บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ภาวะระบายลมหายใจเกิน (อังกฤษ: hyperventilation หรือ overbreathing) หมายถึงสภาวะที่มีการหายใจเร็วหรือลึกเกินความจำเป็น ก่อให้เกิดอาการหน้ามืดหรืออาการอื่นๆ มักมีสาเหตุมาจากความกังวล อาการหายใจเร็วกว่าปกติอาจเป็นการตอบสนองต่อภาวะเลือดเป็นกรดเมตะบอลิก (metabolic acidosis) ซึ่งเป็นสภาวะที่ส่งผลต่อค่า pH ในเลือดต่ำลง
Hyperventilation | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | R06.4 |
ICD- | 786.01 |
ผลข้างเคียงนี้มิได้เกิดขึ้นจากการขาดออกซิเจนหรืออากาศของผู้ป่วยตามที่มักเข้าใจกัน หากแต่ว่าอาการหายใจเร็วกว่าปกตินี่เองทำให้ระดับความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือดต่ำลงกว่าระดับปกติ อันเป็นผลให้ค่า pH ในกระแสเลือดสูงขึ้น (ทำให้เลือดมีสภาวะเป็นเบสมากขึ้น) ทำให้เส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงสมองหดตัว ขัดขวางการส่งถ่ายออกซิเจนและโมเลกุลอื่นที่จำเป็นต่อการทำงานของระบบประสาท
อาการหายใจเร็วกว่าปกติอาจทำให้เกิดอาการชาหรือรู้สึกยิบๆ ที่มือ ขาหรือริมฝีปาก อาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ แน่นหน้าอก พูดจาติดขัด ตื่นกลัว มึนงง หรือหมดสติ แต่ก็ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นเสมอไป
สาเหตุ
ความเครียดและความวิตกกังวลมักจะก่อให้เกิดอาการหายใจเร็วกว่าปกติ ซึ่งรู้จักในนาม กลุ่มอาการหายใจเร็วกว่าปกติ (hyperventilation syndrome) อาการหายใจเร็วกว่าปกตินี้อาจจะเกิดขึ้นได้ด้วยความตั้งใจจากการหายใจเข้าไปมากๆ หรืออาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากอาการเจ็บป่วยทางปอดบางชนิด การบาดเจ็บที่ศีรษะ หรือโรคหลอดเลือดสมอง และประการสุดท้ายเมื่อร่างกายมีภาวะเลือดเป็นกรดเมตะบอลิก (metabolic acidosis) ร่างกายใช้การหายใจเกินนี้เป็นกลไกที่ชดเชยเพื่อลดระดับความเป็นกรดในสมอง ซึ่งหากเกิดในภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) ผู้ป่วยจะหายใจลักษณะยาวและลึกซึ่งเรียกเฉพาะว่า (Kussmaul breathing)
อาการหายใจเร็วกว่าปกติอาจจะเกิดขึ้นได้จากการออกกำลังกายเกินค่าการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO2 max) เมื่อร่างกายไม่สามารถแปลงออกซิเจนไปเป็นพลังงานได้มากกว่าระดับ ๆ หนึ่งจนต้องใช้การหายใจเกินเข้ามาช่วย
อาการหายใจเร็วกว่าปกตินี้ต่างไปจาก
กลไก
ในการหายใจตามปกติ ความลึกและความถี่ในการหายใจขึ้นอยู่กับระบบประสาทโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาระดับคาร์บอนไดออกไซด์ให้อยู่ในระดับปกติและเพื่อการขนส่งออกซิเจนเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกายอย่างเหมาะสม กลไกปกตินี้เกิดจากการวัดระดับความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือด โดยปกติระดับความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ที่สูงจะบอกถึงระดับออกซิเจนที่ต่ำเพราะมนุษย์หายใจเอาออกซิเจนเข้าและหายใจออกเพื่อคายคาร์บอนไดออกไซด์ในเวลาเดียวกัน และร่างกายใช้ออกซิเจนเพื่อการเผาผลาญโมเลกุล เกิดเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เป็นผลพลอยได้ออกมา
ถ้าคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดเข้มข้นมาก ร่างกายจะเข้าใจว่าระดับออกซิเจนในร่างกายต่ำ และส่งผลให้หลอดเลือดในสมองขยายตัวเพื่อให้เลือดและออกซิเจนถูกลำเลียงมาเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอ ในทางกลับกัน หากระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำ (เช่นจากการหายใจเร็วกว่าปกติ) หลอดเลือดในสมองจะหดตัวเพื่อลดระดับการขนส่งโลหิตและออกซิเจนเข้าสู่สมอง จึงให้เกิดอาการวิงเวียนได้
แก๊สในของปอดนั้นเกือบจะสมดุลกับแก๊สในกระแสเลือด ในการหายใจแต่ละครั้งโดยปกติแก๊สในถุงลมปริมาณน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาตรถุงลมเท่านั้นที่จะถูกแลกเปลี่ยน[] การหายใจที่ลึกหรือถี่กว่าปกติ ดังปรากฏในภาวะหายใจเร็วกว่าปกตินี้ จะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สในถุงลมกับอากาศภายนอกมากขึ้น และทำให้เกิดการขับคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิออกจากร่างกายมากขึ้นเนื่องจากระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศปกตินั้นค่อนข้างต่ำอยู่แล้ว
ผลจากระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำทำให้เกิดภาวะที่เรียกว่า (hypocapnia) เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือดนั้นถูกขนถ่ายในรูปของกรดคาร์บอนิก ซึ่งภาวะเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์น้อยดังกล่าวทำให้เลือดกลายเป็นเบส (alkaline) กล่าวคือค่า pH ในกระแสเลือดสูงขึ้น เรียกภาวะนี้ว่า (respiratory alkalosis)
ภาวะที่เลือดกลายเป็นด่างทำให้ (vasoconstriction) ซึ่งตามทฤษฎีแล้วจะทำให้ใยกล้ามเนื้อมีความไวต่อแคลเซียมเพิ่มขึ้นในภาวะที่มี pH สูง
การที่ค่า pH ในกระแสเลือดสูงจากการหายใจเร็วกว่าปกติทำให้โปรตีนในน้ำเลือดมีความเป็นเบสมากขึ้นจึงจับกับแคลเซียมได้แน่นมากขึ้น แล้วปล่อยไอออนแคลเซียมอิสระออกมาลดลง จึงทำให้ (hypocalcemia) ซึ่งส่งผลต่อเส้นประสาทและกล้ามเนื้อทำให้มีการหดตัวของหลอดเลือดและก่อให้เกิดอาการชาที่ผิวหนังตามมา
โดยสรุปจึงมีสองกลไกหลักที่ก่อให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดเลี้ยงสมองและทำให้เกิดอาการวิงเวียน ชา และเป็นลมที่มักพบในหายใจเร็วกว่าปกติ กลไกแรกคือจากการลดลงของคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือด (hypocapnia) ทำให้ค่า pH ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น (ภาวะเลือดเป็นด่างจากการหายใจ) และทำให้หลอดเลือดหดตัว อีกกลไกคือการเป็นเบสของเลือด (alkalosis) ส่งผลให้ไอออนแคลเซียมอิสระในกระแสเลือดลดลง และทำให้เกิดความไม่เสถียรของเยื่อหุ้มเซลล์ และมีการหดตัวของหลอดเลือดและอาการชาตามมา
ถึงแม้ว่านี่จะดูเหนือสามัญสำนึกแต่การหายใจมากเกินไปส่งผลให้เกิดการลดลงของระดับออกซิเจนที่ไปเลี้ยงศีรษะ ซึ่งบางครั้งแพทย์ใช้ประโยชน์โดยการชักนำให้ผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะหายใจเร็วกว่าปกติเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ แต่การรักษาวิธีนี้ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่มาก
การรักษา
สิ่งแรกที่ควรทำคือการแก้ต้นเหตุของอาการหายใจเร็วกว่าปกติ ผู้ป่วยควรจะได้รับการกระตุ้นให้ควบคุมการหายใจของตัวเอง ถ้าการควบคุมการหายใจทำไม่สำเร็จ อาจจะต้องให้ออกซิเจนเพื่อป้องกัน เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน สำหรับการรักษาด้วยให้อ่านเพิ่มเติมในหัวข้อการรักษาในบทความกลุ่มอาการหายใจเร็วกว่าปกติ การให้ยาอาจจะจำเป็นในบางครั้ง อาจพิจารณาให้ยาทางหลอดเลือดเพื่อลดความวิตกของผู้ป่วยหรือลดอัตราการหายใจ ยา (Diazepam) หรือ (Midazolam) อาจจะถูกใช้ชั่วคราว
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
- Kenneth Baillie and Alistair Simpson. . Apex (Altitude Physiology EXpeditions). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-31. สืบค้นเมื่อ 2006-08-10. - Online interactive oxygen delivery calculator that mimics hyperventilation
- Stocchetti N, Maas AI, Chieregato A, van der Plas AA (2005). "Hyperventilation in head injury: a review". Chest. 127 (5): 1812–27. doi:10.1378/chest.127.5.1812. PMID 15888864.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul hayicekin khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phawarabaylmhayicekin xngkvs hyperventilation hrux overbreathing hmaythungsphawathimikarhayicerwhruxlukekinkhwamcaepn kxihekidxakarhnamudhruxxakarxun mkmisaehtumacakkhwamkngwl xakarhayicerwkwapktixacepnkartxbsnxngtxphawaeluxdepnkrdemtabxlik metabolic acidosis sungepnsphawathisngphltxkha pH ineluxdtalngHyperventilationbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10R06 4ICD 786 01 phlkhangekhiyngnimiidekidkhuncakkarkhadxxksiecnhruxxakaskhxngphupwytamthimkekhaickn hakaetwaxakarhayicerwkwapktiniexngthaihradbkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdinkraaeseluxdtalngkwaradbpkti xnepnphlihkha pH inkraaeseluxdsungkhun thaiheluxdmisphawaepnebsmakkhun thaihesneluxdthihlxeliyngsmxnghdtw khdkhwangkarsngthayxxksiecnaelaomelkulxunthicaepntxkarthangankhxngrabbprasath xakarhayicerwkwapktixacthaihekidxakarchahruxrusukyib thimux khahruxrimfipak xakarhnamud wingewiynsirsa pwdsirsa aennhnaxk phudcatidkhd tunklw munngng hruxhmdsti aetkimcaepntxngekidkhunesmxipsaehtukhwamekhriydaelakhwamwitkkngwlmkcakxihekidxakarhayicerwkwapkti sungruckinnam klumxakarhayicerwkwapkti hyperventilation syndrome xakarhayicerwkwapktinixaccaekidkhuniddwykhwamtngiccakkarhayicekhaipmak hruxxaccaekidkhunenuxngcakxakarecbpwythangpxdbangchnid karbadecbthisirsa hruxorkhhlxdeluxdsmxng aelaprakarsudthayemuxrangkaymiphawaeluxdepnkrdemtabxlik metabolic acidosis rangkayichkarhayicekinniepnklikthichdechyephuxldradbkhwamepnkrdinsmxng sunghakekidinphawaeluxdepnkrdcakkhiotncakebahwan diabetic ketoacidosis phupwycahayiclksnayawaelaluksungeriykechphaawa Kussmaul breathing xakarhayicerwkwapktixaccaekidkhunidcakkarxxkkalngkayekinkhakarichxxksiecnsungsud VO2 max emuxrangkayimsamarthaeplngxxksiecnipepnphlngnganidmakkwaradb hnungcntxngichkarhayicekinekhamachwy xakarhayicerwkwapktinitangipcakklikinkarhayictampkti khwamlukaelakhwamthiinkarhayickhunxyukbrabbprasathodymiwtthuprasngkhephuxrksaradbkharbxnidxxkisdihxyuinradbpktiaelaephuxkarkhnsngxxksiecnekhasuenuxeyuxkhxngrangkayxyangehmaasm klikpktiniekidcakkarwdradbkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdinkraaeseluxd odypktiradbkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdthisungcabxkthungradbxxksiecnthitaephraamnusyhayicexaxxksiecnekhaaelahayicxxkephuxkhaykharbxnidxxkisdinewlaediywkn aelarangkayichxxksiecnephuxkarephaphlayomelkul ekidepnkharbxnidxxkisdepnphlphlxyidxxkma thakharbxnidxxkisdineluxdekhmkhnmak rangkaycaekhaicwaradbxxksiecninrangkayta aelasngphlihhlxdeluxdinsmxngkhyaytwephuxiheluxdaelaxxksiecnthuklaeliyngmaeliyngsmxngxyangephiyngphx inthangklbkn hakradbkharbxnidxxkisdineluxdta echncakkarhayicerwkwapkti hlxdeluxdinsmxngcahdtwephuxldradbkarkhnsngolhitaelaxxksiecnekhasusmxng cungihekidxakarwingewiynid aeksinkhxngpxdnnekuxbcasmdulkbaeksinkraaeseluxd inkarhayicaetlakhrngodypktiaeksinthunglmprimannxykwarxyla 10 khxngprimatrthunglmethannthicathukaelkepliyn txngkarxangxing karhayicthilukhruxthikwapkti dngpraktinphawahayicerwkwapktini cathaihekidkaraelkepliynaeksinthunglmkbxakasphaynxkmakkhun aelathaihekidkarkhbkharbxnidxxkisdsuththixxkcakrangkaymakkhunenuxngcakradbkharbxnidxxkisdinxakaspktinnkhxnkhangtaxyuaelw phlcakradbkharbxnidxxkisdineluxdtathaihekidphawathieriykwa hypocapnia enuxngcakkharbxnidxxkisdinkraaeseluxdnnthukkhnthayinrupkhxngkrdkharbxnik sungphawaeluxdmikharbxnidxxkisdnxydngklawthaiheluxdklayepnebs alkaline klawkhuxkha pH inkraaeseluxdsungkhun eriykphawaniwa respiratory alkalosis phawathieluxdklayepndangthaih vasoconstriction sungtamthvsdiaelwcathaihiyklamenuxmikhwamiwtxaekhlesiymephimkhuninphawathimi pH sung karthikha pH inkraaeseluxdsungcakkarhayicerwkwapktithaihoprtininnaeluxdmikhwamepnebsmakkhuncungcbkbaekhlesiymidaennmakkhun aelwplxyixxxnaekhlesiymxisraxxkmaldlng cungthaih hypocalcemia sungsngphltxesnprasathaelaklamenuxthaihmikarhdtwkhxnghlxdeluxdaelakxihekidxakarchathiphiwhnngtamma odysrupcungmisxngklikhlkthikxihekidkarhdtwkhxnghlxdeluxdeliyngsmxngaelathaihekidxakarwingewiyn cha aelaepnlmthimkphbinhayicerwkwapkti klikaerkkhuxcakkarldlngkhxngkharbxnidxxkisdinkraaeseluxd hypocapnia thaihkha pH inkraaeseluxdephimkhun phawaeluxdepndangcakkarhayic aelathaihhlxdeluxdhdtw xikklikkhuxkarepnebskhxngeluxd alkalosis sngphlihixxxnaekhlesiymxisrainkraaeseluxdldlng aelathaihekidkhwamimesthiyrkhxngeyuxhumesll aelamikarhdtwkhxnghlxdeluxdaelaxakarchatamma thungaemwanicaduehnuxsamysanukaetkarhayicmakekinipsngphlihekidkarldlngkhxngradbxxksiecnthiipeliyngsirsa sungbangkhrngaephthyichpraoychnodykarchknaihphupwythimikarbadecbthisirsahayicerwkwapktiephuxldkhwamdninkaohlksirsa aetkarrksawithinikyngmikhwamesiyngxyumakkarrksasingaerkthikhwrthakhuxkaraektnehtukhxngxakarhayicerwkwapkti phupwykhwrcaidrbkarkratunihkhwbkhumkarhayickhxngtwexng thakarkhwbkhumkarhayicthaimsaerc xaccatxngihxxksiecnephuxpxngkn enuxeyuxkhadxxksiecn sahrbkarrksadwyihxanephimetiminhwkhxkarrksainbthkhwamklumxakarhayicerwkwapkti karihyaxaccacaepninbangkhrng xacphicarnaihyathanghlxdeluxdephuxldkhwamwitkkhxngphupwyhruxldxtrakarhayic ya Diazepam hrux Midazolam xaccathukichchwkhrawxangxingsphthbyytirachbnthitysthan Kenneth Baillie and Alistair Simpson Apex Altitude Physiology EXpeditions khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 31 subkhnemux 2006 08 10 Online interactive oxygen delivery calculator that mimics hyperventilation Stocchetti N Maas AI Chieregato A van der Plas AA 2005 Hyperventilation in head injury a review Chest 127 5 1812 27 doi 10 1378 chest 127 5 1812 PMID 15888864 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk