บทความนี้ไม่มีจาก |
แนวมาฌีโน (ฝรั่งเศส: Ligne Maginot) ตั้งชื่อตามรัฐมนตรีการสงครามของฝรั่งเศส อ็องเดร มาฌีโน เป็นแนวป้องกัน, ป้อมปราการคอนกรีต, สิ่งกีดขวาง ซึ่งติดตั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ ถูกสร้างขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1930 เพื่อยับยั้งการรุกรานโดยเยอรมนีและบังคับให้พวกเขาเคลื่อนไหวอยู่รายรอบป้อมปราการ
แนวมาฌีโน | |
---|---|
Ligne Maginot | |
ตะวันออกของฝรั้งเศส | |
แผนที่แสดงแนวมาฌีโน | |
ประเภท | แนวป้องกันข้าศึก |
ข้อมูล | |
ควบคุมโดย | ฝรั่งเศส |
เปิดสู่ สาธารณะ | ไม่ |
สภาพ | ส่วนใหญ่ยังคงสภาพเดิม โดยผ่านการบูรณะของรัฐบาลฝรั่งเศส |
ประวัติศาสตร์ | |
สร้าง | 1929–1938 |
การใช้งาน | ค.ศ. 1935–1969 |
การต่อสู้/สงคราม | สงครามโลกครั้งที่สอง
|
แนวมาฌีโนถือเป็นแนวป้องกันที่แน่นหนาต่อการถูกโจมตีทุกรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม เยอรมันได้ทำการรุกรานผ่านกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โดยผ่านทางเหนือของแนวป้องกัน หลังจากนั้นแนวป้องกันถูกอุปมาเป็นการทุ่มเททั้งเม็ดเงินมหาศาลและความพยายามที่จะหยุดยั้งการุรกรานจากเยอรมันแบบวิธี
แนวมาฌีโนถูกสร้างในอาณาเขตฝรั่งเศส โดยตั้งอยู่ห่างราวสิบถึงยี่สิบกิโลเมตรจากแนวพรมแดนที่ติดกับอิตาลี สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี และลักเซมเบิร์ก แนวป้องกันนี้ไม่ได้ขยายไปยังช่องแคบอังกฤษ เนื่องจากกลยุทธ์ของฝรั่งเศสที่ได้คาดการณ์การเคลื่อนทัพเข้าสู่เบลเยียมเพื่อตอบโต้การโจมตีของเยอรมัน จากประสบการณ์ของฝรั่งเศสด้วยการทำสงครามสนามเพลาะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แนวมาฌีโนขนาดใหญ่ได้ถูกสร้างขึ้นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังการประชุมโลคาร์โน ได้ก่อให้เกิด "จิตวิญญาณแห่งโลคาร์โน" ผู้เชี่ยวชาญทางทหารของฝรั่งเศสได้ยกย่องแนวป้องกันนี้เป็นผลงานอัจฉริยะที่สามารถยับยั้งการรุกรานของเยอรมัน เพราะจะทำให้การรุกรานชะลอตัวนานพอที่กองทัพหลักของฝรั่งเศสจะสามารถระดมพลและตอบโต้กลับ
แนวมาฌีโนนี้ไม่ได้ให้อนุญาตให้มีการโจมตีมากที่สุด รวมทั้งการทิ้งระเบิดทางอากาศและการยิงปืนรถถังและมีรถไฟใต้ดินเป็นกองสนับสนุน นอกจากนี้สภาพความเป็นอยู่ที่ทันสมัยสำหรับทหารประจำการ การจัดส่งเสบียงทางอากาศที่จำกัด และพื้นที่การกินสำหรับความสะดวกสบายของพวกเขา แทนที่จะโจมตีโดยตรง เยอรมันได้บุกเข้าโจมตีกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โดยก้าวข้ามแนวทางตอนเหนือ เจ้าหน้าที่ทหารฝรั่งเศสและอังกฤษได้คาดการณ์ไว้แล้ว เมื่อเยอรมนีได้เข้ารุกรานเนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม พวกเขาได้ดำเนินวางแผนด้วยการรุกไปยังแนวรบข้างหน้าเพื่อตัดผ่านเบลเยียมและเชื่อมต่อกับแนวมาฌีโน อย่างไรก็ตาม, แนวป้องกันฝรั่งเศสมีจุดที่เปราะบางอยู่ใกล้กับป่าอาร์แดน ด้วยความเชื่อของฝรั่งเศสว่าบริเวณนั้นเป็นพื้นที่ขรุขระ เป็นเส้นทางของการรุกรานของกองทัพเยอรมันที่ไม่น่าจะเป็นไปได้ ถ้าบุกเข้ามาจริงก็จะทำให้เกิดความล่าช้าที่จะช่วยให้เวลาแก่ฝรั่งเศสเพื่อเตรียมกองกำลังสำรองและตอบโต้กลับ กองทัพเยอรมัน ได้กำหนดแผนใหม่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง-กลายเป็นความตระหนักถึงและใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนในแนวป้องกันฝรั่งเศส การรุกอย่างรวดเร็วผ่านป่าและก้าวข้ามแม่น้ำมิวส์เข้าตีโอบล้อมส่วนใหญ่ของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร ส่งผลให้กองกำลังขนาดใหญ่ได้เริ่มต้นด้วยการอพยพที่ดันเคิร์ก ทิ้งเหลือเพียงกองกำลังทางใต้ที่ไม่สามารถต้านทานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อการรุกรานฝรั่งเศสของเยอรมัน
แนวป้องกันนี้นับเป็นคำอุปมาเปรียบเทียบสำหรับความพยายามที่แสนราคาแพงซึ่งก่อให้เกิดความผิดพลาดในการรักษาความปลอดภัย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir aenwmachion frngess Ligne Maginot tngchuxtamrthmntrikarsngkhramkhxngfrngess xxngedr machion epnaenwpxngkn pxmprakarkhxnkrit singkidkhwang sungtidtngxawuthyuthothpkrn thuksrangkhuninchwngpi kh s 1930 ephuxybyngkarrukranodyeyxrmniaelabngkhbihphwkekhaekhluxnihwxyurayrxbpxmprakaraenwmachionLigne Maginottawnxxkkhxngfrngessaephnthiaesdngaenwmachionpraephthaenwpxngknkhasukkhxmulkhwbkhumodyfrngessepidsu satharnaimsphaphswnihyyngkhngsphaphedim odyphankarburnakhxngrthbalfrngessprawtisastrsrang1929 1938karichngankh s 1935 1969kartxsu sngkhramsngkhramolkkhrngthisxng yuththkarthifrngess 1940 ptibtikarnxrthwinth 1945 aenwmachionthuxepnaenwpxngknthiaennhnatxkarthukocmtithukrupaebb aetxyangirktam eyxrmnidthakarrukranphanklumpraethsaephndinta odyphanthangehnuxkhxngaenwpxngkn hlngcaknnaenwpxngknthukxupmaepnkarthumeththngemdenginmhasalaelakhwamphyayamthicahyudyngkarurkrancakeyxrmnaebbwithi aenwmachionthuksranginxanaekhtfrngess odytngxyuhangrawsibthungyisibkiolemtrcakaenwphrmaednthitidkbxitali switesxraelnd eyxrmni aelalkesmebirk aenwpxngknniimidkhyayipyngchxngaekhbxngkvs enuxngcakklyuththkhxngfrngessthiidkhadkarnkarekhluxnthphekhasuebleyiymephuxtxbotkarocmtikhxngeyxrmn cakprasbkarnkhxngfrngessdwykarthasngkhramsnamephlaainsngkhramolkkhrngthihnung aenwmachionkhnadihyidthuksrangkhuninchwngkxnsngkhramolkkhrngthisxng phayhlngkarprachumolkharon idkxihekid citwiyyanaehngolkharon phuechiywchaythangthharkhxngfrngessidykyxngaenwpxngknniepnphlnganxcchriyathisamarthybyngkarrukrankhxngeyxrmn ephraacathaihkarrukranchalxtwnanphxthikxngthphhlkkhxngfrngesscasamarthradmphlaelatxbotklb aenwmachionniimidihxnuyatihmikarocmtimakthisud rwmthngkarthingraebidthangxakasaelakaryingpunrththngaelamirthifitdinepnkxngsnbsnun nxkcaknisphaphkhwamepnxyuthithnsmysahrbthharpracakar karcdsngesbiyngthangxakasthicakd aelaphunthikarkinsahrbkhwamsadwksbaykhxngphwkekha aethnthicaocmtiodytrng eyxrmnidbukekhaocmtiklumpraethsaephndinta odykawkhamaenwthangtxnehnux ecahnathithharfrngessaelaxngkvsidkhadkarniwaelw emuxeyxrmniidekharukranenethxraelnd aelaebleyiym phwkekhaiddaeninwangaephndwykarrukipyngaenwrbkhanghnaephuxtdphanebleyiymaelaechuxmtxkbaenwmachion xyangirktam aenwpxngknfrngessmicudthiepraabangxyuiklkbpaxaraedn dwykhwamechuxkhxngfrngesswabriewnnnepnphunthikhrukhra epnesnthangkhxngkarrukrankhxngkxngthpheyxrmnthiimnacaepnipid thabukekhamacringkcathaihekidkhwamlachathicachwyihewlaaekfrngessephuxetriymkxngkalngsarxngaelatxbotklb kxngthpheyxrmn idkahndaephnihmtngaetsngkhramolkkhrngthihnung klayepnkhwamtrahnkthungaelaichpraoychncakcudxxninaenwpxngknfrngess karrukxyangrwderwphanpaaelakawkhamaemnamiwsekhatioxblxmswnihykhxngkxngthphfaysmphnthmitr sngphlihkxngkalngkhnadihyiderimtndwykarxphyphthidnekhirk thingehluxephiyngkxngkalngthangitthiimsamarthtanthanidxyangmiprasiththiphaphtxkarrukranfrngesskhxngeyxrmn aenwpxngknninbepnkhaxupmaepriybethiybsahrbkhwamphyayamthiaesnrakhaaephngsungkxihekidkhwamphidphladinkarrksakhwamplxdphy bthkhwampraethsfrngessniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk