม่วงตามความนิยมในการกินเป็น 3 ประเภทคือ
- นิยมกินดิบได้แก่พันธุ์ที่มีรสหวานมันตอนแก่จัด เช่น เขียวเสวย แรด พิมเสนมัน ทองดำ เขียวไข่กา หรือมีรสมันตอนอ่อนไม่เปรี้ยว เช่น ฟ้าลั่น หนองแซง มะม่วงเหล่านี้เมื่อสุกแล้วจะหวานชืด ไม่อร่อย
- นิยมกินสุก เมื่อดิบมีรสเปรี้ยว ต้องบ่มให้สุกก่อนกินเช่น อกร่อง นวลจันทร์ น้ำดอกไม้ นำไปประกอบอาหาร เช่น ใส่ในน้ำพริก ยำ
- นิยมนำมาแปรรูป แก่จัดมีรสมันอมเปรี้ยว เมื่อสุกหวานอมเปรี้ยว
- ใช้ยอดอ่อน ผลอ่อน มาประกอบอาหารแทนผัก
- ใช้เป็นยาสมุนไพร เช่น ผลมะม่วงดิบมีวิตามินซีสูง แก้เลือดออกตามไรฟัน เป็นต้น
- ใช้เนื้อไม้ นำมาผลิตเป็นเฟอร์นิเจอร์
- ชาวกะเหรี่ยงในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่นำเปลือกต้นมะม่วงไปย้อมผ้า ให้สีเขียว
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Ganesan, S.K (2021). "Mangifera indica". IUCN Red List of Threatened Species. 2021: e.T31389A67735735. doi:10.2305/IUCN.UK.2021-2.RLTS.T31389A67735735.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
- "Mangifera". . . สืบค้นเมื่อ 8 May 2020.
- Julia F Morton (1987). "Mango (Mangifera indica L.)". In: Fruits of Warm Climates; New Crop Resource Online Program, Center for New Crops and Plant Products, Purdue University. pp. 221–239. สืบค้นเมื่อ 24 December 2021.
- "INPhO: Compendium Chapter 20 on Mango Section 1". fao.org. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-24.
- "ซีพี สำเร็จผลิตมะม่วงนอกฤดู ตั้งเป้าขยายตลาดส่งออกทั้งปี". คมชัดลึกออนไลน์. 2009-11-26.
- "National Fruit". Know India. Government of India. สืบค้นเมื่อ 2010-08-17.
- . BDnews24.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-19. สืบค้นเมื่อ 2010-11-16.
- "มะม่วงเขียวเสวย ประโยชน์ สรรพคุณ และการปลูกมะม่วงเขียวเสวย".
- "เฟอร์นิเจอร์ไม้มะม่วง...ของดี 'คลอง 30'". คมชัดลึกออนไลน์. 2016-04-03.
- ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ (2551). พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ที่ตำบลบ้านจันทร์และแจ่มหลวง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) 271 หน้า ดูฉบับเต็ม 2021-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
อ่านเพิ่ม
- Litz, Richard E. (ed. 2009). The Mango: Botany, Production and Uses (2nd edition). CABI. ISBN
- นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. มะม่วง ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 173 - 177
แหล่งข้อมูลอื่น
- มะม่วง
- has a list of helpful resources about this species.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mamwng chuxwithyasastr Mangifera Indica epnimyuntninskul Mangifera sungepnimphlemuxngrxninwngs Anacardiaceae klumediywkbthwphistachioxaelamamwnghimphant echuxwaepnphuchthimithinkaenidinphumiphakhxinediy bngklaeths aelaphmatawntkechiyngehnux sungehnidcakkhwamhlakhlaythangphnthukrrmaelarxngrxyfxssilcanwnmak nbyxnipidthung 25 30 lanpikxn mamwngmikhwamaetktangpraman 49 sayphnthukracayxyutampraethsinekhtrxntngaetxinediyipcnthungfilippins caknncungaephrhlayipthwolk epnimphumkhnadklang ibot yaw playaehlm khxbiberiyb ibxxnsiaedng xxkdxkepnchxtamplayking dxkkhnadelk sikhaw phlxxnsiekhiyw phlaeksiehluxng emldaebn epluxkhumemldaekhngmamwngsthanakarxnurksimmikhxmul IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr phuchekhld phuchmithxlaeliyngekhld phuchdxkekhld phuchibeliyngkhuaethekhld orsidxndb engaawngs wngsmamwngskul skulmamwng L spichis Mangifera indicachuxthwinamMangifera indica L chuxphxngMangifera amba Forssk Mangifera anisodora BlancoMangifera austroyunnanensis HuMangifera balba Crevost amp LemarieMangifera cambodiana Pierre Anon Mangifera domestica Gaertn Mangifera equina Crevost amp LemarieMangifera gladiata BojerMangifera kukulu BlumeMangifera laxiflora Desr Mangifera linnaei Korth ex Hassk Mangifera maritima LechaumeMangifera mekongensis Pierre Anon Mangifera montana B Heyne ex Wight amp Arn Mangifera oryza Crevost amp LemarieMangifera rostrata BlancoMangifera rubra BojerMangifera sativa Roem amp Schult Mangifera siamensis Warb ex CraibMangifera viridis Bojer mamwngepnphlimesrsthkic plukepnphuchswn praethsithysngxxkmamwngepnxndb 3 rxngcakfilippins aelaemksiok epnphlimpracachatikhxngxinediypakisthan aelafilippins rwmthngbngklaethssayphnthuphunemuxngmamwngmisayphnthumakmaydngthipraktinhnngsuxkhxngphrayasrisunthrowhar nxy xacaryangkur thiklawthungmamwnginsmyrchkalthi 5 iwkwa 50 phnthu odysayphnthuthiruckknxyangaephrhlay echn ekhiyweswy aerd nadxkim ochkhxnnt xkrxng twxyang echn ekhiyweswy epnphnthuphunemuxngkhxngnkhrpthm phlyaw danhlngphlokhngnunxxk playaehlm phiweriyb siekhiywekhm epluxkhna ehniyw phlaekrsmn nadxkim epnphnthuthikinphlsuk ruprangyaweriyw phldibenuxkhaw rsepriywcd phlsuksiehluxngnwl rshwan xkrxngthxng epnphnthuekaaek niymkinkbkhawehniywmun phlkhxnkhangelk mirxngepnaenwyawthidanthxng phlsuk enuxlaexiyd miesiynnxy faln phlklm thayaehlm lukkhnadklang niymkinphlaek mirsmn emuxpxkepluxk enuxmamwngcapriaetk hnngklangwn phlyawkhlayngachang aekcdrsmnxmepriyw sukrshwan aekw niymkindib phlxwnpxm epluxkehniyw emuxekuxbsukepluxkcamisixmsmhruxxmaedng ochkhxnnt ruprangyaw playmn klayphnthumacakmamwngpa niymnaipthamamwngdxng mhachnk epnlukphsmrahwangmamwngphnthuhnngklangwnkbphnthusnestcakxinediy phlyawri suksiehluxngekhm miriwsiaedng enuximela klinhxm casukinchwngthimamwngphnthuxunwayaelwkarichpraoychnmamwngdibkhunkhathangophchnakartx 100 krm 3 5 xxns phlngngan250 kiolcul 60 kiolaekhlxri kharobihedrt15 gnatal13 7 giyxahar1 6 gikhmn0 38 goprtin0 82 gwitaminwitaminexbita aekhorthin 7 54 mg 6 640 mgithxamin bi1 3 0 03 mk irobeflwin bi2 3 0 04 mk inxasin bi3 4 0 67 mk krdaephnothethnik bi5 4 0 2 mk witaminbi6 9 0 12 mk ofelt bi9 11 43 mgwitaminsi 43 36 mk aerthatuaekhlesiym 1 11 mk ehlk 1 0 16 mk aemkniesiym 3 10 mk fxsfxrs 2 14 mk ophaethsesiym 4 168 mk sngkasi 1 0 09 mk hnwy mg imokhrkrm mg millikrm IU hnwysaklpramanrxylakhraw odyichkaraenanakhxngshrthsahrbphuihy aehlngthima USDA FoodData Central phlmamwngnamakinidthngdibaelasuk mamwngdibepluxksiekhiywenuxsikhawswnihymirsepriyw ykewnbangphnthuthieriykwamamwngmn swnphlsukcamisiehluxngthngepluxkaelaenux kinsd hrux naipthaepnxaharechn khawehniywmamwng xikthngmikarnaipaeprrup echn mamwngkwn mamwngaekw mamwngdxng mamwngaechxim mamwngekhm naaeymmamwng phaymamwng epntn aebngmamwngtamkhwamniyminkarkinepn 3 praephthkhux niymkindibidaekphnthuthimirshwanmntxnaekcd echn ekhiyweswy aerd phimesnmn thxngda ekhiywikhka hruxmirsmntxnxxnimepriyw echn faln hnxngaesng mamwngehlaniemuxsukaelwcahwanchud imxrxy niymkinsuk emuxdibmirsepriyw txngbmihsukkxnkinechn xkrxng nwlcnthr nadxkim naipprakxbxahar echn isinnaphrik ya niymnamaaeprrup aekcdmirsmnxmepriyw emuxsukhwanxmepriyw ichyxdxxn phlxxn maprakxbxaharaethnphk ichepnyasmuniphr echn phlmamwngdibmiwitaminsisung aekeluxdxxktamirfn epntn ichenuxim namaphlitepnefxrniecxr chawkaehriynginxaephxaemaecm cnghwdechiyngihmnaepluxktnmamwngipyxmpha ihsiekhiywduephimxangxingGanesan S K 2021 Mangifera indica IUCN Red List of Threatened Species 2021 e T31389A67735735 doi 10 2305 IUCN UK 2021 2 RLTS T31389A67735735 en subkhnemux 19 November 2021 Mangifera subkhnemux 8 May 2020 Julia F Morton 1987 Mango Mangifera indica L In Fruits of Warm Climates New Crop Resource Online Program Center for New Crops and Plant Products Purdue University pp 221 239 subkhnemux 24 December 2021 INPhO Compendium Chapter 20 on Mango Section 1 fao org cakaehlngedimemux 2006 04 24 siphi saercphlitmamwngnxkvdu tngepakhyaytladsngxxkthngpi khmchdlukxxniln 2009 11 26 National Fruit Know India Government of India subkhnemux 2010 08 17 BDnews24 com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 03 19 subkhnemux 2010 11 16 mamwngekhiyweswy praoychn srrphkhun aelakarplukmamwngekhiyweswy efxrniecxrimmamwng khxngdi khlxng 30 khmchdlukxxniln 2016 04 03 khwyvthy khafaechux 2551 phvkssastrphunbankhxngchawkaehriyng thitablbancnthraelaaecmhlwng xaephxaemaecm cnghwdechiyngihm withyaniphnth withyasastrmhabnthit mhawithyalyechiyngihm 271 hna duchbbetm 2021 06 04 thi ewyaebkaemchchinxanephimLitz Richard E ed 2009 The Mango Botany Production and Uses 2nd edition CABI ISBN 978 1 84593 489 7 nidda hngswiwthn aelathwithxng hngswiwthn mamwng in phlim 111 chnid khunkhaxaharaelakarkin kthm aesngaedd 2550 hna 173 177aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb mamwng wikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb mamwng taraxaharkhxngwikitaramisutrxaharekiywkb mamwng has a list of helpful resources about this species