ปรากฏการณ์ความจริงลวง หรือ ปรากฏการณ์การกล่าวซ้ำ ๆ (อังกฤษ: Illusory truth effect, validity effect, truth effect, reiteration effect) เป็นความโน้มเอียงที่จะเชื่อข้อมูลเท็จว่าเป็นจริงเมื่อได้รับอย่างซ้ำ ๆ เป็นปรากฏการณ์ที่ระบุครั้งแรกโดยงานศึกษาปี 1977 ที่มหาวิทยาลัยสองแห่งในเมืองฟิลาเดลเฟีย สหรัฐ คือทั่วไปแล้ว เมื่อประเมินความเป็นจริง มนุษย์จะดูว่ามันเข้ากับความเข้าใจของตนหรือรู้สึกคลับคล้ายคลับคลาหรือไม่ วิธีแรกนั้นสมเหตุสมผลเพราะใช้วิธีเปรียบเทียบข้อมูลใหม่กับข้อมูลที่รู้อยู่แล้วว่าเป็นจริง แต่การได้ยินข้อความซ้ำ ๆ กลับทำให้คล่องใจลื่นหูกว่าข้อความที่ยังไม่เคยได้ยิน แล้วทำให้เราเข้าใจว่าสิ่งที่กล่าวซ้ำ ๆ น่าจะเป็นจริงกว่า ปรากฏการณ์นี้ได้ระบุว่าสัมพันธ์กับ hindsight bias คือความเอนเอียงในการเห็นว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตพยากรณ์ได้ง่ายเกินความเป็นจริง
ในงานศึกษาปี 2015 นักวิจัยพบว่า ความคุ้นเคยสามารถเอาชนะความสมเหตุผลได้ และการได้ยินบ่อย ๆ ว่า ข้อความหนึ่งเป็นเท็จ อาจมีผลตรงข้ามทำให้ผู้ฟังเชื่อเรื่องเท็จว่าเป็นจริงเพราะได้ยินบ่อย ๆ แม้ผู้ร่วมการทดลองจะรู้คำตอบที่ถูกต้องตั้งแต่ต้น แต่ก็ยังเปลี่ยนความเชื่อต่อมาหลังจากได้รับข้อมูลเท็จซ้ำ ๆ นักวิจัยแสดงเหตุของปรากฏการณ์นี้ว่า เป็นเพราะข้อมูลสามารถประมวลง่ายกว่า (processing fluency)
ปรากฏการณ์นี้มีผลสำคัญในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งการหาเสียงเลือกตั้ง การโฆษณา สื่อข่าว สื่อสังคม (โดยเฉพาะการได้รับข่าวเท็จบ่อย ๆ) และโฆษณาชวนเชื่อ
งานศึกษาดั้งเดิม
ในปี 1977 งานศึกษาที่มหาวิทยาลัยสองแห่งในเมืองฟิลาเดลเฟีย สหรัฐ (คือ Villanova University และ Temple University) ได้ระบุรายละเอียดและบัญญัติชื่อของปรากฏการณ์นี้เป็นครั้งแรก งานศึกษาให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินข้อความต่าง ๆ ว่าเป็นจริงหรือเท็จ คือ ในการทดลอง 3 ครั้งแต่ละครั้ง นักวิจัยได้แสดงข้อความ 60 บทแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยกลุ่มเดียวกัน ข้อความบางบทเป็นจริง บางบทเป็นเท็จ คำถามชุดที่สองได้ส่งให้ดู 2 อาทิตย์หลังจากชุดแรก และชุดที่สามอีก 2 อาทิตย์ต่อจากนั้น มีข้อความ 20 บทเดียวกันที่อยู่ในชุดคำถามทั้งหมด ข้อความที่เหลือมีอยู่แต่ในชุดของตน ๆ เท่านั้น มีการถามผู้ร่วมการทดลองว่า มั่นใจในความจริงเท็จของข้อความแค่ไหน โดยข้อความเป็นเรื่องที่นักศึกษาไม่น่าจะรู้เรื่องอะไร ยกตัวอย่างคำถามเช่น "ฐานทัพอากาศ (สหรัฐ) แรกสร้างขึ้นในรัฐนิวเม็กซิโก" หรือ "บาสเกตบอลกลายเป็นกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1925" โดยให้ผู้ร่วมการทดลองลงคะแนนแสดงความเป็นจริงระหว่าง 1-7 สำหรับข้อความแต่ละบท
แม้ระดับความมั่นใจในความจริงของบทความที่ไม่กล่าวซ้ำจะอยู่ใกล้ ๆ กัน แต่ความมั่นใจในบทความที่กล่าวซ้ำกลับเพิ่มขึ้นจากชุดที่ 1 ไปยังชุดที่ 2 และจากชุดที่ 2 ไปยังชุดที่ 3 โดยคะแนนเฉลี่ยเพิ่มจาก 4.2 ไปยัง 4.6 ไปถึง 4.7 ข้อสรุปของนักวิจัยก็คือ บทความที่ระบุซ้ำ ๆ จะทำให้มันปรากฏว่าเป็นจริงยิ่งกว่า
ในปี 1989 นักวิจัยอีกกลุ่มหนึ่งได้ทำซ้ำผลงานดั้งเดิม โดยได้ผลคล้าย ๆ กันว่า การได้รับข้อมูลเท็จซ้ำ ๆ ทำให้รู้สึกว่าข้อมูลนั้นมีโอกาสเป็นจริงยิ่ง ๆ ขึ้น
ปรากฏการณ์นี้มีผลเพราะเมื่อมนุษย์ประเมินความจริง ก็จะอาศัยว่าข้อมูลใหม่นั้นเข้ากับความเข้าใจของตนหรือรู้สึกคลับคล้ายคลับคลาหรือไม่ วิธีแรกนั้นสมเหตุผล เพราะใช้วิธีเปรียบเทียบข้อมูลใหม่กับข้อมูลที่รู้อยู่แล้วว่าเป็นจริงและพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลทั้งสอง แต่นักวิจัยพบว่า ความคุ้นเคยอาจเอาชนะความสมเหตุผลได้ คือการได้ยินบ่อย ๆ ว่า ข้อความหนึ่งเป็นเท็จอาจก่อผลตรงกันข้าม เพราะทำให้เชื่อเรื่องเท็จว่าเป็นจริงเพราะได้ยินบ่อย ๆ
ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์อื่น ๆ
ความคล่องในการประมวลผล (processing fluency)
ในเบื้องต้น เชื่อกันว่าปรากฏการณ์นี้เกิดเมื่อบุคคลไม่แน่ใจในข้อความหนึ่ง ๆ ค่อนข้างมากเท่านั้น นักจิตวิทยาจึงได้สมมุติว่า ข้อความที่แปลก ๆ ก็จะไม่ก่อปรากฏการณ์นี้ แต่ผลงานวิจัยต่อ ๆ มากลับแสดงว่า ปรากฏการณ์นี้ก็ยังเกิดกับข่าวปลอมด้วย คืองานวิจัยปี 2015 ที่ตีพิมพ์ในวารสารจิตวิทยาเชิงการทดลอง (Journal of Experimental Psychology) ได้แสดงว่า ปรากฏการณ์นี้มีผลต่อผู้ร่วมการทดลองผู้รู้คำตอบอันถูกต้องตั้งแต่แรก แต่ต่อมากลับเปลี่ยนความเชื่อเพราะได้รับข้อมูลเท็จซ้ำ ๆ เช่น เมื่อผู้ร่วมการทดลองได้ข้อความนี้หลาย ๆ ครั้งคือ "ส่าหรีเป็นชื่อของกระโปรงสั้นมีจีบที่คนสก็อตใส่" บางคนก็จะกลับเชื่อว่านี้เป็นเรื่องจริงทั้ง ๆ ที่ได้ตอบคำถามอย่างถูกต้องตั้งแต่ต้นแล้วว่า "อะไรเป็นชื่อของกระโปรงสั้นมีจีบที่คนสก็อตใส่" (คิลต์)
หลังจากที่ทำซ้ำผลงานชิ้นนี้ได้แล้ว นักวิจัยอีกทีมหนึ่งได้ระบุว่า ปรากฏการณ์ที่น่าแปลกนี้มีเหตุจากความคล่องในการประมวลผล (processing fluency) ที่มนุษย์อาศัยเพื่อเข้าใจข้อความ การได้ (รับ/ได้ยิน) ข้อมูลซ้ำ ๆ ทำให้ข้อความประมวลได้ง่ายขึ้น (คือ fluent) เทียบกับข้อความใหม่ ๆ จึงทำให้สรุปได้อย่างผิด ๆ ว่า ข้อความเหล่านั้นเป็นจริงกว่า เมื่อบุคคลได้ยินอะไรเป็นครั้งที่สองหรือครั้งที่สาม สมองจะตอบสนองได้เร็วกว่าแล้วจึงยกว่า เพราะเป็นเรื่องที่ลื่นหูคล่องใจ นี่จึงเป็นสัญญาณว่าเป็นเรื่องจริง
Hindsight bias (ความเอนเอียงว่าเข้าใจปัญหาหลังเหตุการณ์)
ในงานศึกษาปี 1997 นักวิจัยสัมพันธ์ปรากฏการณ์นี้กับ hindsight bias (ความเอนเอียงว่าเข้าใจปัญหาหลังเหตุการณ์) ซึ่งเป็นความเอนเอียงที่คิดว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วนั้น ๆ สามารถพยากรณ์ได้เกินความเป็นจริง แล้วจึงจัดปรากฏการณ์นี้ว่าเป็นส่วนย่อยของ hindsight bias โดยเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า reiteration effect
งานศึกษาอื่น ๆ
ในงานศึกษาปี 1979 นักวิจัยบอกผู้ร่วมการทดลองว่า ข้อความที่ระบุซ้ำ ๆ ไม่ใช่ว่าจะจริงกว่าที่ไม่ซ้ำ แต่แม้จะได้คำเตือนแล้ว ผู้ร่วมการทดลองก็ยังรู้สึกว่า ข้อความที่ระบุซ้ำ ๆ จริงกว่าข้อความที่ไม่ซ้ำ
งานศึกษาปี 1981 และ 1983 แสดงว่า ข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์เร็ว ๆ นี้มักมองว่า ลื่นกว่าคุ้นเคยกว่าข้อมูลใหม่ ๆ ที่เพิ่งได้ งานศึกษาปี 2011 ต่อยอดงานสองอย่างนี้โดยแสดงว่า ทั่วไปแล้ว ข้อมูลที่ได้จากความจำ "คล่องกว่าและคุ้นเคยกว่าข้อมูลที่เรียนรู้ใหม่" ดังนั้น จึงลวงให้เข้าใจว่าเป็นจริง โดยมีผลเพิ่มขึ้นเมื่อนำข้อความมาซ้ำ 2 ครั้ง และยิ่งกว่าเมื่อซ้ำ 4 ครั้ง นักวิจัยจึงสรุปว่า การระลึกจากความทรงจำเป็นวิธีที่ได้ผลเพื่อเพิ่ม "ความถูกต้อง" ของข้อความ อนึ่ง ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องสอบเรื่องที่เป็นประเด็นว่าเป็นความจริงหรือไม่
งานศึกษาปี 1992 แสดงว่า ข้อความหนึ่งจะรู้สึกจริงถ้าเป็นข้อมูลที่คุ้นเคย งานศึกษาปี 2012 แสดงว่า ผู้ร่วมการทดลองบางท่านที่ได้รับข่าวปลอมจะมีความจำเท็จ ข้อสรุปก็คือ ข้ออ้างเท็จที่ซ้ำ ๆ จะน่าเชื่อถือยิ่งขึ้นและอาจก่อให้ผู้รับรู้ข้ออ้างเกิดความผิดพลาด
งานศึกษาปี 2014 ให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินความเป็นจริงของข้อความที่ระบุว่ามาจากบุคคลต่าง ๆ บุคคลเหล่านั้นบางคนมีชื่ออ่านออกเสียงง่ายกว่าคนอื่น ๆ แล้วพบว่า ผู้ร่วมการทดลองชี้อย่างสม่ำเสมอว่า ข้อความที่ระบุโดยบุคคลผู้มีชื่ออ่านออกเสียงได้ง่ายกว่าเป็นความจริงยิ่งกว่าข้อความของผู้มีชื่อออกเสียงได้ยากกว่า นักวิจัยจึงสรุปว่า แม้แต่สิ่งที่เกิดในใจ เป็นอัตวิสัย ไม่เกี่ยวข้องกัน ก็ยังมีผลเมื่อมนุษย์ประเมินข้อมูลที่ปรากฏมาจากใคร
ตัวอย่าง
แม้ปรากฏการณ์นี้จะได้ทดสอบทางวิทยาศาสตร์เมื่อไม่นานมานี้ แต่ก็เป็นที่รู้จักมานับเป็นพัน ๆ ปีแล้ว งานศึกษาหนึ่งให้ข้อสังเกตว่า รัฐบุรุษโรมันกาโต้ผู้เฒ่า (Cato the Elder) กล่าวลงท้ายคำปราศรัยของเขาบ่อย ๆ โดยสนับสนุนให้ทำลายนครคาร์เธจ (Ceterum censeo Carthaginem esse delendam) เพราะรู้ว่าการกล่าวซ้ำ ๆ มักทำให้คนอื่นตกลงร่วมใจด้วย จักรพรรดินโปเลียนตามรายงานยัง "ตรัสว่า มีสิ่งเดียวเท่านั้นที่สำคัญอย่างยิ่งในเรื่องวาทศิลป์ ซึ่งก็คือ การพูดซ้ำ ๆ" คือการกล่าวย้ำซ้ำ ๆ ทำให้สิ่งนั้นตั้งอยู่ในใจ "โดยทำให้ได้การยอมรับในที่สุดว่าเป็นความจริงที่แสดงแล้ว" คนอื่น ๆ ที่ได้ใช้เทคนิคนี้รวมทั้งประธานาธิบดีสหรัฐโรนัลด์ เรแกน, บิล คลินตัน, จอร์จ ดับเบิลยู. บุช, ดอนัลด์ ทรัมป์ และแม้แต่ตัวละครคือ มาร์กุส อันโตนิอุส ในละครเรื่อง จูเลียส ซีซาร์ ของวิลเลียม เชกสเปียร์โฆษณาระบุคุณสมบัติที่ไร้เหตุผลของผลิตภัณฑ์โดยทำอย่าง ๆ อาจทำให้ขายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นได้เพราะคนดูบางส่วนจะเริ่มคิดว่า ตนได้ยินคุณสมบัติเช่นนี้จากแหล่งข้อมูลอื่นที่เป็นกลาง ปรากฏการณ์นี้ยังพบในสื่อข่าวและเป็นเทคนิคหลักอย่างหนึ่งที่ใช้ในโฆษณาชวนเชื่อ
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "The Truth Effect and Other Processing Fluency Miracles". Science Blogs. Science Blogs. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-30.
- Hasher, Lynn; Goldstein, David; Toppino, Thomas (1977). (PDF). Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior. 16 (1): 107–112. doi:10.1016/S0022-5371(77)80012-1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-05-15.
- Newman, Eryn J.; Sanson, Mevagh; Miller, Emily K.; Quigley-Mcbride, Adele; Foster, Jeffrey L.; Bernstein, Daniel M.; Garry, Maryanne (2014-09-06). "People with Easier to Pronounce Names Promote Truthiness of Claims". PLOS ONE. 9 (2): e88671. Bibcode:2014PLoSO...988671N. doi:10.1371/journal.pone.0088671. PMC 3935838. PMID 24586368.
- Dreyfuss, Emily (2017-02-11). "Want to Make a Lie Seem True? Say It Again. And Again. And Again". Wired. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-06. สืบค้นเมื่อ 2017-10-31.
- Resnick, Brian (2017-06-17). "Alex Jones and the illusory truth effect, explained". Vox. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-05. สืบค้นเมื่อ 2017-10-31.
- Polage, Danielle (2012). . Europe's Journal of Psychology. 8 (2): 245–250. doi:10.5964/ejop.v8i2.456. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-31. สืบค้นเมื่อ 2022-07-27.
{{}}
: ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)) - Fazio, Lisa K.; Brashier, Nadia M.; Payne, B. Keith; Marsh, Elizabeth J. (2015). (PDF). Journal of Experimental Psychology: General. 144 (5): 993–1002. doi:10.1037/xge0000098. PMID 26301795. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-05-14.
- Nason, Brian (2015-12-08). . Vox Populi News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-14. สืบค้นเมื่อ 2016-12-29.
{{}}
: ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)) - Resnick, Brian (2017-10-05). "The science behind why fake news is so hard to wipe out". Vox. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-20. สืบค้นเมื่อ 2017-10-31.
- Hertwig, Ralph; Gigerenzer, Gerd; Hoffrage, Ulrich (1997). . Psychological Review. 104: 194–202. doi:10.1037/0033-295X.104.1.194. :11858/00-001M-0000-0025-A38B-2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-22. สืบค้นเมื่อ 2016-12-30.
{{}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)) - Ozubko, JD; Fugelsang, J (January 2011). "Remembering makes evidence compelling: retrieval from memory can give rise to the illusion of truth". Journal of Experimental Psychology: Learning, Memory, and Cognition. 37 (1): 270–6. doi:10.1037/a0021323. PMID 21058878. S2CID 22767092. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-08. สืบค้นเมื่อ 2019-11-24.
- "Lie by Lie: A Timeline of How We Got into Iraq". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-02. สืบค้นเมื่อ 2021-06-03.
- Paschal, Olivia (2018-08-03). "Trump's Tweets and the Creation of 'Illusory Truth'". The Atlantic. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-05. สืบค้นเมื่อ 2019-02-25.
- Rathje, Steve (2018-07-23). "When Correcting a Lie, Don't Repeat It. Do This Instead". Psychology Today. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-08. สืบค้นเมื่อ 2019-02-25.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Gigerenzer, Gerd (1984). "External Validity of Laboratory Experiments: The Frequency-Validity Relationship". The American Journal of Psychology. 97 (2): 185–195. doi:10.2307/1422594. JSTOR 1422594.
- Zacks, Rose T.; Hasher, Lynn (2002). "Frequency processing: A twenty-five year perspective". ใน Sedlmeier, Peter; Betsch, Tilmann (บ.ก.). Etc. Frequency Processing and Cognition. pp. 21–36. doi:10.1093/acprof:oso/9780198508632.003.0002. ISBN .
- "The Illusion of Truth - PsyBlog". PsyBlog (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2010-12-08. สืบค้นเมื่อ 2016-04-22.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha praktkarnkhwamcringlwng hrux praktkarnkarklawsa xngkvs Illusory truth effect validity effect truth effect reiteration effect epnkhwamonmexiyngthicaechuxkhxmulethcwaepncringemuxidrbxyangsa epnpraktkarnthirabukhrngaerkodyngansuksapi 1977 thimhawithyalysxngaehnginemuxngfilaedlefiy shrth khuxthwipaelw emuxpraeminkhwamepncring mnusycaduwamnekhakbkhwamekhaickhxngtnhruxrusukkhlbkhlaykhlbkhlahruxim withiaerknnsmehtusmphlephraaichwithiepriybethiybkhxmulihmkbkhxmulthiruxyuaelwwaepncring aetkaridyinkhxkhwamsa klbthaihkhlxngiclunhukwakhxkhwamthiyngimekhyidyin aelwthaiheraekhaicwasingthiklawsa nacaepncringkwa praktkarnniidrabuwasmphnthkb hindsight bias khuxkhwamexnexiynginkarehnwa singthiekidkhuninxditphyakrnidngayekinkhwamepncring inngansuksapi 2015 nkwicyphbwa khwamkhunekhysamarthexachnakhwamsmehtuphlid aelakaridyinbxy wa khxkhwamhnungepnethc xacmiphltrngkhamthaihphufngechuxeruxngethcwaepncringephraaidyinbxy aemphurwmkarthdlxngcarukhatxbthithuktxngtngaettn aetkyngepliynkhwamechuxtxmahlngcakidrbkhxmulethcsa nkwicyaesdngehtukhxngpraktkarnniwa epnephraakhxmulsamarthpramwlngaykwa processing fluency praktkarnnimiphlsakhyineruxngtang rwmthngkarhaesiyngeluxktng karokhsna suxkhaw suxsngkhm odyechphaakaridrbkhawethcbxy aelaokhsnachwnechuxngansuksadngediminpi 1977 ngansuksathimhawithyalysxngaehnginemuxngfilaedlefiy shrth khux Villanova University aela Temple University idraburaylaexiydaelabyytichuxkhxngpraktkarnniepnkhrngaerk ngansuksaihphurwmkarthdlxngtdsinkhxkhwamtang waepncringhruxethc khux inkarthdlxng 3 khrngaetlakhrng nkwicyidaesdngkhxkhwam 60 bthaeknksuksamhawithyalyklumediywkn khxkhwambangbthepncring bangbthepnethc khathamchudthisxngidsngihdu 2 xathity hlngcakchudaerk aelachudthisamxik 2 xathity txcaknn mikhxkhwam 20 bthediywknthixyuinchudkhathamthnghmd khxkhwamthiehluxmixyuaetinchudkhxngtn ethann mikarthamphurwmkarthdlxngwa mnicinkhwamcringethckhxngkhxkhwamaekhihn odykhxkhwamepneruxngthinksuksaimnacarueruxngxair yktwxyangkhathamechn thanthphxakas shrth aerksrangkhuninrthniwemksiok hrux basektbxlklayepnkilaoxlimpikkhrngaerkinpi 1925 odyihphurwmkarthdlxnglngkhaaennaesdngkhwamepncringrahwang 1 7 sahrbkhxkhwamaetlabth aemradbkhwammnicinkhwamcringkhxngbthkhwamthiimklawsacaxyuikl kn aetkhwammnicinbthkhwamthiklawsaklbephimkhuncakchudthi 1 ipyngchudthi 2 aelacakchudthi 2 ipyngchudthi 3 odykhaaennechliyephimcak 4 2 ipyng 4 6 ipthung 4 7 khxsrupkhxngnkwicykkhux bthkhwamthirabusa cathaihmnpraktwaepncringyingkwa inpi 1989 nkwicyxikklumhnungidthasaphlngandngedim odyidphlkhlay knwa karidrbkhxmulethcsa thaihrusukwakhxmulnnmioxkasepncringying khun praktkarnnimiphlephraaemuxmnusypraeminkhwamcring kcaxasywakhxmulihmnnekhakbkhwamekhaickhxngtnhruxrusukkhlbkhlaykhlbkhlahruxim withiaerknnsmehtuphl ephraaichwithiepriybethiybkhxmulihmkbkhxmulthiruxyuaelwwaepncringaelaphicarnakhwamnaechuxthuxkhxngaehlngkhxmulthngsxng aetnkwicyphbwa khwamkhunekhyxacexachnakhwamsmehtuphlid khuxkaridyinbxy wa khxkhwamhnungepnethcxackxphltrngknkham ephraathaihechuxeruxngethcwaepncringephraaidyinbxy khwamsmphnthkbpraktkarnxun khwamkhlxnginkarpramwlphl processing fluency inebuxngtn echuxknwapraktkarnniekidemuxbukhkhlimaenicinkhxkhwamhnung khxnkhangmakethann nkcitwithyacungidsmmutiwa khxkhwamthiaeplk kcaimkxpraktkarnni aetphlnganwicytx maklbaesdngwa praktkarnnikyngekidkbkhawplxmdwy khuxnganwicypi 2015 thitiphimphinwarsarcitwithyaechingkarthdlxng Journal of Experimental Psychology idaesdngwa praktkarnnimiphltxphurwmkarthdlxngphurukhatxbxnthuktxngtngaetaerk aettxmaklbepliynkhwamechuxephraaidrbkhxmulethcsa echn emuxphurwmkarthdlxngidkhxkhwamnihlay khrngkhux sahriepnchuxkhxngkraoprngsnmicibthikhnskxtis bangkhnkcaklbechuxwaniepneruxngcringthng thiidtxbkhathamxyangthuktxngtngaettnaelwwa xairepnchuxkhxngkraoprngsnmicibthikhnskxtis khilt hlngcakthithasaphlnganchinniidaelw nkwicyxikthimhnungidrabuwa praktkarnthinaaeplknimiehtucakkhwamkhlxnginkarpramwlphl processing fluency thimnusyxasyephuxekhaickhxkhwam karid rb idyin khxmulsa thaihkhxkhwampramwlidngaykhun khux fluent ethiybkbkhxkhwamihm cungthaihsrupidxyangphid wa khxkhwamehlannepncringkwa emuxbukhkhlidyinxairepnkhrngthisxnghruxkhrngthisam smxngcatxbsnxngiderwkwaaelwcungykwa ephraaepneruxngthilunhukhlxngic nicungepnsyyanwaepneruxngcring Hindsight bias khwamexnexiyngwaekhaicpyhahlngehtukarn inngansuksapi 1997 nkwicysmphnthpraktkarnnikb hindsight bias khwamexnexiyngwaekhaicpyhahlngehtukarn sungepnkhwamexnexiyngthikhidwa ehtukarnthiekidkhunaelwnn samarthphyakrnidekinkhwamepncring aelwcungcdpraktkarnniwaepnswnyxykhxng hindsight bias odyeriykpraktkarnniwa reiteration effectngansuksaxun inngansuksapi 1979 nkwicybxkphurwmkarthdlxngwa khxkhwamthirabusa imichwacacringkwathiimsa aetaemcaidkhaetuxnaelw phurwmkarthdlxngkyngrusukwa khxkhwamthirabusa cringkwakhxkhwamthiimsa ngansuksapi 1981 aela 1983 aesdngwa khxmulthiidcakprasbkarnerw nimkmxngwa lunkwakhunekhykwakhxmulihm thiephingid ngansuksapi 2011 txyxdngansxngxyangniodyaesdngwa thwipaelw khxmulthiidcakkhwamca khlxngkwaaelakhunekhykwakhxmulthieriynruihm dngnn cunglwngihekhaicwaepncring odymiphlephimkhunemuxnakhxkhwammasa 2 khrng aelayingkwaemuxsa 4 khrng nkwicycungsrupwa karralukcakkhwamthrngcaepnwithithiidphlephuxephim khwamthuktxng khxngkhxkhwam xnung praktkarnniekidkhunidodyimtxngsxberuxngthiepnpraednwaepnkhwamcringhruxim ngansuksapi 1992 aesdngwa khxkhwamhnungcarusukcringthaepnkhxmulthikhunekhy ngansuksapi 2012 aesdngwa phurwmkarthdlxngbangthanthiidrbkhawplxmcamikhwamcaethc khxsrupkkhux khxxangethcthisa canaechuxthuxyingkhunaelaxackxihphurbrukhxxangekidkhwamphidphlad ngansuksapi 2014 ihphurwmkarthdlxngtdsinkhwamepncringkhxngkhxkhwamthirabuwamacakbukhkhltang bukhkhlehlannbangkhnmichuxxanxxkesiyngngaykwakhnxun aelwphbwa phurwmkarthdlxngchixyangsmaesmxwa khxkhwamthirabuodybukhkhlphumichuxxanxxkesiyngidngaykwaepnkhwamcringyingkwakhxkhwamkhxngphumichuxxxkesiyngidyakkwa nkwicycungsrupwa aemaetsingthiekidinic epnxtwisy imekiywkhxngkn kyngmiphlemuxmnusypraeminkhxmulthipraktmacakikhrtwxyangaempraktkarnnicaidthdsxbthangwithyasastremuximnanmani aetkepnthiruckmanbepnphn piaelw ngansuksahnungihkhxsngektwa rthburusormnkaotphuetha Cato the Elder klawlngthaykhaprasrykhxngekhabxy odysnbsnunihthalaynkhrkharethc Ceterum censeo Carthaginem esse delendam ephraaruwakarklawsa mkthaihkhnxuntklngrwmicdwy ckrphrrdinopeliyntamraynganyng trswa misingediywethannthisakhyxyangyingineruxngwathsilp sungkkhux karphudsa khuxkarklawyasa thaihsingnntngxyuinic odythaihidkaryxmrbinthisudwaepnkhwamcringthiaesdngaelw khnxun thiidichethkhnikhnirwmthngprathanathibdishrthornld eraekn bil khlintn cxrc dbebilyu buch dxnld thrmp aelaaemaettwlakhrkhux markus xnotnixus inlakhreruxng cueliys sisar khxngwileliym echksepiyrokhsnarabukhunsmbtithiirehtuphlkhxngphlitphnthodythaxyang xacthaihkhayphlitphnthephimkhunidephraakhndubangswncaerimkhidwa tnidyinkhunsmbtiechnnicakaehlngkhxmulxunthiepnklang praktkarnniyngphbinsuxkhawaelaepnethkhnikhhlkxyanghnungthiichinokhsnachwnechuxduephimkhwamexnexiyngephuxyunyn khwamcaodypriyay aela khwamcaodypriyay raychuxkhwamexnexiyngthangprachanechingxrrthaelaxangxing The Truth Effect and Other Processing Fluency Miracles Science Blogs Science Blogs cakaehlngedimemux 2021 05 06 subkhnemux 2016 12 30 Hasher Lynn Goldstein David Toppino Thomas 1977 PDF Journal of Verbal Learning and Verbal Behavior 16 1 107 112 doi 10 1016 S0022 5371 77 80012 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 05 15 Newman Eryn J Sanson Mevagh Miller Emily K Quigley Mcbride Adele Foster Jeffrey L Bernstein Daniel M Garry Maryanne 2014 09 06 People with Easier to Pronounce Names Promote Truthiness of Claims PLOS ONE 9 2 e88671 Bibcode 2014PLoSO 988671N doi 10 1371 journal pone 0088671 PMC 3935838 PMID 24586368 Dreyfuss Emily 2017 02 11 Want to Make a Lie Seem True Say It Again And Again And Again Wired cakaehlngedimemux 2021 05 06 subkhnemux 2017 10 31 Resnick Brian 2017 06 17 Alex Jones and the illusory truth effect explained Vox cakaehlngedimemux 2021 05 05 subkhnemux 2017 10 31 Polage Danielle 2012 Europe s Journal of Psychology 8 2 245 250 doi 10 5964 ejop v8i2 456 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 12 31 subkhnemux 2022 07 27 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help Fazio Lisa K Brashier Nadia M Payne B Keith Marsh Elizabeth J 2015 PDF Journal of Experimental Psychology General 144 5 993 1002 doi 10 1037 xge0000098 PMID 26301795 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 05 14 Nason Brian 2015 12 08 Vox Populi News khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 12 14 subkhnemux 2016 12 29 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite news title aemaebb Cite news cite news a rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help Resnick Brian 2017 10 05 The science behind why fake news is so hard to wipe out Vox cakaehlngedimemux 2021 04 20 subkhnemux 2017 10 31 Hertwig Ralph Gigerenzer Gerd Hoffrage Ulrich 1997 Psychological Review 104 194 202 doi 10 1037 0033 295X 104 1 194 11858 00 001M 0000 0025 A38B 2 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 08 22 subkhnemux 2016 12 30 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a rabu accessdate aela access date makkwahnungraykar help rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help Ozubko JD Fugelsang J January 2011 Remembering makes evidence compelling retrieval from memory can give rise to the illusion of truth Journal of Experimental Psychology Learning Memory and Cognition 37 1 270 6 doi 10 1037 a0021323 PMID 21058878 S2CID 22767092 cakaehlngedimemux 2021 06 08 subkhnemux 2019 11 24 Lie by Lie A Timeline of How We Got into Iraq cakaehlngedimemux 2021 06 02 subkhnemux 2021 06 03 Paschal Olivia 2018 08 03 Trump s Tweets and the Creation of Illusory Truth The Atlantic cakaehlngedimemux 2021 05 05 subkhnemux 2019 02 25 Rathje Steve 2018 07 23 When Correcting a Lie Don t Repeat It Do This Instead Psychology Today cakaehlngedimemux 2021 06 08 subkhnemux 2019 02 25 aehlngkhxmulxunGigerenzer Gerd 1984 External Validity of Laboratory Experiments The Frequency Validity Relationship The American Journal of Psychology 97 2 185 195 doi 10 2307 1422594 JSTOR 1422594 Zacks Rose T Hasher Lynn 2002 Frequency processing A twenty five year perspective in Sedlmeier Peter Betsch Tilmann b k Etc Frequency Processing and Cognition pp 21 36 doi 10 1093 acprof oso 9780198508632 003 0002 ISBN 9780198508632 The Illusion of Truth PsyBlog PsyBlog phasaxngkvsaebbxemrikn 2010 12 08 subkhnemux 2016 04 22