คนเก็บของป่าล่าสัตว์ (อังกฤษ: hunter-gatherer, forager) หมายถึงมนุษย์ในสังคมที่ได้อาหารส่วนมากหรือทั้งหมด จากการเก็บพืชในป่าหรือล่าสัตว์ป่า เปรียบเทียบกับสังคมเกษตร ที่โดยหลักพึ่งพืชสัตว์พันธุ์ที่ปรับนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร การหากินวิธีนี้เป็นการปรับตัวแบบแรกและที่ยืนยงที่สุดของคน โดยเป็นวิธีหากินในร้อยละ 90 ของประวัติศาสตร์มนุษย์ แต่ว่าหลังจากการเกิดขึ้นของสังคมเกษตรกรรมโดยมากในโลก สังคมเกษตรและสังคมเลี้ยงสัตว์ก็ได้แทนที่หรือพิชิตสังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์ โดยมีกลุ่มที่จัดเป็นคนเก็บของป่าล่าสัตว์เหลือเพียงไม่กี่สังคมในปัจจุบัน และหลายกลุ่มจริง ๆ ก็มีการปลูกพืชสวนและเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปด้วย
หลักฐานทางโบราณคดี
ในคริสต์ทศวรรษ 1950 มีนักโบราณคดีทรงอิทธิพลชาวอเมริกันท่านหนึ่งที่เสนอว่า มนุษย์ในยุคต้น ๆ ความจริงบริโภคซากสัตว์เป็นอาหาร ไม่ใช่ได้เนื้อโดยการล่า คือมนุษย์ในต้นยุคหินเก่าได้อาศัยอยู่ในป่าโปร่ง จึงสามารถเก็บอาหารทะเล ไข่ ถั่ว และผลไม้ บวกกับการบริโภคซากสัตว์ได้ ตามทฤษฎีนี้ แทนที่จะฆ่าสัตว์ใหญ่ มนุษย์ได้เนื้อจากสัตว์ที่ถูกฆ่าโดยสัตว์ล่าเหยื่ออื่นหรือที่ตายด้วยเหตุธรรมชาติ และข้อมูลทางโบราณคดีและพันธุกรรมก็แสดงนัยว่า กลุ่มบรรพบุรุษมนุษย์ปัจจุบันที่เป็นคนเก็บของป่าล่าสัตว์ในยุคหินเก่ามีชีวิตอยู่ในป่าโปร่ง และแพร่กระจายไปในเขตที่อุดมสมบูรณ์อื่น ๆ โดยหลีกเลี่ยงป่าทึบ
ตามสมมติฐานวิ่งทน (endurance running hypothesis) การวิ่งระยะไกล ๆ เพื่อตามล่าสัตว์ ซึ่งยังเป็นวิธีที่คนเก็บของป่าล่าสัตว์ในปัจจุบันยังใช้อยู่ น่าจะเป็นตัวขับเคลื่อนวิวัฒนาการของลักษณะมนุษย์บางอย่าง ซึ่งเป็นสมมติฐานที่ไม่ได้ขัดแย้งกับสมมติฐานบริโภคซากสัตว์ กลยุทธ์การดำรงชีวิตทั้งสองอาจจะได้ใช้ ไม่ว่าจะสืบต่อกัน สลับกัน หรือแม้แต่พร้อม ๆ กัน การเก็บของป่าล่าสัตว์เชื่อว่าเป็นกลยุทธ์พอดำรงชีวิตที่ใช้ในสังคมมนุษย์เริ่มตั้งแต่ 1.8 ล้านปีก่อน โดยมนุษย์พันธุ์ Homo erectus และเริ่มตั้งแต่ 200,000 ปีก่อนโดยมนุษย์พันธุ์ปัจจุบันคือ Homo sapiens เป็นวิธีการพอดำรงชีวิตอย่างเดียวจนกระทั่งที่สุดของยุคหินกลางประมาณ 10,000 ปีก่อน ซึ่งหลังจากนี้สังคมเกษตรกรรมจึงค่อย ๆ แพร่กระจายออกไปทั่วโลก คือ เริ่มตั้งแต่ระหว่างยุคหินเก่าตอนกลางและตอนปลายประมาณ 70,000–80,000 ปีก่อน สังคมกลุ่มต่าง ๆ ก็เริ่มจะมีความชำนาญพิเศษในการล่าสัตว์ที่ใหญ่กว่าแต่เป็นจำนวนพันธุ์ที่น้อยกว่า และเก็บพืชผลเป็นจำนวนพันธุ์ที่น้อยกว่าด้วย ซึ่งมีผลให้สร้างอุปกรณ์เฉพาะงาน เช่น อวนปลา เบ็ดปลา ฉมวกที่ทำด้วยกระดูก ส่วนการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ยุคหินใหม่ต่อมา เป็นการพัฒนาเทคนิคทางเกษตรกรรมเบื้องต้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน สังคมเกษตรกรรมจึงเกิดขึ้นและกระจายไปจากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ รวมทั้งในตะวันออกกลาง เอเชีย เมโสอเมริกา และเทือกเขาแอนดีส ซึ่งอาจเริ่มตั้งแต่ 12,000 ปีก่อน
นอกจากนั้นแล้ว การทำสวนป่า (forest gardening) ก็เป็นระบบผลิตอาหารที่ใช้ในที่ต่าง ๆ ของโลกยุคนี้ด้วย โดยมีกำเนิดก่อนประวัติศาสตร์ตามริมฝั่งแม่น้ำที่มีป่าไม้ปกคลุม และตามเนินตีนเขาในเขตมรสุม[] คือ เมื่อชนหมู่ต่าง ๆ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวอย่างต่อเนื่อง ก็มีการระบุ การป้องกัน และการปรับปรุงทั้งไม้และไม้เถา และการกำจัดพืชที่ไม่ต้องการ จนกระทั่งในที่สุด ก็จะรวมเอาพืชนอกพื้นที่ที่ดีกว่าเข้าไปในสวนด้วย
แม้ว่ากลุ่มชนมากมายจะธำรงการดำรงชีวิตแบบคนเก็บของป่าล่าสัตว์ แต่จำนวนก็ได้ลดลงมาเรื่อย ๆ โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากการขยายตัวของชุมชนเกษตรและเลี้ยงสัตว์ กลุ่มเหล่านี้โดยมากอาศัยอยู่ในเขตประเทศกำลังพัฒนา โดยถ้าไม่อยู่ในเขตแห้งแล้งก็อยู่ในป่าเขตร้อน แต่ว่า การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเกษตรก็ได้ลุกล้ำที่อยู่อาศัยของชนเหล่านี้เข้าไปเรื่อย ๆ โดยเป็นผลจากการแข่งขันเพื่อใช้พื้นที่เช่นนี้ สังคมเก็บของป่าล่าสัตว์จึงต้องยอมรับเกษตรกรรมหรือต้องย้ายไปอยู่ที่อื่น นอกจากนั้นแล้ว ศ. จาเร็ด ไดมอนด์ยังโทษการมีน้อยลงของอาหารป่า โดยเฉพาะสัตว์ป่า ยกตัวอย่างเช่น ในทวีปอเมริกา สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่โดยมากได้สูญพันธ์ไปแล้วโดยที่สุดของสมัยไพลสโตซีน เพราะการล่าสัตว์มากเกินของมนุษย์ แม้ว่าสมมติฐานเกี่ยวกับการล่าสัตว์มากเกินไปของเขา จะเป็นเรื่องที่นักวิชาการบางท่านไม่เห็นด้วย[]
เมื่อสังคมเกษตรทั้งขยายจำนวนและขยายขนาด ก็จะลุกล้ำเข้าไปในพื้นที่ที่กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์เคยใช้สอย และกระบวนการขยายขนาดที่ขับเคลื่อนโดยเกษตรกรรม ก็นำไปสู่การพัฒนาระบบการปกครองในศูนย์กลางการเกษตร เช่น เขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์, อินเดียโบราณ, จีนโบราณ, อารยธรรมโอลเม็กในเม็กซิโก, แอฟริกาใต้สะฮารา, และอารยธรรมนอร์เตชิโกในเปรู ผลก็คือ มนุษย์เกือบทั้งหมดปัจจุบันต้องพึ่งการเกษตร โดยมีวัฒนธรรมคนเก็บของป่าล่าสัตว์เหลือไม่กี่ชุมชนที่ปกติจะอาศัยอยู่ในเขตที่ไม่เหมาะจะทำเกษตร
นักโบราณคดีได้ใช้หลักฐานเช่นเครื่องมือหินในการติดตามชีวิตของมนุษย์คนเก็บของป่าล่าสัตว์ รวมทั้งการอพยพไปในที่ต่าง ๆ
ลักษณะทั่วไป
ที่อยู่และประชากร
คนเก็บของป่าล่าสัตว์โดยมากเป็นชนร่อนเร่หรือกึ่งร่อนเร่ และจะอยู่ในที่อยู่ชั่วคราว ชุมชนที่ย้ายไปเรื่อย ๆ มักจะสร้างที่อยู่โดยใช้วัสดุที่ไม่ถาวร หรืออาจจะใช้ที่กำบังตามธรรมชาติที่มีอยู่ แต่ก็มีวัฒนธรรมคนเก็บของป่าล่าสัตว์บางแห่ง เช่นที่พบในคนพื้นเมืองเดิมของชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐ (Pacific Northwest) ที่อยู่ในเขตอุดมสมบูรณ์จนกระทั่งว่าสามารถอยู่กับที่หรือกึ่งอยู่กับที่ได้
โครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจ
คนเก็บของป่าล่าสัตว์มักจะมีสังคมที่สมาชิกมีฐานะเท่าเทียมกัน แม้ว่า กลุ่มที่อยู่เป็นที่ (เช่นที่ชายฝั่งแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐ) จะเป็นข้อยกเว้น กลุ่มในแอฟริกาเกือบทั้งหมดมีฐานะเท่าเทียมกัน แม้แต่หญิงก็ยังมีอิทธิพลและมีอำนาจพอ ๆ กับชาย
แม้ว่าความเท่าเทียมกันที่พบในกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์จะไม่สมบูรณ์ แต่ก็เป็นสิ่งที่น่าแปลกใจจากมุมมองทางวิวัฒนาการ สัตว์ที่เป็นญาติใกล้ชิดที่สุดของมนุษย์ในกลุ่มลิงใหญ่ คือลิงชิมแปนซี เป็นสังคมที่ไม่เท่าเทียมกัน โดยแบ่งสังคมเป็นชั้น ๆ ที่มีลิงตัวผู้เป็นหัวหน้า (คือลิงอัลฟา) ซึ่งต่างจากกลุ่มมนุษย์คนเก็บของป่าล่าสัตว์มากจนกระทั่งมีนักบรรพมานุษยวิทยาที่อ้างว่า การไม่ยอมใครเป็นปัจจัยสำคัญที่ขับเคลื่อนวิวัฒนาการทาง ภาษา ระบบญาติพี่น้อง และการจัดกลุ่มทางสังคม ในหมู่มนุษย์- นักมานุษยวิทยาดำรงว่า คนเก็บของป่าล่าสัตว์จะไม่มีผู้นำถาวร แต่ใครเป็นผู้นำจะขึ้นอยู่กับสิ่งที่กำลังจะทำ นอกจากจะมีความเท่าเทียมกันทางสังคมและเศรษฐกิจแล้ว บ่อยครั้งก็ยังมีความเท่าเทียมกันทางเพศด้วย แม้ว่าจะไม่เสมอไป
คนเก็บของป่าล่าสัตว์บ่อยครั้งรวมกลุ่มโดยความเป็นญาติ (เป็นแบบ kinship หรือ band) ชายมักจะอยู่กับครอบครัวของฝ่ายหญิงหลังจากการแต่งงาน อย่างน้อยก็ในเบื้องต้น แม่อายุน้อยจะได้แม่ของตนเป็นผู้ช่วยเลี้ยงลูก โดยจะอยู่ใกล้ ๆ กัน ระบบญาติและการสืบตระกูลในกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์มีความแตกต่างกัน แม้ว่าจะมีหลักฐานว่า มนุษย์ยุคต้น ๆ มักจะสืบตระกูลทางสายมารดา
โครงสร้างทางสังคมและการแบ่งงานทางเพศของคนเก็บของป่าล่าสัตว์ไม่เหมือนกับสังคมเกษตร ในสังคมนี้ หญิงเป็นผู้เก็บพืชผล และชายมุ่งล่าสัตว์ใหญ่โดยมาก แต่นี่ไม่ปรากฏว่าเป็นการกดขี่ผู้หญิง โดยให้อำนาจเพียงแค่เป็นแม่บ้าน คือ ตามผู้ที่ได้สังเกตปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศในสังคมเช่นนี้ หญิงจะไม่เข้าใจแนวคิดว่าตนถูกกดขี่เพราะทำงานไม่เหมือนชาย เพราะว่า การเลี้ยงดูเด็กเป็นงานส่วนรวม ที่ทารกทุกคนจะมีแม่และชายที่ช่วยดูแลหลายคน ดังนั้น หน้าที่ในบ้านจึงไม่ได้ทำอย่างจำกัด[] ในสังคมเช่นนี้ทุกแห่ง หญิงล้วนแต่ยินดีที่จะได้เนื้อที่ชายหามาให้ ดังที่กล่าวไว้อย่างละเอียดในหนังสือเกี่ยวกับคนเผ่า Ju|'hoan ในแอฟริกาใต้
นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีเมื่อราว ค.ศ. 2006 แสดงนัยว่า การแบ่งงานทางเพศเช่นนี้เป็นนวัตกรรมการจัดระเบียบสังคมขั้นพื้นฐานที่ทำให้มนุษย์พันธุ์ Homo sapiens ได้เปรียบมนุษย์พันธุ์ Neanderthal ทำให้บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบันสามารถอพยพไปจากแอฟริกาแล้วกระจายไปทั่วโลก จนกระทั่งถึงทุกวันนี้ สังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์โดยมากก็ยังแบ่งงานระหว่างเพศแม้จะเพียงทำเป็นแค่พิธีเท่านั้น
แต่ก็ยังจริงอยู่ว่าในบางสังคม หญิงก็จะล่าสัตว์พวกเดียวกันเหมือนกับชาย และบางครั้งทำด้วยกัน ตัวอย่างที่รู้จักกันดีที่สุดก็คือชนเผ่าไอตา (Aeta) ในประเทศฟิลิปปินส์ คือ ตามงานศึกษาหนึ่ง "ประมาณร้อยละ 85 ของหญิงไอตาในฟิลิปปินส์ล่าสัตว์ เป็นการล่าสัตว์พวกเดียวกันเหมือนกับชายด้วย โดยล่าเป็นกลุ่มมีสุนัขช่วย และประสบความสำเร็จในอัตราร้อยละ 31 เมื่อเทียบกับชายที่ร้อยละ 17 อัตราความสำเร็จจะสูงขึ้นถ้าร่วมมือกับชาย กลุ่มล่าสัตว์รวมเพศมีอัตราความสำเร็จที่ร้อยละ 41 ในบรรดาชนไอตา" ส่วนคนเผ่า Ju|'hoansi ในประเทศนามิเบีย หญิงจะช่วยชายสะกดรอยสัตว์ ส่วนหญิงเผ่า Martu ในประเทศออสเตรเลียล่าสัตว์เล็ก ๆ เช่นกิ้งก่า เป็นหลักเพื่อเลี้ยงลูกและเพื่อธำรงความสัมพันธ์กับหญิงอื่น ๆ
ในงานประชุม ค.ศ. 1966 นักมานุษยวิทยาทรงอิทธิพลชาวอเมริกันและแคนาดาคู่หนึ่ง (Richard Borshay Lee และ Irven DeVore) เสนอว่า สมภาคนิยม (egalitarianism) เป็นลักษณะหลักอย่างหนึ่งของสังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์ที่อยู่ไม่ประจำที่ เพราะว่า การเคลื่อนย้ายบังคับให้มีวัตถุสิ่งของน้อยที่สุดในทั้งชุมชน ดังนั้น จึงไม่มีใครมีสมบัติมากกว่าคนอื่น ๆ ลักษณะอย่างอื่นที่นักวิชาการคู่นี้เสนอก็คือ อาณาเขตและความต่าง ๆ กันทางประชากรของเผ่า (demographic composition) ที่เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ
ในงานประชุมเดียวกัน นักโบราณคดีผู้หนึ่งเสนอประเด็นเรื่อง "สังคมที่มั่งมีดั้งเดิม" (original affluent society) ที่เขาคัดค้านทัศนคตินิยมว่า คนเก็บของป่าล่าสัตว์ใช้ชีวิตอย่าง "โดดเดี่ยว ยากจน ยากลำบาก โหดร้ายทารุณ และมีชีวิตสั้น" ดังที่โทมัส ฮอบส์ได้เสนอใน ค.ศ. 1651 ตามนักวิชาการท่านนี้ หลักฐานทางชาติพันธุ์วรรณนาแสดงว่า คนเก็บของป่าล่าสัตว์ทำงานน้อยกว่า และมีเวลาว่างมากกว่าสมาชิกในสังคมอุตสาหกรรม ทั้ง ๆ ที่ก็กินดีด้วย ส่วนคำว่า "มั่งมี" มาจากไอเดียว่า คนเหล่านั้นพอใจในวัตถุสิ่งของน้อยนิดที่ตนมี ต่อมาใน ค.ศ. 1996 นักวิชาการอีกท่านหนึ่งทำงานวิเคราะห์อภิมาน 2 งานเพื่อพิสูจน์แนวคิดนี้ งานแรกตรวจสอบงานศึกษาเกี่ยวกับการใช้เวลาของสังคมชนิดนี้ และงานที่สองวิเคราะห์การใช้แรงงานของสังคม แล้วพบว่า ผู้ใหญ่ในสังคมที่เที่ยวหาอาหารและปลูกพืชสวนทำงานโดยเฉลี่ยประมาณ 6.5 ชั่วโมงต่อวัน ในขณะที่คนในสังคมเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมทำงานโดยเฉลี่ย 8.8 ชั่วโมงต่อวัน และงานวิจัย ค.ศ. 2007 ก็แสดงด้วยว่า อายุขัยโดยเฉลี่ยของคนกลุ่มนี้สูงกว่าที่คาดไว้
การแลกเปลี่ยนและแบ่งสิ่งที่หาได้ (เช่นเนื้อจากการล่าสัตว์เป็นต้น) เป็นระบบเศรษฐกิจที่สำคัญของสังคมเช่นนี้
ความต่าง ๆ
สังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์มีความต่าง ๆ กันอย่างสำคัญ ขึ้นอยู่กับภูมิอากาศและสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในพื้นที่ เทคโนโลยีที่มี และโครงสร้างทางสังคม นักโบราณคดีจะตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือของชนเผ่าต่าง ๆ เพื่อวัดความแตกต่างกัน งานศึกษาใน ค.ศ. 2005 พบว่า อุณหภูมิเป็นปัจจัยอย่างเดียวที่มีผลสำคัญทางสถิติต่ออุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ โดยใช้อุณหภูมิเป็นตัวแทนความเสี่ยง งานนี้แสดงนัยว่า สิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิจัดเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญพอที่จะมีอุปกรณ์ที่ต่าง ๆ กันเพิ่ม ซึ่งสนับสนุนทฤษฎีที่เสนอใน ค.ศ. 1989 ว่า ความเสี่ยงต่อความล้มเหลวเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะกำหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้
วิธีการหนึ่งในการจัดหมวดหมู่ของสังคมชนิดนี้ก็คือโดยระบบผลตอบแทน มีนักวิชาที่จัดหมวดหมู่เป็น "ผลตอบแทนทันที" (immediate return) สำหรับสังคมที่มีฐานะเท่าเทียมกัน และ "ผลตอบแทนทีหลัง" (delayed return) สำหรับสังคมที่มีฐานะไม่เท่าเทียมกัน คือ ผู้เที่ยวหาอาหารแบบมีผลตอบแทนทันที จะบริโภคอาหารภายในวันหนึ่งหรือสองวันที่ได้มา ส่วนพวกผลตอบแทนทีหลัง จะเก็บอาหารที่เหลือไว้: 31
แม้ว่าการเก็บของป่าล่าสัตว์จะเป็นวิธีการพอดำรงชีพของมนุษย์ทั่วยุคหินเก่า ถึงกระนั้น สังเกตการณ์ในกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ในปัจจุบันอาจจะไม่สะท้อนถึงสังคมในยุคหินเก่าจริง ๆ เพราะว่า สังคมเช่นนี้ที่ตรวจสอบในสมัยปัจจุบัน มีการติดต่อกับอารยธรรมอื่น ๆ และไม่ได้อยู่ในสถานะที่ "บริสุทธิ์" โดยขาดการติดต่อกับโลกปัจจุบัน
การเปลี่ยนรูปแบบจากสังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์ไปเป็นสังคมเกษตรกรรม ไม่ใช่เป็นได้แค่ทางเดียว คือมีการอ้างว่า การเก็บของป่าล่าสัตว์เป็นกลยุทธ์การปรับตัว ซึ่งอาจจะใช้เมื่อจำเป็น เช่นเมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทำให้อาหารขาดแคลนในสังคมเกษตร และจริง ๆ แล้ว เป็นเรื่องยากที่จะแบ่งสังคมเกษตรและสังคมคนเก็บของป่าล่าสัตว์ออกจากกันอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพราะมีการยอมรับสังคมเกษตรกรรมและวัฒนธรรมที่ควบคู่กัน ที่กระจายไปอย่างกว้างขวางภายใน 10,000 ปีที่ผ่านมา[] และมุมมองทางมานุษยวิทยาเช่นนี้ก็ยังไม่เปลี่ยนตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960[][]
มุมมองปัจจุบันและปรับปรุงใหม่
ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 มีกลุ่มนักมานุษยวิทยาและโบราณคดีกลุ่มเล็ก ๆ แต่พูดจาเปิดเผยกลุ่มหนึ่ง ที่พยายามแสดงว่า กลุ่มที่จัดว่าเป็นคนเก็บของป่าล่าสัตว์ในปัจจุบัน โดยมากไม่ได้มีประวัติการเป็นคนเก็บของป่าล่าสัตว์อย่างสืบเนื่อง คือมีหลายกลุ่มที่มีบรรพบุรุษเป็นเกษตรกรหรือคนเลี้ยงสัตว์[] ซึ่งเข้าไปอยู่ในเขตที่เพาะปลูกไม่ได้หรือเกือบไม่ได้โดยเป็นผลของการอพยพ การถูกฉวยผลประโยชน์ หรือจากความรุนแรง ความพยายามเหล่านี้มีอิทธิพลให้ยอมรับโดยทั่วไปว่า กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ได้มีอันตรสัมพันธ์กับกลุ่มอื่น ๆ เป็นพัน ๆ ปีแล้ว[]
นักวิชาการที่เสนอแนวคิดแบบ "ปรับปรุง" เช่นนี้แสดงนัยว่า เพราะว่า กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์แท้ ๆ ได้หายไปจากโลกหลังจากการล่าอาณานิคม (หรือแม้ตั้งแต่การเกิดเกษตรกรรม) ไม่เท่าไร ดังนั้น จึงไม่สามารถที่จะเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ก่อนประวัติศาสตร์จากกลุ่มที่มีในปัจจุบัน: 24–29 แต่ก็มีนักวิชาการที่ไม่เห็นด้วย โดยอ้างว่า เราสามารถเรียนรู้วิถีชีวิตของกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ก่อนประวัติศาสตร์ โดยศึกษากลุ่มปัจจุบัน โดยเฉพาะเรื่องความเท่าเทียมกันทางสังคมที่น่าทึ่งใจ มีคนเก็บของป่าล่าสัตว์เป็นจำนวนมากที่บริหารพื้นที่รอบ ๆ ตัว โดยกำจัดหรือเผาพืชที่ไม่ต้องการและช่วยสนับสนุนพันธุ์ที่ต้องการ โดยบางพวกทำอย่างนี้ก็เพื่อสร้างที่อยู่ให้กับสัตว์ที่ล่า แม้ว่า การทำเช่นนี้จะต่างระดับเทียบกับที่ทำในสังคมเกษตร แต่ว่า นี้ก็เป็นการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์โดยระดับหนึ่ง ทุกวันนี้ กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์เกือบทั้งหมด ต้องอาศัยแหล่งอาหารที่ปลูกหรือเลี้ยงเองเป็นบางส่วน โดยทำเองแม้ไม่ได้ทำทั้งวัน หรือแลกมาด้วยสิ่งที่หาได้จากป่า
นอกจากนั้นแล้ว เกษตรกรบางพวกก็ล่าสัตว์และเก็บพืชผลเป็นปกติด้วย (เช่น ทำเกษตรนอกฤดูหนาว และล่าสัตว์ในฤดูหนาวที่มีน้ำค้างแข็ง) และก็มีคนล่าสัตว์ในประเทศพัฒนาแล้วด้วย โดยเป็นกิจกรรมเวลาว่าง
ปัจจุบัน ก็ยังมีกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ที่แม้ว่าจะได้ติดต่อกับสังคมวัฒนธรรมอื่น ๆ ก็ยังธำรงวิถีชีวิตของตนโดยปราศจากอิทธิพลจากสังคมภายนอก กลุ่มหนึ่งก็คือคน Pila Nguru (หรือคน Spinifex) ของรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียที่อยู่ในทะเลทรายเกรตวิกตอเรียซึ่งเป็นที่ไม่เหมาะกับทั้งเกษตรกรรมแบบยุโรปหรือการเลี้ยงสัตว์[] อีกกลุ่มหนึ่งก็คือชาวเกาะเซนทิเนลเหนือที่หมู่เกาะอันดามันซึ่งยังดำรงชีวิตของตนอย่างอิสระ โดยปฏิเสธที่จะติดต่อกับผู้อื่น[]
ทวีปอเมริกา
หลักฐานแสดงนัยว่า มนุษย์นักล่าสัตว์ใหญ่ได้ข้ามช่องแคบเบริงจากเอเชียเข้าไปในอเมริกาเหนือ ผ่านสะพานแผ่นดินที่มีระหว่าง 47,000–14,000 ปีก่อน และเมื่อประมาณ 18,500–15,500 ปีก่อน กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์เหล่านี้เชื่อว่าได้ตามล่าฝูงสัตว์ใหญ่ (megafauna) ในสมัยไพลสโตซีน ตามช่องทางปราศจากน้ำแข็งระหว่างพืดน้ำแข็ง Laurentide และ Cordilleran หรืออีกทางที่มีการเสนอก็คือ ไม่ว่าจะเดินหรือว่าใช้เรือแบบง่าย ๆ มนุษย์เหล่านี้ได้อพยพตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกไปจนถึงอเมริกาใต้
กลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ในที่สุดก็เจริญรุ่งเรืองไปทั่วทวีปอเมริกา โดยหลักอยู่ที่เขตเกรตเพลนส์ของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา และมีกิ่งก้านสาขาแตกไปถึงคาบสมุทรกัสเป ทางชายฝั่งตะวันออกของแคนาดา และไปทางใต้จนถึงประเทศชิลี[] เนื่องจากกระจายไปทั่วในเขตอันกว้างไกล จึงมีวิถีชีวิตแตกต่างกันตามเขต แต่ว่า ทุกกลุ่มได้ผลิตเครื่องมือหินในแนวเดียวกัน ระบุได้โดยรูปแบบการเคาะหิน (knapping) และลำดับการทำเครื่องมือ เป็นแบบการทำเครื่องมือที่พบไปทั่วทวีปอเมริกา เป็นเครื่องมือที่ใช้โดยคนเก็บของป่าล่าสัตว์ที่อยู่รวมเป็นกลุ่ม ๆ ประมาณ 25–50 คนที่เป็นญาติสายเลือดกัน
แต่ต่อมาระหว่าง 8,000–2,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช สิ่งแวดล้อมก็ได้เปลี่ยนไปเป็นภูมิอากาศที่อุ่นขึ้นแห้งขึ้น และมีการสูญพันธุ์ของสัตว์ใหญ่พันธุ์สุดท้าย ประชากรโดยมากในทวีปนี้ในเวลานี้ก็ยังเป็นกลุ่มคนเก็บของป่าล่าสัตว์ที่ย้ายที่ไปเรื่อย ๆ ถึงกระนั้นแต่ละกลุ่มก็เริ่มที่จะให้ความสนใจกับทรัพยากรที่มีอยู่รอบ ๆ ตัว และดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไปจึงมีรูปแบบประเพณีเฉพาะ ๆ ตัวดังที่พบในกลุ่ม Southwest, Arctic (Paleo-Arctic), Poverty Point, Dalton และ Plano การปรับตัวให้เข้ากับพื้นที่จึงกลายเป็นเรื่องสามัญ โดยอาศัยการเก็บของป่าล่าสัตว์น้อยลง แต่อาศัยสัตว์เล็ก ปลา ผักป่าตามฤดู และพืชที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น
ดูเพิ่ม
กลุ่มคนและสังคม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. พจนานุกรมศัพท์มานุษยวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 172.
- Lee, Richard B.; Daly, Richard Heywood (1999). Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers. Cambridge University Press. p. inside front cover. ISBN .
- Binford, Louis (1986). "Human ancestors: Changing views of their behavior". Journal of Anthropological Archaeology. 3: 235–57.
- Attenborough, David; Collins, Mark (1990). The Last Rain Forests: A World Conservation Atlas (1st ed.). Oxford University Press. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Gavashelishvili, A.; Tarkhnishvili, D. (2016). "Biomes and human distribution during the last ice age". Global Ecology and Biogeography. doi:10.1111/geb.12437.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Fagan, B (1992). People of the Earth: an introduction to work prehistory (7th ed.). HarperCollins Publishers. pp. 169–81. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - The forest-garden farms of Kandy, Sri Lanka, p. 1, ที่ Google Books
- Diamond, Jared (1998). Guns, Germs and Steel. London: Vintage. ISBN .
- Blades, B (2003). "End scraper reduction and hunter-gatherer mobility". American Antiquity. 68: 141–156. doi:10.2307/3557037.
- Endicott, Karen (1999). Gender relations in hunter-gatherer societies. The Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 411–8.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter () - Erdal, D.; Whiten, A. (1994). "On human egalitarianism: an evolutionary product of Machiavellian status escalation?". Current Anthropology. 35 (2): 175–183. doi:10.1086/204255.
- Erdal, D; Whiten, A (1996). Egalitarianism and Machiavellian intelligence in human evolution. Modelling the early human mind. Cambridge: McDonald Institute Monographs.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter () - Boehm, Christopher (2001). Hierarchy in the Forest: The Evolution of Egalitarian Behavior. Cambridge, MA: Harvard University Pres.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Gowdy, John M. (1998). Limited Wants, Unlimited Means: A Reader on Hunter-Gatherer Economics and the Environment. St Louis: Island Press. p. 342. ISBN .
- Dahlberg, Frances (1975). Woman the Gatherer. London: Yale University Press. p. 120. ISBN .
- Erdal, D; Whiten, A (1996). Egalitarianism and Machiavellian Intelligence in Human Evolution. Modelling the Early Human Mind. Cambridge MacDonald Monograph Series.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter () - Kiefer, Thomas M (Spring 2002). . Lecture 8 Subsistence, Ecology and Food production. Harvard University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 April 2008. สืบค้นเมื่อ 11 March 2008.
- Marlowe, Frank W. (2004). "Marital residence among foragers". Current Anthropology. 45 (2): 277–284. doi:10.1086/382256.
- Hawkes, K.; O'Connell, J. F.; Jones, N. G. Blurton; Alvarez, H. P.; Charnov, E. L. (1998). "Grandmothering, Menopause, and the Evolution of Human Life-Histories". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 95: 1336–9. doi:10.1073/pnas.95.3.1336. PMC 18762. PMID 9448332.
- Knight, C (2008). Early human kinship was matrilineal. Early Human Kinship. Oxford: Blackwell. pp. 61–82.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter () - Biesele, M (1993). Women Like Meat. The folklore and foraging ideology of the Kalahari Ju/'hoan. Witwatersrand: University Press.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Lovgren, Stefan (7 December 2006). "Sex-Based Roles Gave Modern Humans an Edge, Study Says". National Geographic News.
- Testart, A. Essai sur les fondements de la division sexuelle du travail chez les chasseurs-cueilleurs. Paris: Éditions de l'École des Hautes Études en Sciences Sociales.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Biesele, Megan; Barclay, Steve (March 2001). "Ju/'Hoan Women's Tracking Knowledge And Its Contribution To Their Husbands' Hunting Success". African Study Monographs. Suppl.26: 67–84.
- Bird, Rebecca Bliege; Bird, Douglas W. (1 August 2008). "Why women hunt: risk and contemporary foraging in a Western Desert aboriginal community". Current Anthropology. 49 (4): 655–693. doi:10.1086/587700. ISSN 0011-3204. PMID 19230267.
- Sahlins, M (1968). Notes on the Original Affluent Society. Man the Hunter. New York: Aldine Publishing Company. pp. 85–89. ISBN .
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter () ดูด้วย:- Lewis, Jerome (2008). (PDF). Radical Anthropology. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 May 2013. สืบค้นเมื่อ 19 April 2016.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Gowdy, John (2005). Hunter-Gatherers and the Mythology of the Market. Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: uses authors parameter ()
- Lewis, Jerome (2008). (PDF). Radical Anthropology. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 May 2013. สืบค้นเมื่อ 19 April 2016.
- Sackett, R (1996). Time, energy, and the indolent savage. A quantitative cross-cultural test of the primitive affluence hypothesis (Ph.D.). University of California, Los Angles.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Guenevere, Michael; Kaplan, Hillard (2007). "Longevity amongst Hunter-gatherers" (PDF). Population and Development Review. 33 (2): 319. doi:10.1111/j.1728-4457.2007.00171.x.
- Collard, Mark; Kemery, Michael; Banks, Samantha (2005). "Causes of Toolkit Variation Among Hunter-Gatherers: A Test of Four Competing Hypotheses". Canadian Journal of Archaeology (29): 1–19.
- Torrence, Robin (1989). "Retooling: Towards a behavioral theory of stone tools". ใน Torrence, Robin (บ.ก.). Time, Energy and Stone Tools. Cambridge University Press. pp. 57–66. ISBN .
- Kelly, Robert L. (1995). The Foraging Spectrum: Diversity in Hunter-Gatherer Life ways. Washington: Smithsonian Institution. ISBN .
- Portera, Claire C.; Marlowe, Frank W. (January 2007). (PDF). Journal of Archaeological Science. 34 (1): 59–68. doi:10.1016/j.jas.2006.03.014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 February 2008. สืบค้นเมื่อ 19 April 2016.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - The Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers. Cambridge University Press. 1999. ISBN .
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Kelly, Raymond (October 2005). "The evolution of lethal intergroup violence". PNAS. 102 (43): 15294–8. doi:10.1073/pnas.0505955102. PMC 1266108. PMID 16129826.
- Wilmsen, Edwin (1989). Land Filled With Flies: A Political Economy of the Kalahari. University of Chicago Press. ISBN .
- Lee, Richard B.; Guenther, Mathias (1995). "Errors Corrected or Compounded? A Reply to Wilmsen". Current Anthropology. 36: 298–305. doi:10.1086/204361.
- Lee, Richard B. (1992). "Art, Science, or Politics? The Crisis in Hunter-Gatherer Studies". American Anthropologist. 94: 31–54. doi:10.1525/aa.1992.94.1.02a00030.
- Marlowe, Frank W. (2002). Ethnicity, Hunter-Gatherers and the 'Other'. Smithsonian Institution Press. p. 247.
- Shultziner, Doron (2010). "The causes and scope of political egalitarianism during the Last Glacial: A multi-disciplinary perspective". Biology and Philosophy. 25: 319–346. doi:10.1007/s10539-010-9196-4.
- Peterson, Nicolas; Taylor, John (1998). "Demographic transition in a hunter-gatherer population: the Tiwi case, 1929-1996". Australian Aboriginal Studies. Australian Institute of Aboriginal and Torres Strait Islander Studies. 1998.
- 2015%5d%5d%5b%5bหมวดหมู่:บทความที่เรียกใช้แม่แบบโดยใส่วันที่ไม่ถูกต้อง%5d%5d[%5b%5bวิกิพีเดีย:ลิงก์เสีย|ลิงก์เสีย%5d%5d] "Atlas of the Human Journey-The Genographic Project". National Geographic Society. 1996–2008. สืบค้นเมื่อ 6 October 2009.
{{}}
: ตรวจสอบค่า|url=
((help))CS1 maint: date format () - "The peopling of the Americas: Genetic ancestry influences health". Scientific American. สืบค้นเมื่อ 17 November 2009.
- "Alternate Migration Corridors for Early Man in North America". American Antiquity. 1. 44: 2. January 1979. JSTOR 279189.
- Eshleman, Jason A.; Malhi, Ripan S.; Smith, David Glenn (2003). "Mitochondrial DNA Studies of Native Americans: Conceptions and Misconceptions of the Population Prehistory of the Americas" (pdf). Evolutionary Anthropology. University of Illinois at Urbana-Champaign. 12: 7–18. doi:10.1002/evan.10048. สืบค้นเมื่อ 17 November 2009.
- Broster, John (2002). "Paleoindians in Tennessee". Tennessee Department of Environment and Conservation. Tennessee Historical Society. Online Edition provided by:The University of Tennessee Press. สืบค้นเมื่อ 21 November 2009.
- "Blame North America Megafauna Extinction On Climate Change, Not Human Ancestors". ScienceDaily. 2001. สืบค้นเมื่อ 10 April 2010.
- Fiedel, Stuart J. (1992). Prehistory of the Americas. Cambridge University Press. p. 151. ISBN . สืบค้นเมื่อ 18 November 2009.
- Salomon, Frank; Schwartz, Stuart B (28 December 1999). The Cambridge History of the Native Peoples of the Americas. Cambridge University Press. ISBN . สืบค้นเมื่อ 17 November 2009.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- Barnard, A. J., ed. (2004). Hunter-gatherers in history, archaeology and anthropology. Berg. ISBN .
{{}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Bettinger, R. L. (1991). Hunter-gatherers: archaeological and evolutionary theory. Plenum Press. ISBN .
- Bowles, Samuel; Gintis, Herbert (2011). A Cooperative Species: Human Reciprocity and Its Evolution. Princeton University Press. ISBN . (Reviewed in The Montreal Review)
- Brody, Hugh (2001). The Other Side Of Eden: hunter-gatherers, farmers and the shaping of the world. North Point Press. ISBN .
- Lee, Richard B. and Irven DeVore, eds. (1968). Man the hunter. Aldine de Gruyter. ISBN .
{{}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Meltzer, David J. (2009). First peoples in a new world: colonizing ice age America. University of California, Berkeley. ISBN .
- Morrison, K. D. and L. L. Junker, eds. (2002). Forager-traders in South and Southeast Asia: long term histories. Cambridge University Press. ISBN .
{{}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Panter-Brick, C., R. H. Layton and P. Rowley-Conwy, eds. (2001). Hunter-gatherers: an interdisciplinary perspective. Cambridge University Press. ISBN .
{{}}
:|author=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Turnbull, Colin (1987). The Forest People. Touchstone. ISBN .
- Mudar, K; Anderson. "New evidence for Southeast Asian Pleistocene foraging economies: faunal remains from the early levels of Lang Rongrien rockshelter, Krabi, Thailand". Asian Perspectives. 46 (2): 298–334. doi:10.1353/asi.2007.0013.
เว็บไซต์
- Nature's Secret Larder - Wild Foods & Hunting Tools.
- A wiki dedicated to the scientific study of the diversity of foraging societies without recreating myths
- Balmer, Yves (2003–2009). . Andaman Association.
{{}}
: CS1 maint: date format ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khnekbkhxngpalastw xngkvs hunter gatherer forager hmaythungmnusyinsngkhmthiidxaharswnmakhruxthnghmd cakkarekbphuchinpahruxlastwpa epriybethiybkbsngkhmekstr thiodyhlkphungphuchstwphnthuthiprbnamaeliyngephuxepnxahar karhakinwithiniepnkarprbtwaebbaerkaelathiyunyngthisudkhxngkhn odyepnwithihakininrxyla 90 khxngprawtisastrmnusy aetwahlngcakkarekidkhunkhxngsngkhmekstrkrrmodymakinolk sngkhmekstraelasngkhmeliyngstwkidaethnthihruxphichitsngkhmkhnekbkhxngpalastw odymiklumthicdepnkhnekbkhxngpalastwehluxephiyngimkisngkhminpccubn aelahlayklumcring kmikarplukphuchswnaelaeliyngstwkhwbkhuipdwyhlkthanthangobrankhdiinkhristthswrrs 1950 minkobrankhdithrngxiththiphlchawxemriknthanhnungthiesnxwa mnusyinyukhtn khwamcringbriophkhsakstwepnxahar imichidenuxodykarla khuxmnusyintnyukhhinekaidxasyxyuinpaoprng cungsamarthekbxaharthael ikh thw aelaphlim bwkkbkarbriophkhsakstwid tamthvsdini aethnthicakhastwihy mnusyidenuxcakstwthithukkhaodystwlaehyuxxunhruxthitaydwyehtuthrrmchati aelakhxmulthangobrankhdiaelaphnthukrrmkaesdngnywa klumbrrphburusmnusypccubnthiepnkhnekbkhxngpalastwinyukhhinekamichiwitxyuinpaoprng aelaaephrkracayipinekhtthixudmsmburnxun odyhlikeliyngpathub tamsmmtithanwingthn endurance running hypothesis karwingrayaikl ephuxtamlastw sungyngepnwithithikhnekbkhxngpalastwinpccubnyngichxyu nacaepntwkhbekhluxnwiwthnakarkhxnglksnamnusybangxyang sungepnsmmtithanthiimidkhdaeyngkbsmmtithanbriophkhsakstw klyuththkardarngchiwitthngsxngxaccaidich imwacasubtxkn slbkn hruxaemaetphrxm kn karekbkhxngpalastwechuxwaepnklyuththphxdarngchiwitthiichinsngkhmmnusyerimtngaet 1 8 lanpikxn odymnusyphnthu Homo erectus aelaerimtngaet 200 000 pikxnodymnusyphnthupccubnkhux Homo sapiens epnwithikarphxdarngchiwitxyangediywcnkrathngthisudkhxngyukhhinklangpraman 10 000 pikxn sunghlngcaknisngkhmekstrkrrmcungkhxy aephrkracayxxkipthwolk khux erimtngaetrahwangyukhhinekatxnklangaelatxnplaypraman 70 000 80 000 pikxn sngkhmklumtang kerimcamikhwamchanayphiessinkarlastwthiihykwaaetepncanwnphnthuthinxykwa aelaekbphuchphlepncanwnphnthuthinxykwadwy sungmiphlihsrangxupkrnechphaangan echn xwnpla ebdpla chmwkthithadwykraduk swnkarepliynaeplngthinaipsuyukhhinihmtxma epnkarphthnaethkhnikhthangekstrkrrmebuxngtnxyangthiimekhymimakxn sngkhmekstrkrrmcungekidkhunaelakracayipcakaehlngkaenidtang rwmthngintawnxxkklang exechiy emosxemrika aelaethuxkekhaaexndis sungxacerimtngaet 12 000 pikxn nxkcaknnaelw karthaswnpa forest gardening kepnrabbphlitxaharthiichinthitang khxngolkyukhnidwy odymikaenidkxnprawtisastrtamrimfngaemnathimipaimpkkhlum aelatamenintinekhainekhtmrsum txngkarxangxing khux emuxchnhmutang prbprungsingaewdlxmrxb twxyangtxenuxng kmikarrabu karpxngkn aelakarprbprungthngimaelaimetha aelakarkacdphuchthiimtxngkar cnkrathnginthisud kcarwmexaphuchnxkphunthithidikwaekhaipinswndwy aemwaklumchnmakmaycatharngkardarngchiwitaebbkhnekbkhxngpalastw aetcanwnkidldlngmaeruxy odyswnhnungepnphlcakkarkhyaytwkhxngchumchnekstraelaeliyngstw klumehlaniodymakxasyxyuinekhtpraethskalngphthna odythaimxyuinekhtaehngaelngkxyuinpaekhtrxn aetwa kartngthinthankhxngchumchnekstrkidluklathixyuxasykhxngchnehlaniekhaiperuxy odyepnphlcakkaraekhngkhnephuxichphunthiechnni sngkhmekbkhxngpalastwcungtxngyxmrbekstrkrrmhruxtxngyayipxyuthixun nxkcaknnaelw s caerd idmxndyngothskarminxylngkhxngxaharpa odyechphaastwpa yktwxyangechn inthwipxemrika stweliynglukdwynmkhnadihyodymakidsuyphnthipaelwodythisudkhxngsmyiphlsotsin ephraakarlastwmakekinkhxngmnusy aemwasmmtithanekiywkbkarlastwmakekinipkhxngekha caepneruxngthinkwichakarbangthanimehndwy emuxsngkhmekstrthngkhyaycanwnaelakhyaykhnad kcaluklaekhaipinphunthithiklumkhnekbkhxngpalastwekhyichsxy aelakrabwnkarkhyaykhnadthikhbekhluxnodyekstrkrrm knaipsukarphthnarabbkarpkkhrxnginsunyklangkarekstr echn ekhtphracnthresiywxnxudmsmburn xinediyobran cinobran xarythrrmoxlemkinemksiok aexfrikaitsahara aelaxarythrrmnxretchiokinepru phlkkhux mnusyekuxbthnghmdpccubntxngphungkarekstr odymiwthnthrrmkhnekbkhxngpalastwehluximkichumchnthipkticaxasyxyuinekhtthiimehmaacathaekstr nkobrankhdiidichhlkthanechnekhruxngmuxhininkartidtamchiwitkhxngmnusykhnekbkhxngpalastw rwmthngkarxphyphipinthitang lksnathwipchaychawaesncakpraethsnamiebiy khnaesnpccubnyngichchiwitaebbkhnekbkhxngpalastwxyuthixyuaelaprachakr khnekbkhxngpalastwodymakepnchnrxnerhruxkungrxner aelacaxyuinthixyuchwkhraw chumchnthiyayiperuxy mkcasrangthixyuodyichwsduthiimthawr hruxxaccaichthikabngtamthrrmchatithimixyu aetkmiwthnthrrmkhnekbkhxngpalastwbangaehng echnthiphbinkhnphunemuxngedimkhxngchayfngmhasmuthraepsifikdantawntkechiyngehnuxkhxngshrth Pacific Northwest thixyuinekhtxudmsmburncnkrathngwasamarthxyukbthihruxkungxyukbthiid okhrngsrangsngkhmaelaesrsthkic khnekbkhxngpalastwmkcamisngkhmthismachikmithanaethaethiymkn aemwa klumthixyuepnthi echnthichayfngaepsifiktawntkechiyngehnuxkhxngshrth caepnkhxykewn kluminaexfrikaekuxbthnghmdmithanaethaethiymkn aemaethyingkyngmixiththiphlaelamixanacphx kbchay aemwakhwamethaethiymknthiphbinklumkhnekbkhxngpalastwcaimsmburn aetkepnsingthinaaeplkiccakmummxngthangwiwthnakar stwthiepnyatiiklchidthisudkhxngmnusyinklumlingihy khuxlingchimaepnsi epnsngkhmthiimethaethiymkn odyaebngsngkhmepnchn thimilingtwphuepnhwhna khuxlingxlfa sungtangcakklummnusykhnekbkhxngpalastwmakcnkrathngminkbrrphmanusywithyathixangwa karimyxmikhrepnpccysakhythikhbekhluxnwiwthnakarthang phasa rabbyatiphinxng aelakarcdklumthangsngkhm inhmumnusy nkmanusywithyadarngwa khnekbkhxngpalastwcaimmiphunathawr aetikhrepnphunacakhunxyukbsingthikalngcatha nxkcakcamikhwamethaethiymknthangsngkhmaelaesrsthkicaelw bxykhrngkyngmikhwamethaethiymknthangephsdwy aemwacaimesmxip khnekbkhxngpalastwbxykhrngrwmklumodykhwamepnyati epnaebb kinship hrux band chaymkcaxyukbkhrxbkhrwkhxngfayhyinghlngcakkaraetngngan xyangnxykinebuxngtn aemxayunxycaidaemkhxngtnepnphuchwyeliyngluk odycaxyuikl kn rabbyatiaelakarsubtrakulinklumkhnekbkhxngpalastwmikhwamaetktangkn aemwacamihlkthanwa mnusyyukhtn mkcasubtrakulthangsaymarda okhrngsrangthangsngkhmaelakaraebngnganthangephskhxngkhnekbkhxngpalastwimehmuxnkbsngkhmekstr insngkhmni hyingepnphuekbphuchphl aelachaymunglastwihyodymak aetniimpraktwaepnkarkdkhiphuhying odyihxanacephiyngaekhepnaemban khux tamphuthiidsngektptismphnthrahwangephsinsngkhmechnni hyingcaimekhaicaenwkhidwatnthukkdkhiephraathanganimehmuxnchay ephraawa kareliyngduedkepnnganswnrwm thitharkthukkhncamiaemaelachaythichwyduaelhlaykhn dngnn hnathiinbancungimidthaxyangcakd txngkarxangxing insngkhmechnnithukaehng hyinglwnaetyindithicaidenuxthichayhamaih dngthiklawiwxyanglaexiydinhnngsuxekiywkbkhnepha Ju hoan inaexfrikait nxkcaknnaelw nganobrankhdiemuxraw kh s 2006 aesdngnywa karaebngnganthangephsechnniepnnwtkrrmkarcdraebiybsngkhmkhnphunthanthithaihmnusyphnthu Homo sapiens idepriybmnusyphnthu Neanderthal thaihbrrphburuskhxngmnusypccubnsamarthxphyphipcakaexfrikaaelwkracayipthwolk cnkrathngthungthukwnni sngkhmkhnekbkhxngpalastwodymakkyngaebngnganrahwangephsaemcaephiyngthaepnaekhphithiethann aetkyngcringxyuwainbangsngkhm hyingkcalastwphwkediywknehmuxnkbchay aelabangkhrngthadwykn twxyangthiruckkndithisudkkhuxchnephaixta Aeta inpraethsfilippins khux tamngansuksahnung pramanrxyla 85 khxnghyingixtainfilippinslastw epnkarlastwphwkediywknehmuxnkbchaydwy odylaepnklummisunkhchwy aelaprasbkhwamsaercinxtrarxyla 31 emuxethiybkbchaythirxyla 17 xtrakhwamsaerccasungkhuntharwmmuxkbchay klumlastwrwmephsmixtrakhwamsaercthirxyla 41 inbrrdachnixta swnkhnepha Ju hoansi inpraethsnamiebiy hyingcachwychaysakdrxystw swnhyingepha Martu inpraethsxxsetreliylastwelk echnkingka epnhlkephuxeliynglukaelaephuxtharngkhwamsmphnthkbhyingxun phaphlayaekakhriststwrrsthi 19 khxngkhayphkkhnphunemuxngxxsetreliy innganprachum kh s 1966 nkmanusywithyathrngxiththiphlchawxemriknaelaaekhnadakhuhnung Richard Borshay Lee aela Irven DeVore esnxwa smphakhniym egalitarianism epnlksnahlkxyanghnungkhxngsngkhmkhnekbkhxngpalastwthixyuimpracathi ephraawa karekhluxnyaybngkhbihmiwtthusingkhxngnxythisudinthngchumchn dngnn cungimmiikhrmismbtimakkwakhnxun lksnaxyangxunthinkwichakarkhuniesnxkkhux xanaekhtaelakhwamtang knthangprachakrkhxngepha demographic composition thiepliynaeplngiperuxy innganprachumediywkn nkobrankhdiphuhnungesnxpraedneruxng sngkhmthimngmidngedim original affluent society thiekhakhdkhanthsnkhtiniymwa khnekbkhxngpalastwichchiwitxyang oddediyw yakcn yaklabak ohdraytharun aelamichiwitsn dngthiothms hxbsidesnxin kh s 1651 tamnkwichakarthanni hlkthanthangchatiphnthuwrrnnaaesdngwa khnekbkhxngpalastwthangannxykwa aelamiewlawangmakkwasmachikinsngkhmxutsahkrrm thng thikkindidwy swnkhawa mngmi macakixediywa khnehlannphxicinwtthusingkhxngnxynidthitnmi txmain kh s 1996 nkwichakarxikthanhnungthanganwiekhraahxphiman 2 nganephuxphisucnaenwkhidni nganaerktrwcsxbngansuksaekiywkbkarichewlakhxngsngkhmchnidni aelanganthisxngwiekhraahkarichaerngngankhxngsngkhm aelwphbwa phuihyinsngkhmthiethiywhaxaharaelaplukphuchswnthanganodyechliypraman 6 5 chwomngtxwn inkhnathikhninsngkhmekstrkrrmaelaxutsahkrrmthanganodyechliy 8 8 chwomngtxwn aelanganwicy kh s 2007 kaesdngdwywa xayukhyodyechliykhxngkhnklumnisungkwathikhadiw karaelkepliynaelaaebngsingthihaid echnenuxcakkarlastwepntn epnrabbesrsthkicthisakhykhxngsngkhmechnnikhwamtang sngkhmkhnekbkhxngpalastwmikhwamtang knxyangsakhy khunxyukbphumixakasaelasingmichiwitthixyuinphunthi ethkhonolyithimi aelaokhrngsrangthangsngkhm nkobrankhdicatrwcsxbxupkrnekhruxngmuxkhxngchnephatang ephuxwdkhwamaetktangkn ngansuksain kh s 2005 phbwa xunhphumiepnpccyxyangediywthimiphlsakhythangsthititxxupkrnekhruxngmuxthiich odyichxunhphumiepntwaethnkhwamesiyng nganniaesdngnywa singaewdlxmthimixunhphumicdepnpccyesiyngsakhyphxthicamixupkrnthitang knephim sungsnbsnunthvsdithiesnxin kh s 1989 wa khwamesiyngtxkhwamlmehlwepnpccysakhythisudthicakahndokhrngsrangkhxngxupkrnekhruxngmuxthiich withikarhnunginkarcdhmwdhmukhxngsngkhmchnidnikkhuxodyrabbphltxbaethn minkwichathicdhmwdhmuepn phltxbaethnthnthi immediate return sahrbsngkhmthimithanaethaethiymkn aela phltxbaethnthihlng delayed return sahrbsngkhmthimithanaimethaethiymkn khux phuethiywhaxaharaebbmiphltxbaethnthnthi cabriophkhxaharphayinwnhnunghruxsxngwnthiidma swnphwkphltxbaethnthihlng caekbxaharthiehluxiw 31 aemwakarekbkhxngpalastwcaepnwithikarphxdarngchiphkhxngmnusythwyukhhineka thungkrann sngektkarninklumkhnekbkhxngpalastwinpccubnxaccaimsathxnthungsngkhminyukhhinekacring ephraawa sngkhmechnnithitrwcsxbinsmypccubn mikartidtxkbxarythrrmxun aelaimidxyuinsthanathi brisuththi odykhadkartidtxkbolkpccubn karepliynrupaebbcaksngkhmkhnekbkhxngpalastwipepnsngkhmekstrkrrm imichepnidaekhthangediyw khuxmikarxangwa karekbkhxngpalastwepnklyuththkarprbtw sungxaccaichemuxcaepn echnemuxsingaewdlxmepliynaeplngthaihxaharkhadaekhlninsngkhmekstr aelacring aelw epneruxngyakthicaaebngsngkhmekstraelasngkhmkhnekbkhxngpalastwxxkcakknxyangchdecn odyechphaaxyangyingephraamikaryxmrbsngkhmekstrkrrmaelawthnthrrmthikhwbkhukn thikracayipxyangkwangkhwangphayin 10 000 pithiphanma txngkarxangxing aelamummxngthangmanusywithyaechnnikyngimepliyntngaetkhristthswrrs 1960 txngkarxangxing mummxngpccubnaelaprbprungihmkhayphkkhxngchnphunemuxngephaochochni Shoshone inrthiwoxming kh s 1870 intnkhristthswrrs 1980 miklumnkmanusywithyaaelaobrankhdiklumelk aetphudcaepidephyklumhnung thiphyayamaesdngwa klumthicdwaepnkhnekbkhxngpalastwinpccubn odymakimidmiprawtikarepnkhnekbkhxngpalastwxyangsubenuxng khuxmihlayklumthimibrrphburusepnekstrkrhruxkhneliyngstw txngkarxangxing sungekhaipxyuinekhtthiephaaplukimidhruxekuxbimidodyepnphlkhxngkarxphyph karthukchwyphlpraoychn hruxcakkhwamrunaerng khwamphyayamehlanimixiththiphlihyxmrbodythwipwa klumkhnekbkhxngpalastwidmixntrsmphnthkbklumxun epnphn piaelw txngkarxangxing nkwichakarthiesnxaenwkhidaebb prbprung echnniaesdngnywa ephraawa klumkhnekbkhxngpalastwaeth idhayipcakolkhlngcakkarlaxananikhm hruxaemtngaetkarekidekstrkrrm imethair dngnn cungimsamarththicaeriynruxairekiywkbklumkhnekbkhxngpalastwkxnprawtisastrcakklumthimiinpccubn 24 29 aetkminkwichakarthiimehndwy odyxangwa erasamartheriynruwithichiwitkhxngklumkhnekbkhxngpalastwkxnprawtisastr odysuksaklumpccubn odyechphaaeruxngkhwamethaethiymknthangsngkhmthinathungic mikhnekbkhxngpalastwepncanwnmakthibriharphunthirxb tw odykacdhruxephaphuchthiimtxngkaraelachwysnbsnunphnthuthitxngkar odybangphwkthaxyangnikephuxsrangthixyuihkbstwthila aemwa karthaechnnicatangradbethiybkbthithainsngkhmekstr aetwa nikepnkarephaaeliyngphuchaelastwodyradbhnung thukwnni klumkhnekbkhxngpalastwekuxbthnghmd txngxasyaehlngxaharthiplukhruxeliyngexngepnbangswn odythaexngaemimidthathngwn hruxaelkmadwysingthihaidcakpa nxkcaknnaelw ekstrkrbangphwkklastwaelaekbphuchphlepnpktidwy echn thaekstrnxkvduhnaw aelalastwinvduhnawthiminakhangaekhng aelakmikhnlastwinpraethsphthnaaelwdwy odyepnkickrrmewlawang khnphunemuxngxxsetreliy 3 khninekaaaebethistinnxrethirnethrrithxri kh s 1939 tamnkwichakarthanhnung ekaanimiprachakrthiimidtidtxkbolkphaynxkepnewla 6 000 picnkrathngthungkhriststwrrsthi 18 aelain kh s 1929 prachakrpraman 3 in 4 eliyngtwexngodykarlastw ekbphuchphl bushfood pccubn kyngmiklumkhnekbkhxngpalastwthiaemwacaidtidtxkbsngkhmwthnthrrmxun kyngtharngwithichiwitkhxngtnodyprascakxiththiphlcaksngkhmphaynxk klumhnungkkhuxkhn Pila Nguru hruxkhn Spinifex khxngrthewsethirnxxsetreliythixyuinthaelthrayekrtwiktxeriysungepnthiimehmaakbthngekstrkrrmaebbyuorphruxkareliyngstw txngkarxangxing xikklumhnungkkhuxchawekaaesnthienlehnuxthihmuekaaxndamnsungyngdarngchiwitkhxngtnxyangxisra odyptiesththicatidtxkbphuxun txngkarxangxing thwipxemrikahlkthanaesdngnywa mnusynklastwihyidkhamchxngaekhbebringcakexechiyekhaipinxemrikaehnux phansaphanaephndinthimirahwang 47 000 14 000 pikxn aelaemuxpraman 18 500 15 500 pikxn klumkhnekbkhxngpalastwehlaniechuxwaidtamlafungstwihy megafauna insmyiphlsotsin tamchxngthangprascaknaaekhngrahwangphudnaaekhng Laurentide aela Cordilleran hruxxikthangthimikaresnxkkhux imwacaedinhruxwaicheruxaebbngay mnusyehlaniidxphyphtamchayfngmhasmuthraepsifikipcnthungxemrikait klumkhnekbkhxngpalastwinthisudkecriyrungeruxngipthwthwipxemrika odyhlkxyuthiekhtekrtephlnskhxngshrthxemrikaaelaaekhnada aelamikingkansakhaaetkipthungkhabsmuthrksep thangchayfngtawnxxkkhxngaekhnada aelaipthangitcnthungpraethschili txngkarxangxing enuxngcakkracayipthwinekhtxnkwangikl cungmiwithichiwitaetktangkntamekht aetwa thukklumidphlitekhruxngmuxhininaenwediywkn rabuidodyrupaebbkarekhaahin knapping aelaladbkarthaekhruxngmux epnaebbkarthaekhruxngmuxthiphbipthwthwipxemrika epnekhruxngmuxthiichodykhnekbkhxngpalastwthixyurwmepnklum praman 25 50 khnthiepnyatisayeluxdkn aettxmarahwang 8 000 2 000 pikxnkhristskrach singaewdlxmkidepliynipepnphumixakasthixunkhunaehngkhun aelamikarsuyphnthukhxngstwihyphnthusudthay prachakrodymakinthwipniinewlanikyngepnklumkhnekbkhxngpalastwthiyaythiiperuxy thungkrannaetlaklumkerimthicaihkhwamsnickbthrphyakrthimixyurxb tw aeladngnn emuxewlaphanipcungmirupaebbpraephniechphaa twdngthiphbinklum Southwest Arctic Paleo Arctic Poverty Point Dalton aela Plano karprbtwihekhakbphunthicungklayepneruxngsamy odyxasykarekbkhxngpalastwnxylng aetxasystwelk pla phkpatamvdu aelaphuchthiephaaplukephimkhun chnenkriotinpraethsfilippins kh s 1595duephimchnrxner prawtisastrolk khnphunemuxng yukhhinihm yukhhinekaklumkhnaelasngkhm Homo erectus chawphxliniesiyechingxrrthaelaxangxingsanknganrachbnthityspha phcnanukrmsphthmanusywithya chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 172 Lee Richard B Daly Richard Heywood 1999 Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers Cambridge University Press p inside front cover ISBN 9780521609197 Binford Louis 1986 Human ancestors Changing views of their behavior Journal of Anthropological Archaeology 3 235 57 Attenborough David Collins Mark 1990 The Last Rain Forests A World Conservation Atlas 1st ed Oxford University Press ISBN 978 0195208368 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Gavashelishvili A Tarkhnishvili D 2016 Biomes and human distribution during the last ice age Global Ecology and Biogeography doi 10 1111 geb 12437 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Fagan B 1992 People of the Earth an introduction to work prehistory 7th ed HarperCollins Publishers pp 169 81 ISBN 9780673521675 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter The forest garden farms of Kandy Sri Lanka p 1 thi Google Books Diamond Jared 1998 Guns Germs and Steel London Vintage ISBN 0 09 930278 0 Blades B 2003 End scraper reduction and hunter gatherer mobility American Antiquity 68 141 156 doi 10 2307 3557037 Endicott Karen 1999 Gender relations in hunter gatherer societies The Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers Cambridge Cambridge University Press pp 411 8 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter Erdal D Whiten A 1994 On human egalitarianism an evolutionary product of Machiavellian status escalation Current Anthropology 35 2 175 183 doi 10 1086 204255 Erdal D Whiten A 1996 Egalitarianism and Machiavellian intelligence in human evolution Modelling the early human mind Cambridge McDonald Institute Monographs a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter Boehm Christopher 2001 Hierarchy in the Forest The Evolution of Egalitarian Behavior Cambridge MA Harvard University Pres a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Gowdy John M 1998 Limited Wants Unlimited Means A Reader on Hunter Gatherer Economics and the Environment St Louis Island Press p 342 ISBN 1 55963 555 X Dahlberg Frances 1975 Woman the Gatherer London Yale University Press p 120 ISBN 0 300 02989 6 Erdal D Whiten A 1996 Egalitarianism and Machiavellian Intelligence in Human Evolution Modelling the Early Human Mind Cambridge MacDonald Monograph Series a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter Kiefer Thomas M Spring 2002 Lecture 8 Subsistence Ecology and Food production Harvard University khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 10 April 2008 subkhnemux 11 March 2008 Marlowe Frank W 2004 Marital residence among foragers Current Anthropology 45 2 277 284 doi 10 1086 382256 Hawkes K O Connell J F Jones N G Blurton Alvarez H P Charnov E L 1998 Grandmothering Menopause and the Evolution of Human Life Histories Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 95 1336 9 doi 10 1073 pnas 95 3 1336 PMC 18762 PMID 9448332 Knight C 2008 Early human kinship was matrilineal Early Human Kinship Oxford Blackwell pp 61 82 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter Biesele M 1993 Women Like Meat The folklore and foraging ideology of the Kalahari Ju hoan Witwatersrand University Press a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Lovgren Stefan 7 December 2006 Sex Based Roles Gave Modern Humans an Edge Study Says National Geographic News Testart A Essai sur les fondements de la division sexuelle du travail chez les chasseurs cueilleurs Paris Editions de l Ecole des Hautes Etudes en Sciences Sociales a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Biesele Megan Barclay Steve March 2001 Ju Hoan Women s Tracking Knowledge And Its Contribution To Their Husbands Hunting Success African Study Monographs Suppl 26 67 84 Bird Rebecca Bliege Bird Douglas W 1 August 2008 Why women hunt risk and contemporary foraging in a Western Desert aboriginal community Current Anthropology 49 4 655 693 doi 10 1086 587700 ISSN 0011 3204 PMID 19230267 Sahlins M 1968 Notes on the Original Affluent Society Man the Hunter New York Aldine Publishing Company pp 85 89 ISBN 0 202 33032 X a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter dudwy Lewis Jerome 2008 PDF Radical Anthropology 2 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 13 May 2013 subkhnemux 19 April 2016 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Gowdy John 2005 Hunter Gatherers and the Mythology of the Market Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint uses authors parameter Sackett R 1996 Time energy and the indolent savage A quantitative cross cultural test of the primitive affluence hypothesis Ph D University of California Los Angles a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite thesis title aemaebb Cite thesis cite thesis a CS1 maint uses authors parameter Guenevere Michael Kaplan Hillard 2007 Longevity amongst Hunter gatherers PDF Population and Development Review 33 2 319 doi 10 1111 j 1728 4457 2007 00171 x Collard Mark Kemery Michael Banks Samantha 2005 Causes of Toolkit Variation Among Hunter Gatherers A Test of Four Competing Hypotheses Canadian Journal of Archaeology 29 1 19 Torrence Robin 1989 Retooling Towards a behavioral theory of stone tools in Torrence Robin b k Time Energy and Stone Tools Cambridge University Press pp 57 66 ISBN 9780521253505 Kelly Robert L 1995 The Foraging Spectrum Diversity in Hunter Gatherer Life ways Washington Smithsonian Institution ISBN 1 56098 465 1 Portera Claire C Marlowe Frank W January 2007 PDF Journal of Archaeological Science 34 1 59 68 doi 10 1016 j jas 2006 03 014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 27 February 2008 subkhnemux 19 April 2016 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk The Cambridge Encyclopedia of Hunters and Gatherers Cambridge University Press 1999 ISBN 0 521 60919 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Kelly Raymond October 2005 The evolution of lethal intergroup violence PNAS 102 43 15294 8 doi 10 1073 pnas 0505955102 PMC 1266108 PMID 16129826 Wilmsen Edwin 1989 Land Filled With Flies A Political Economy of the Kalahari University of Chicago Press ISBN 0 226 90015 0 Lee Richard B Guenther Mathias 1995 Errors Corrected or Compounded A Reply to Wilmsen Current Anthropology 36 298 305 doi 10 1086 204361 Lee Richard B 1992 Art Science or Politics The Crisis in Hunter Gatherer Studies American Anthropologist 94 31 54 doi 10 1525 aa 1992 94 1 02a00030 Marlowe Frank W 2002 Ethnicity Hunter Gatherers and the Other Smithsonian Institution Press p 247 Shultziner Doron 2010 The causes and scope of political egalitarianism during the Last Glacial A multi disciplinary perspective Biology and Philosophy 25 319 346 doi 10 1007 s10539 010 9196 4 Peterson Nicolas Taylor John 1998 Demographic transition in a hunter gatherer population the Tiwi case 1929 1996 Australian Aboriginal Studies Australian Institute of Aboriginal and Torres Strait Islander Studies 1998 2015 5d 5d 5b 5bhmwdhmu bthkhwamthieriykichaemaebbodyiswnthiimthuktxng 5d 5d 5b 5bwikiphiediy lingkesiy lingkesiy 5d 5d Atlas of the Human Journey The Genographic Project National Geographic Society 1996 2008 subkhnemux 6 October 2009 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkha url help CS1 maint date format lingk The peopling of the Americas Genetic ancestry influences health Scientific American subkhnemux 17 November 2009 Alternate Migration Corridors for Early Man in North America American Antiquity 1 44 2 January 1979 JSTOR 279189 Eshleman Jason A Malhi Ripan S Smith David Glenn 2003 Mitochondrial DNA Studies of Native Americans Conceptions and Misconceptions of the Population Prehistory of the Americas pdf Evolutionary Anthropology University of Illinois at Urbana Champaign 12 7 18 doi 10 1002 evan 10048 subkhnemux 17 November 2009 Broster John 2002 Paleoindians in Tennessee Tennessee Department of Environment and Conservation Tennessee Historical Society Online Edition provided by The University of Tennessee Press subkhnemux 21 November 2009 Blame North America Megafauna Extinction On Climate Change Not Human Ancestors ScienceDaily 2001 subkhnemux 10 April 2010 Fiedel Stuart J 1992 Prehistory of the Americas Cambridge University Press p 151 ISBN 978 0 521 42544 5 subkhnemux 18 November 2009 Salomon Frank Schwartz Stuart B 28 December 1999 The Cambridge History of the Native Peoples of the Americas Cambridge University Press ISBN 978 0 521 63075 7 subkhnemux 17 November 2009 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter aehlngkhxmulxunBarnard A J ed 2004 Hunter gatherers in history archaeology and anthropology Berg ISBN 1 85973 825 7 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a author michuxeriykthwip help CS1 maint multiple names authors list lingk Bettinger R L 1991 Hunter gatherers archaeological and evolutionary theory Plenum Press ISBN 0 306 43650 7 Bowles Samuel Gintis Herbert 2011 A Cooperative Species Human Reciprocity and Its Evolution Princeton University Press ISBN 0 691 15125 3 Reviewed in The Montreal Review Brody Hugh 2001 The Other Side Of Eden hunter gatherers farmers and the shaping of the world North Point Press ISBN 0 571 20502 X Lee Richard B and Irven DeVore eds 1968 Man the hunter Aldine de Gruyter ISBN 0 202 33032 X a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a author michuxeriykthwip help CS1 maint multiple names authors list lingk Meltzer David J 2009 First peoples in a new world colonizing ice age America University of California Berkeley ISBN 0 520 25052 4 Morrison K D and L L Junker eds 2002 Forager traders in South and Southeast Asia long term histories Cambridge University Press ISBN 0 521 01636 3 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a author michuxeriykthwip help CS1 maint multiple names authors list lingk Panter Brick C R H Layton and P Rowley Conwy eds 2001 Hunter gatherers an interdisciplinary perspective Cambridge University Press ISBN 0 521 77672 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a author michuxeriykthwip help CS1 maint multiple names authors list lingk Turnbull Colin 1987 The Forest People Touchstone ISBN 978 0 671 64099 6 Mudar K Anderson New evidence for Southeast Asian Pleistocene foraging economies faunal remains from the early levels of Lang Rongrien rockshelter Krabi Thailand Asian Perspectives 46 2 298 334 doi 10 1353 asi 2007 0013 ewbistNature s Secret Larder Wild Foods amp Hunting Tools A wiki dedicated to the scientific study of the diversity of foraging societies without recreating myths Balmer Yves 2003 2009 Andaman Association a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint date format lingk