สิทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถคนในสังคมไทย กระทำได้ภายใต้กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้น ๆ ด้วยเหตุนี้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื่องจากในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ่งที่ระบบการเมือง และระบบกฎหมายจะต้องธำรงรักษาไว้ ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแล้วไซร้ การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ่ง ๆ ก็อาจนำมาซึ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื่น ๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพของพลเมืองจึงต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายที่รัฐกำหนดว่า สิ่งใดที่พลเมืองไม่อาจกระทำเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น หรือ สิ่งใดที่พลเมืองสามารถกระทำได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที่มาของการเกิดสิ่งซึ่งเรียกว่า สิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ่งในแง่นี้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน (Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามความคุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที่ตนเป็นพลเมืองอยู่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี้ พึงมีเหมือน ๆ กันไม่ว่าเขาจะอยู่ที่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง คือและที่มอบให้พลเมืองทุกคนตามกฎหมาย สิทธิพลเมืองนั้นเป็นสิทธิที่แยกออกจาก "สิทธิมนุษยชน" และ "สิทธิธรรมชาติ" กล่าวคือสิทธิพลเมืองเป็นสิทธิที่มอบให้โดยชาติและมีอยู่ภายในเขตแดนนั้น ในขณะที่สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิมนุษยชนนั้น เป็นสิทธิที่นักวิชาการจำนวนมากอ้างว่าปัจเจกบุคคลมีอยู่แต่กำเนิดโดยธรรมชาติ
อรรถาธิบาย
แน่นอนว่าแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิพลเมืองนั้นย่อมจะต้องเกิดขึ้นหลังจากที่สถานภาพของมนุษย์ในสังคมการเมืองนั้นได้ถูกแปรเปลี่ยนจาก “ไพร่” (subject) มาเป็น “พลเมือง” (citizen) เสียก่อน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้ได้เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ. 1789 ในฝรั่งเศส ที่ได้เปลี่ยนความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมจากเดิมที่มีสถานภาพเป็นชนชั้น หรือ ฐานันดรต่าง ๆ มาเป็นพลเมือง (citizen) ที่มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น การเกิดขึ้นของพลเมืองนี้ทำให้เกิดสัญญาประชาคมใหม่ที่พันธะของรัฐที่มีต่อพลเมืองเปลี่ยนไปจากเดิม หรือในอีกนัยหนึ่ง ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ปกครอง และผู้ถูกปกครองนั้นได้เปลี่ยนไป
การที่กล่าวว่าพลเมืองฝรั่งเศสในสมัยนั้นมีความเท่าเทียมกันก็เพราะภายหลังที่เกิดการปฏิวัติในเดือนสิงหาคมได้มีการร่างและการประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง” (declaration of the rights of man and of the citizen) ซึ่งปฏิญญาดังกล่าวนี้เองที่เป็นสิ่งรับประกันในความเท่าเทียมของการมีสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง ของประชาชนฝรั่งเศสทุก ๆ คน และเป็นที่มาของการเกิดสิ่งที่เราเรียกว่า “พลเมือง” ของรัฐที่เท่าเทียมกันขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกสมัยใหม่
หลักสิทธิพลเมืองที่ปฏิญญาดังกล่าวนี้ได้แถลงไว้ ได้แก่ การมี และใช้เสรีภาพภายใต้กรอบที่กฎหมายกำหนด สิทธิในการถือครองกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินส่วนบุคคล (property rights) สิทธิในการต่อต้านการใช้อำนาจที่ไม่ชอบธรรมของรัฐ (rights of resistance) สิทธิในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ สิทธิของผู้ต้องหา (rights of the accused) และที่สำคัญที่สุดก็คือ สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ (freedom of expression) เป็นต้น
ภายหลังเมื่อรัฐต่าง ๆ ในโลกได้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่สมัยใหม่ และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแล้ว แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิพลเมือง หรือ สิทธิพื้นฐานทางการเมืองที่พลเมืองทุกๆ คนของรัฐพึงมีนั้นจึงได้แพร่หลายออกไป เพราะในระบอบประชาธิปไตยนั้นประชาชนทุกๆคนคือที่มาของอำนาจอันชอบธรรมของการใช้อำนาจรัฐ ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิพลเมืองจึงได้หยั่งรากลึก และขยายขอบเขตออกไปกว้างขวางกว่าเดิมในสภาวการณ์ของโลกที่ปกครองด้วยระบอบเสรีประชาธิปไตย
การขยายตัวดังกล่าวเห็นได้ชัดเจนในสหรัฐฯ ที่เกิดขบวนการที่รู้จักกันในชื่อ “ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง” (civil rights movement) อันเกิดจากปัญหาความขัดแย้งที่มีที่มาจากแนวคิด “แบ่งแยกแต่เท่าเทียม” (Separate but Equal) ของคนที่มีสีผิวแตกต่างในสังคมอเมริกันในช่วงศตวรรษที่ 20 อันก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของพลเมืองอเมริกันขึ้น โดยมีการกีดกัน (segregation) คนผิวดำ ตั้งแต่การแบ่งแยกการใช้ห้องสุขา การใช้รถสาธารณะ ไปจนถึงการห้ามคนผิวดำพักค้างคืนในเมือง (ภายใต้กฎหมายที่ชื่อ “Sundown Ordinance” ของมลรัฐโอไฮโอ และโอเรกอน) จนกระทั่งเมื่อหญิงสาวผิวดำที่ชื่อ โรซา พาร์ค (Rosa Parks) ได้ปฏิเสธนโยบายการแบ่งแยกสีผิวในรถเมล์ด้วยการเข้าไปนั่งในบริเวณของคนผิวขาวในปี ค.ศ. 1955 ซึ่งได้กลายเป็นชนวนเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อเรียกร้องสิทธิพลเมืองที่เท่าเทียมกันในช่วงทศวรรษ 1950–1980 ขึ้น จนกระทั่งท้ายที่สุดรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ได้มีการประกาศรัฐบัญญัติสิทธิพลเมือง (Civil Rights Act of 1875) ขึ้นในปี ค.ศ. 1875 อันทำให้พลเมืองสหรัฐฯ ทุก ๆ คนนั้นมีสิทธิที่เท่าเทียมกัน ภายใต้หลักการให้ความคุ้มครองอย่างเสมอภาคภายใต้กฎหมาย (equal protection of the laws) ของรัฐธรรมนูญสหรัฐฯ ที่มีมาแต่เดิมนั่นเอง (Wasserman, 2000,123-127)
ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย
ประเทศไทยนั้นกล่าวถึงสิทธิพลเมืองขึ้นครั้งแรกภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที่ได้เปลี่ยนสถานภาพคนไทยจาก “ไพร่” มาเป็น “พลเมือง” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้อำนาจนั้น “เป็นของราษฎรทั้งหลาย” (พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2475) เพราะภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ฐานที่มาของความชอบธรรมในการใช้อำนาจรัฐได้เปลี่ยนแปลงจากเบื้องบน คือจากตัวพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นจากเบื้องล่าง คือจากประชาชนชาวไทยทุก ๆ คน ผ่านระบบตัวแทนจากการเลือกตั้งที่เสรี และเป็นธรรม (free and fair elections) โดยมีการกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิของประชาชนชาวไทยไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนตั้งแต่ไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก (คือรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) ดังจะเห็นจากมาตรา 12 ของรัฐธรรมนูญที่บัญญัติไว้ว่า
“...บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายฐานันดรศักดิ์โดยกำเนิดก็ดี โดยแต่งตั้งก็ดี หรือประการอื่นใดก็ดีไม่กระทำให้เกิดเอกสิทธิ์อย่างใดเลย” หรือในมาตรา 14 ที่ว่า “...บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปิดเผย การตั้งสมาคม การอาชีพ”
จะเห็นได้ว่าสิทธิพื้นฐานทางการเมืองเหล่านี้ซึ่งได้รับอิทธิพล และแบบอย่างมาจากตะวันตกอย่างชัดเจน ได้กลายมาเป็นมาตรฐานที่รัฐให้การรับรอง และถูกบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญทุก ๆ ฉบับที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา (โดยไม่นับรวมธรรมนูญการปกครองของคณะรัฐประหาร) หรือแม้แต่การบัญญัติสิทธิพลเมืองเพิ่มเติม เช่น สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ เป็นต้น ทว่าในทางปฏิบัติ สิทธิพลเมืองบางอย่าง เช่น สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี (freedom of expression) ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในสังคมไทยว่ายังคงถูกจำกัดภายใต้กรอบคิดบางประการ
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- สิทธิพลเมือง อธิปไตยของปวงชน : ฐานะและบทบาทที่ลดลง,
อ้างอิง
- Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
- Wasserman, David (2000). The basics of American politics. New York: Long man.
- สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2557), คำและแนวคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่, เข้าถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ใน http://www.fes-thailand.org/wb/media/documents/Democ%20Terms%20and%20Concept%20Handbook_Final28112014_compressed%282%29.pdf 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
siththiphlemuxng Civil Rights hmaythung karthiphlemuxngkhxngrth odyechphaaxyangyinginrthsmyihmsamarthkhninsngkhmithy krathaidphayitkrxbkhxngkdhmaybanemuxngkhxngsngkhmnn dwyehtuni siththiphlemuxngcungsxnthbxyukbsiththithangkaremuxng political rights enuxngcakinsngkhm aelakaremuxngkarpkkhrxngsmyihmnn esriphaphcdidwaepnkhunthrrmrakthanprakarhnungthirabbkaremuxng aelarabbkdhmaycatxngtharngrksaiw thwahakphlemuxngthukkhnmiesriphaphxyangimcakdaelwisr karichesriphaphkhxngphlemuxngkhnhnung kxacnamasungkarlaemidkarmiesriphaphkhxngphlemuxngkhnxun inrthidechnkn dngnn esriphaphkhxngphlemuxngcungtxngxyuphayitkrxbkhxngkdhmaythirthkahndwa singidthiphlemuxngimxackrathaephraacaepnkarlaemidesriphaphkhxngphuxun hrux singidthiphlemuxngsamarthkrathaidxyangxisraodyprascakkarkhwbkhumkhxngrth epnthimakhxngkarekidsingsungeriykwa siththithangkaremuxng hrux siththiphlemuxng Kurian 2011 235 sunginaengnisiththiphlemuxngcamikhwamhmayaelakhxbekhtaekhbkwasiththimnusychn Human Rights ephraasiththiphlemuxngcaepnsiththithiphlemuxngthuk khnmiinthanaphlemuxngkhxngrth sungxacaetktangkniptamkhwamkhumkhrxngodykdhmaykhxngrththitnepnphlemuxngxyu aetsiththimnusychnnnepnsiththisaklthimnusythukphukhnbnolkni phungmiehmuxn knimwaekhacaxyuthiid hrux epnphlemuxngkhxngrthidktam siththiphlemuxngaelasiththithangkaremuxng hrux siththithangaephngaelasiththithangkaremuxng khuxaelathimxbihphlemuxngthukkhntamkdhmay siththiphlemuxngnnepnsiththithiaeykxxkcak siththimnusychn aela siththithrrmchati klawkhuxsiththiphlemuxngepnsiththithimxbihodychatiaelamixyuphayinekhtaednnn inkhnathisiththithrrmchatihruxsiththimnusychnnn epnsiththithinkwichakarcanwnmakxangwapceckbukhkhlmixyuaetkaenidodythrrmchatixrrthathibayaennxnwaaenwkhidekiywkbsiththiphlemuxngnnyxmcatxngekidkhunhlngcakthisthanphaphkhxngmnusyinsngkhmkaremuxngnnidthukaeprepliyncak iphr subject maepn phlemuxng citizen esiykxn sungkarepliynaeplngthiwaniidekidkhunkhrngaerkphayhlngkarptiwtiihyinpi kh s 1789 infrngess thiidepliynkhwamsmphnthkhxngphukhninsngkhmcakedimthimisthanphaphepnchnchn hrux thanndrtang maepnphlemuxng citizen thimikhwamethaethiymknmakkhun karekidkhunkhxngphlemuxngnithaihekidsyyaprachakhmihmthiphnthakhxngrththimitxphlemuxngepliynipcakedim hruxinxiknyhnung khwamsmphnthechingxanacrahwangphupkkhrxng aelaphuthukpkkhrxngnnidepliynip karthiklawwaphlemuxngfrngessinsmynnmikhwamethaethiymknkephraaphayhlngthiekidkarptiwtiineduxnsinghakhmidmikarrangaelakarprakas ptiyyawadwysiththimnusychnaelaphlemuxng declaration of the rights of man and of the citizen sungptiyyadngklawniexngthiepnsingrbprakninkhwamethaethiymkhxngkarmisiththithangkaremuxng hrux siththiphlemuxng khxngprachachnfrngessthuk khn aelaepnthimakhxngkarekidsingthieraeriykwa phlemuxng khxngrththiethaethiymknkhunepnkhrngaerkkhxngolksmyihm hlksiththiphlemuxngthiptiyyadngklawniidaethlngiw idaek karmi aelaichesriphaphphayitkrxbthikdhmaykahnd siththiinkarthuxkhrxngkrrmsiththithrphysinswnbukhkhl property rights siththiinkartxtankarichxanacthiimchxbthrrmkhxngrth rights of resistance siththiinkartrwcsxbkarichxanacrth siththikhxngphutxngha rights of the accused aelathisakhythisudkkhux siththiinkaraesdngkhwamkhidehnxyangxisra freedom of expression epntn phayhlngemuxrthtang inolkidepliynaeplngekhasusmyihm aelapkkhrxngdwyrabxbprachathipityaelw aenwkhidekiywkbsiththiphlemuxng hrux siththiphunthanthangkaremuxngthiphlemuxngthuk khnkhxngrthphungminncungidaephrhlayxxkip ephraainrabxbprachathipitynnprachachnthukkhnkhuxthimakhxngxanacxnchxbthrrmkhxngkarichxanacrth dngnn aenwkhidekiywkbsiththiphlemuxngcungidhyngrakluk aelakhyaykhxbekhtxxkipkwangkhwangkwaediminsphawkarnkhxngolkthipkkhrxngdwyrabxbesriprachathipity karkhyaytwdngklawehnidchdecninshrth thiekidkhbwnkarthiruckkninchux khbwnkareriykrxngsiththiphlemuxng civil rights movement xnekidcakpyhakhwamkhdaeyngthimithimacakaenwkhid aebngaeykaetethaethiym Separate but Equal khxngkhnthimisiphiwaetktanginsngkhmxemrikninchwngstwrrsthi 20 xnkxihekidkhwamimethaethiymknkhxngphlemuxngxemriknkhun odymikarkidkn segregation khnphiwda tngaetkaraebngaeykkarichhxngsukha karichrthsatharna ipcnthungkarhamkhnphiwdaphkkhangkhuninemuxng phayitkdhmaythichux Sundown Ordinance khxngmlrthoxihox aelaoxerkxn cnkrathngemuxhyingsawphiwdathichux orsa pharkh Rosa Parks idptiesthnoybaykaraebngaeyksiphiwinrthemldwykarekhaipnnginbriewnkhxngkhnphiwkhawinpi kh s 1955 sungidklayepnchnwnehtusakhythikxihekidkartxsuephuxeriykrxngsiththiphlemuxngthiethaethiymkninchwngthswrrs 1950 1980 khun cnkrathngthaythisudrthbalklangshrth idmikarprakasrthbyytisiththiphlemuxng Civil Rights Act of 1875 khuninpi kh s 1875 xnthaihphlemuxngshrth thuk khnnnmisiththithiethaethiymkn phayithlkkarihkhwamkhumkhrxngxyangesmxphakhphayitkdhmay equal protection of the laws khxngrththrrmnuyshrth thimimaaetedimnnexng Wasserman 2000 123 127 twxyangkarnaipichinpraethsithypraethsithynnklawthungsiththiphlemuxngkhunkhrngaerkphayhlngcakkarepliynaeplngkarpkkhrxnginpi ph s 2475 thiidepliynsthanphaphkhnithycak iphr maepn phlemuxng tambthbyytikhxngrththrrmnuythikahndihxanacnn epnkhxngrasdrthnghlay phrarachbyytithrrmnuykarpkkhrxngaephndinsyamchbbchwkhraw phuththskrach 2475 ephraaphayhlngcakkarepliynaeplngkarpkkhrxng thanthimakhxngkhwamchxbthrrminkarichxanacrthidepliynaeplngcakebuxngbn khuxcaktwphramhakstriyinrabxbsmburnayasiththirachy maepncakebuxnglang khuxcakprachachnchawithythuk khn phanrabbtwaethncakkareluxktngthiesri aelaepnthrrm free and fair elections odymikarkahndbthbyytiwadwysiththikhxngprachachnchawithyiwinrththrrmnuyxyangchdecntngaetithymirththrrmnuychbbthawrchbbaerk khuxrththrrmnuychbbwnthi 10 thnwakhm ph s 2475 dngcaehncakmatra 12 khxngrththrrmnuythibyytiiwwa bukhkhlyxmesmxkninkdhmaythanndrskdiodykaenidkdi odyaetngtngkdi hruxprakarxunidkdiimkrathaihekidexksiththixyangidely hruxinmatra 14 thiwa bukhkhlyxmmiesriphaphbriburninrangkay ekhhsthan thrphysin karphud karekhiyn karokhsna karsuksaxbrm karprachumodyepidephy kartngsmakhm karxachiph caehnidwasiththiphunthanthangkaremuxngehlanisungidrbxiththiphl aelaaebbxyangmacaktawntkxyangchdecn idklaymaepnmatrthanthirthihkarrbrxng aelathukbrrcuiwinrththrrmnuythuk chbbthiekidkhuninewlatxma odyimnbrwmthrrmnuykarpkkhrxngkhxngkhnarthprahar hruxaemaetkarbyytisiththiphlemuxngephimetim echn siththiinkarchumnumodysngbaelaprascakxawuth epntn thwainthangptibti siththiphlemuxngbangxyang echn siththiinkaraesdngkhwamkhidehnxyangesri freedom of expression kyngkhngepnthithkethiyngkninsngkhmithywayngkhngthukcakdphayitkrxbkhidbangprakarduephimktikarahwangpraethswadwysiththiphlemuxngaelasiththithangkaremuxngaehlngkhxmulxunsiththiphlemuxng xthipitykhxngpwngchn thanaaelabthbaththildlng bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhkxangxingKurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press Wasserman David 2000 The basics of American politics New York Long man siriphrrn nkswn swsdi 2557 khaaelaaenwkhidprachathipitysmyihm ekhathungwnthi 1 phvsphakhm 2558 in http www fes thailand org wb media documents Democ 20Terms 20and 20Concept 20Handbook Final28112014 compressed 282 29 pdf 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin