บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
อุปนิษัท (เทวนาครี : उपनिषद् อุปนิษทฺ, ไอเอเอสที: upaniṣad) เป็นคัมภีร์ของศาสนาฮินดู เนื้อหาเป็นหลักธรรม หรือคำสอนอันลึกซึ้ง นับเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท (วรรณกรรมพระเวทส่วนอื่นได้แก่ , , ) และเนื่องจากเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท จึงอีกอย่างหนึ่งว่า "เวทานฺต" (เวทานตะ)
คำว่า “อุปนิษัท” (อุปนิษทฺ) มาจากคำอุปสรรค อุป+นิ+ (ธาตุ) สทฺ ความหมายคือ “นั่งลงใกล้...” ดังนั้นจึงมีนักปราชญ์บางคนอธิบายความหมายของคำ “อุปนิษทฺ” ว่า คือความรู้ที่ได้จากการนั่งลงใกล้กับเท้าทั้งสองของอาจารย์เพื่อฟังคำสอน (ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ที่เป็นความลับจะถ่ายทอดกันในลักษณะนี้) แต่นักปราชญ์ชาวอินเดียได้อธิบายความหมายของคำ “อุปนิษทฺ” ว่าหมายถึง การทำลายความโง่เขลาด้วยการเปิดเผยความรู้เกี่ยวกับจิตวิญญาณสูงสุดและตัดขาดจากสิ่งผูกรัดทางโลก
นอกจากนี้คำ “อุปนิษทฺ” ยังให้ความหมายในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับความลึกลับ เช่น ลัทธิที่ลักลับ ลัทธิที่ปกปิด ถ้อยคำที่ลึกลับ เป็นต้น ต่อมาได้มีการนำเอาคำ “อุปนิษทฺ” มาใช้เรียกวรรณกรรมส่วนท้ายสุดของพระเวท ซึ่งเนื้อหาความรู้ในวรรณกรรมส่วนนี้จะมีลักษณะเป็นปรัชญาที่ลึกซึ้ง อุปนิษัทจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เวทานตะ (เวทานฺต)” มาจากคำสมาส เวท (คำนามของธาตุ วิทฺ) + อนฺต (สุดท้าย) มีความหมายว่า “ส่วนท้ายสุดของพระเวท” ในกลุ่มนักปราชญ์ชาวอินเดียยังคงยึดถือว่า อุปนิษัทเป็นวรรณกรรมประเภทศรุติ สำหรับคำว่า “เวทานตะ” นั้นเป็นคำที่พ้องกับชื่อปรัชญาอินเดียสาขาหนึ่งใน 6 สาขาที่เป็น “อาสติกะ (อาสฺติก)” (ความคิดที่ยอมรับอำนาจของพระเวทและเชื่อในความมีอยู่ของพระเจ้าและโลกอื่น) คือ ปรัชญาเวทานตะ และปรัชญาสาขานี้ก็ยึดถือว่าคัมภีร์อุปนิษัทหลายอุปนิษัทเป็นคัมภีร์สำคัญของสาขา
มุขยะ อุปนิษัท
มุขยะ อุปนิษัท (มุขฺย อุปนิษทฺ) เป็นคำเรียกคัมภีร์อุปนิษัทกลุ่มหนึ่ง มีด้วยกัน 10 เล่ม จากอุปนิษัททั้งหมด 108 เล่ม นับเป็นอุปนิษัทที่เก่าแก่ที่สุด ซึ่งศังกราจารย์ นักปราชญ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ได้กล่าวถึงไว้ คำว่า "มุขยะ" ในภาษาสันสกฤต หมายถึง หลัก หัวหน้า หรือโดดเด่น "มุขยะ อุปนิษัท" จึงหมายถึง อุปนิษัทหลัก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ยังมีคำเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทโศปนิษัท หรือ อุปนิษัททั้งสิบ คัมภีร์เหล่านี้ชาวฮินดูยอมรับว่าเป็น (คัมภีร์ที่เกิดจากการฟังมาจากพระเจ้า) โดยมีรายชื่อดังนี้ (ในวงเล็บ คือชื่อพระเวทที่เกี่ยวข้องของอุปนิษัทนั้นๆ)
- (อีศ-อุปนิษทฺ) "ผู้ปกครองภายใน" (ศูกล ยชุรเวท) หรือเรียกอีกชื่อว่า อีศาวาสฺย-อุปนิษทฺ ประกอบด้วย 18 มันตระ มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระเจ้าและโลก การงานและปัญญา อาตมัน ความจริงแท้สูงสุดและสิ่งสูงสุด วิทยา และ อวิทยา ฯลฯ
- (เกน-อุปนิษทฺ) "ใครย้ายโลก" (สามเวท) รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ตลวการ-อุปนิษทฺ ตามชื่อของพราหมณ์ผู้เป็นเจ้าของอุปนิษัทนี้ แบ่งเป็น 4 ตอน เนื้อหาสองตอนแรกซึ่งเป็นร้อยกรองกล่าวถึงพรหมันสูงสุด ที่ไม่อาจกำหนดคุณลักษณะใด ๆ ได้ เป็นสิ่งสมบูรณ์ที่เป็นรากฐานของโลกและปรากฏการณ์ธรรมชาติ ส่วนเนื้อหาในสองตอนหลังซึ่งเป็นร้อยแก้วกล่าวถึง สิ่งสูงสุด (พระเจ้า) หรือ อีศวระ และความรู้ที่ทำให้หลุดพ้น ความรู้เกี่ยวกับสิ่งสมบูรณ์ (ปรา-วิทยา) ซึ่งทำให้ได้ผลเป็นการหลุดพ้นแบบฉับพลันที่เป็นไปได้สำหรับบุคคลที่ดึงความคิดออกจากวัตถุทางโลก และตั้งสมาธิจดจ่ออยู่ที่ความจริงสูงสุดของจักรวาล ความรู้ที่เกี่ยวกับ อีศวระ อปรา-วิทยา ซึ่งทำให้บุคคลอยู่บนหนทางที่นำไปสู่การเป็นอิสระในที่สุด (karma mukti) จิตวิญญาณที่มีความศรัทธาต้องการปัญญาที่สูงขึ้นตามลำดับ ซึ่งจะให้ผลในความตระหนักรู้เกี่ยวกับความเหมือนกันกับสิ่งสูงสุด
- (กฐ-อุปนิษทฺ) "ความตายเป็นครู" (กฤษณะ ยชุรเวท) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า กฐาโกปนิษทฺ นำเสนอเนื้อหาในรูปของการสนทนาระหว่าง นิจิเกตสฺ กับ ยม (เทพแห่งความตาย) มีเนื้อหาเกี่ยวกับการค้นหาความลับที่อยู่เบื้องหลังชีวิตและความตายของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย รวมทั้งเรื่องเกี่ยวกับพรหมัน ธรรมชาติของอัตมัน (Self) ความจริงแท้สูงสุดของสิ่งที่ดำรงอยู่ทั้งหลาย เสียง “โอม” อัตมันที่เป็นอมตะ อัตมันที่มีสองลักษณะ คุณลักษณะตรงกันข้ามกันของสิ่งสูงสุด การเปรียบเทียบร่างกายกับรถม้าศึก ฯลฯ
- (ปฺรศฺน-อุปนิษทฺ) "ลมหายใจของชีวิต" () นำเสนอในลักษณะของคำถามที่ลูกศิษย์ถามฤษีผู้เป็นอาจารย์เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น คำถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตทั้งหลายเกิดขึ้นมาจากอะไร คำถามเกี่ยวกับเทพจำนวนเท่าใดที่ค้ำจุนสิ่งมีชีวิตอยู่ เทพองค์ใดทำให้รุ่งโรจน์ เทพองค์ใดเป็นผู้นำ คำถามเกี่ยวกับปราณ พลังอำนาจของคำว่า “โอม” ฯลฯ
- (มุณฺฑก-อุปนิษทฺ) "การรับรู้สองอย่าง" (อาถรรพเวท) สันนิษฐานว่าชื่อของคัมภีร์อุปนิษัทนี้มาจากคำสอนที่อยู่ในอุปนิษัททำให้ศิษย์ผู้เรียนรู้และสะอาดเหมือนกับศีรษะที่ถูกโกนด้วยมีด (มุณฺฑก) ขจัดม่านแห่งความโง่เขลาออกไป คัมภีร์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความจริงแท้สูงสุด พรหมวิทยา หนทางการบรรลุพรหมัน ฯลฯ คัมภีร์นี้ศึกษากันในหมู่ สนฺนยาสี (นักบวช)
- (มาณฺฑูกฺย-อุปนิษทฺ) "จิตสำนึกและช่วงต่าง" (อาถรรพเวท) มีเนื้อหาเกี่ยวกับความสำคัญของคำว่า “โอม” อัตมัน และ พรหมัน รวมถึงสภาวะต่าง ๆ ของจิต
- (ไตตฺติรีย-อุปนิษทฺ) "จากอาหาร สู่ปีติ" (กฤษณะ ยชุรเวท) เนื้อหาแบ่งเป็น 3 ตอน ตอนแรกคือ ศิกฺษา-วลฺลิ เกี่ยวกับการปฏิญาณตนหลังจบการศึกษากับครู ตอนที่สอง (พฺรหฺมานนฺท-วลฺลิ) และตอนที่สาม (ภฤคุ-วลฺลิ) เป็นความรู้เกี่ยวกับปรามาตมันหรือความจริงแท้สูงสุด
- (ไอตเรย-อุปนิษทฺ) "ตัวตนและอาตมันของมนุษย์" (ฤคเวท) เนื้อหาเกี่ยวกับยัญพิธีและการแปลความหมายของยัญพิธี เพื่อให้ผู้ประกอบยัญพิธีเข้าใจความหมายที่ลึกซึ้งที่แฝงอยู่ภายใน รวมถึงความรู้และการบูชาปราณ ฯลฯ
- (ฉานฺโทคฺย-อุปนิษทฺ) "บทเพลงและการสังเวย" (สามเวท) เป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ “ฉานฺโทคฺย-พฺราหฺมณ” มีเนื้อหาเกี่ยวกับการอภิปรายปัญหาของพิธีสวดบูชาและทฤษฎีต่าง ๆ เช่น แหล่งกำเนิดและความสำคัญของคำว่า “โอม” ความหมายและชื่อของ สามนฺ อัตมัน ปราณ เป็นต้น
- (พฤหทารณฺยก-อุปนิษทฺ) (ศูกล ยชุรเวท) เป็นคัมภีร์อุปนิษัทที่มีความสำคัญมากที่สุดและเก่าแก่ที่สุด เป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ “ศตฺปถะ-พฺราหฺมณ” แบ่งออกเป็น 3 กาณฑะ อันดับแรกคือ มธุ-กาณฺฑ เป็นคำสอนเกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของอัตมันและปรมาตมัน อันดับสองคือ ยาชฺญวลฺกฺย หรือ มุนิ-กาณฑ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางปรัชญาของคำสอน อันดับสามคือ ขิล-กาณฺฑ เป็นคำสอนเกี่ยวกับรูปแบบบางประการของการบูชาและการทำสมาธิ การสะท้อนทางตรรกะ การทำสมาธิอย่างลึก ฯลฯ
อ้างอิง
ผศ.ดร.สถิตย์ ไชยปัญญา ประวัติวรรณคดีสันสกฤต สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2563
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid xupnisth ethwnakhri उपन षद xupnisth ixexexsthi upaniṣad epnkhmphirkhxngsasnahindu enuxhaepnhlkthrrm hruxkhasxnxnluksung nbepnswnsudthaykhxngwrrnkrrmphraewth wrrnkrrmphraewthswnxunidaek aelaenuxngcakepnswnsudthaykhxngwrrnkrrmphraewth cungxikxyanghnungwa ewthan t ewthanta khawa xupnisth xupnisth macakkhaxupsrrkh xup ni thatu sth khwamhmaykhux nnglngikl dngnncungminkprachybangkhnxthibaykhwamhmaykhxngkha xupnisth wa khuxkhwamruthiidcakkarnnglngiklkbethathngsxngkhxngxacaryephuxfngkhasxn sungkarthaythxdkhwamruthiepnkhwamlbcathaythxdkninlksnani aetnkprachychawxinediyidxthibaykhwamhmaykhxngkha xupnisth wahmaythung karthalaykhwamongekhladwykarepidephykhwamruekiywkbcitwiyyansungsudaelatdkhadcaksingphukrdthangolk nxkcaknikha xupnisth yngihkhwamhmayinlksnathiekiywkhxngkbkhwamluklb echn lththithilklb lththithipkpid thxykhathiluklb epntn txmaidmikarnaexakha xupnisth maicheriykwrrnkrrmswnthaysudkhxngphraewth sungenuxhakhwamruinwrrnkrrmswnnicamilksnaepnprchyathiluksung xupnisthcungmichuxeriykxikchuxhnungwa ewthanta ewthan t macakkhasmas ewth khanamkhxngthatu with xn t sudthay mikhwamhmaywa swnthaysudkhxngphraewth inklumnkprachychawxinediyyngkhngyudthuxwa xupnisthepnwrrnkrrmpraephthsruti sahrbkhawa ewthanta nnepnkhathiphxngkbchuxprchyaxinediysakhahnungin 6 sakhathiepn xastika xas tik khwamkhidthiyxmrbxanackhxngphraewthaelaechuxinkhwammixyukhxngphraecaaelaolkxun khux prchyaewthanta aelaprchyasakhanikyudthuxwakhmphirxupnisthhlayxupnisthepnkhmphirsakhykhxngsakhamukhya xupnisthmukhya xupnisth mukh y xupnisth epnkhaeriykkhmphirxupnisthklumhnung midwykn 10 elm cakxupnisththnghmd 108 elm nbepnxupnisththiekaaekthisud sungsngkracary nkprachyinkhriststwrrsthi 9 idklawthungiw khawa mukhya inphasasnskvt hmaythung hlk hwhna hruxoddedn mukhya xupnisth cunghmaythung xupnisthhlk nnexng xyangirktam yngmikhaeriykxikxyanghnungwa thospnisth hrux xupnisththngsib khmphirehlanichawhinduyxmrbwaepn khmphirthiekidcakkarfngmacakphraeca odymiraychuxdngni inwngelb khuxchuxphraewththiekiywkhxngkhxngxupnisthnn xis xupnisth phupkkhrxngphayin sukl ychurewth hruxeriykxikchuxwa xisawas y xupnisth prakxbdwy 18 mntra mienuxhaekiywkbphraecaaelaolk karnganaelapyya xatmn khwamcringaethsungsudaelasingsungsud withya aela xwithya l ekn xupnisth ikhryayolk samewth ruckkninxikchuxhnungwa tlwkar xupnisth tamchuxkhxngphrahmnphuepnecakhxngxupnisthni aebngepn 4 txn enuxhasxngtxnaerksungepnrxykrxngklawthungphrhmnsungsud thiimxackahndkhunlksnaid id epnsingsmburnthiepnrakthankhxngolkaelapraktkarnthrrmchati swnenuxhainsxngtxnhlngsungepnrxyaekwklawthung singsungsud phraeca hrux xiswra aelakhwamruthithaihhludphn khwamruekiywkbsingsmburn pra withya sungthaihidphlepnkarhludphnaebbchbphlnthiepnipidsahrbbukhkhlthidungkhwamkhidxxkcakwtthuthangolk aelatngsmathicdcxxyuthikhwamcringsungsudkhxngckrwal khwamruthiekiywkb xiswra xpra withya sungthaihbukhkhlxyubnhnthangthinaipsukarepnxisrainthisud karma mukti citwiyyanthimikhwamsrththatxngkarpyyathisungkhuntamladb sungcaihphlinkhwamtrahnkruekiywkbkhwamehmuxnknkbsingsungsud kth xupnisth khwamtayepnkhru kvsna ychurewth hruxmixikchuxhnungwa kthaokpnisth naesnxenuxhainrupkhxngkarsnthnarahwang niciekts kb ym ethphaehngkhwamtay mienuxhaekiywkbkarkhnhakhwamlbthixyuebuxnghlngchiwitaelakhwamtaykhxngsingmichiwitthnghlay rwmthngeruxngekiywkbphrhmn thrrmchatikhxngxtmn Self khwamcringaethsungsudkhxngsingthidarngxyuthnghlay esiyng oxm xtmnthiepnxmta xtmnthimisxnglksna khunlksnatrngknkhamknkhxngsingsungsud karepriybethiybrangkaykbrthmasuk l p rs n xupnisth lmhayickhxngchiwit naesnxinlksnakhxngkhathamthiluksisythamvsiphuepnxacaryekiywkberuxngtang echn khathamekiywkbsingmichiwitthnghlayekidkhunmacakxair khathamekiywkbethphcanwnethaidthikhacunsingmichiwitxyu ethphxngkhidthaihrungorcn ethphxngkhidepnphuna khathamekiywkbpran phlngxanackhxngkhawa oxm l mun thk xupnisth karrbrusxngxyang xathrrphewth snnisthanwachuxkhxngkhmphirxupnisthnimacakkhasxnthixyuinxupnisththaihsisyphueriynruaelasaxadehmuxnkbsirsathithukokndwymid mun thk khcdmanaehngkhwamongekhlaxxkip khmphirnimienuxhaekiywkbkhwamcringaethsungsud phrhmwithya hnthangkarbrrluphrhmn l khmphirnisuksakninhmu sn nyasi nkbwch man thuk y xupnisth citsanukaelachwngtang xathrrphewth mienuxhaekiywkbkhwamsakhykhxngkhawa oxm xtmn aela phrhmn rwmthungsphawatang khxngcit itt tiriy xupnisth cakxahar supiti kvsna ychurewth enuxhaaebngepn 3 txn txnaerkkhux sik sa wl li ekiywkbkarptiyantnhlngcbkarsuksakbkhru txnthisxng ph rh mann th wl li aelatxnthisam phvkhu wl li epnkhwamruekiywkbpramatmnhruxkhwamcringaethsungsud ixtery xupnisth twtnaelaxatmnkhxngmnusy vkhewth enuxhaekiywkbyyphithiaelakaraeplkhwamhmaykhxngyyphithi ephuxihphuprakxbyyphithiekhaickhwamhmaythiluksungthiaefngxyuphayin rwmthungkhwamruaelakarbuchapran l chan othkh y xupnisth bthephlngaelakarsngewy samewth epnswnhnungkhxngkhmphir chan othkh y ph rah mn mienuxhaekiywkbkarxphipraypyhakhxngphithiswdbuchaaelathvsditang echn aehlngkaenidaelakhwamsakhykhxngkhawa oxm khwamhmayaelachuxkhxng samn xtmn pran epntn phvhtharn yk xupnisth sukl ychurewth epnkhmphirxupnisththimikhwamsakhymakthisudaelaekaaekthisud epnswnhnungkhxngkhmphir st ptha ph rah mn aebngxxkepn 3 kantha xndbaerkkhux mthu kan th epnkhasxnekiywkblksnaphunthankhxngxtmnaelaprmatmn xndbsxngkhux yach ywl k y hrux muni kanth mienuxhaekiywkbkarihehtuphlthangprchyakhxngkhasxn xndbsamkhux khil kan th epnkhasxnekiywkbrupaebbbangprakarkhxngkarbuchaaelakarthasmathi karsathxnthangtrrka karthasmathixyangluk lxangxingphs dr sthity ichypyya prawtiwrrnkhdisnskvt sankphimphmhawithyalyramkhaaehng 2563 bthkhwamwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk