การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (อังกฤษ: Cardiopulmonary resuscitation) หรือ ซีพีอาร์ เป็นหัตถการฉุกเฉินทางการแพทย์สำหรับผู้ที่หัวใจหยุดเต้น หรือหยุดหายใจในบางกรณี อาจทำโดย หรือโดยคนทั่วไปที่ได้รับการฝึกก็ได้
การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (Cardiopulmonary resuscitation) | |
---|---|
หัตถการและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ | |
การฝึกการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพกับหุ่นจำลอง | |
99.60 | |
MeSH | D016887 |
8-771 |
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นประกอบด้วยการจำลอง (เช่น การนวดหัวใจ) และการจำลองการหายใจ (เช่น การผายปอด) อย่างไรก็ดี ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) และสภาการกู้ชีพยุโรป (European Resuscitation Council) เสนอให้เห็นถึงผลดีของการนวดหัวใจเพียงอย่างเดียวโดยไม่ต้องผายปอดสำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นผู้ใหญ่ ส่วนการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นยังคงทำอยู่เป็นส่วนหนึ่งของการกู้ชีวิตระดับสูงจนกว่าหัวใจของผู้ป่วยจะกลับมาเต้นตามปกติ หรือเสียชีวิต
หลักการของการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพไม่ใช่การทำให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่ แต่เป็นเพื่อรักษาให้มีการไหลเวียนของเลือดนำออกซิเจนไปเลี้ยงสมองและหัวใจ เป็นการชะลอการตายของเนื้อเยื่อและเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะฟื้นกลับขึ้นมาโดยไม่มีความเสียหายถาวรเกิดขึ้นกับสมอง ปกติแล้วการกระตุ้นให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่จะต้องใช้การกู้ชีพขั้นสูง เช่น การช็อตไฟฟ้าหัวใจ
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นใช้สำหรับบุคคลที่ไม่ตอบสนอง (unresponsive) และไม่หายใจหรือหายใจเฮือก มีโอกาสมากที่จะอยู่ในภาวะหัวใจหยุด: S643 ถ้ายังมีชีพจรอยู่แต่ไม่หายใจ (ภาวะหายใจหยุด) ควรเริ่มการช่วยหายใจมากกว่า อย่างไรก็ดีผู้ช่วยชีวิตหลายคนอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการจับชีพจร คำแนะนำใหม่จึงกำหนดให้ผู้ช่วยชีวิตที่เป็นคนทั่วไปไม่ต้องพยายามจับชีพจร และให้เริ่มการช่วยชีวิตไปเลย ส่วนผู้ช่วยชีวิตที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์สามารถพิจารณาจับชีพจรก่อนเริ่มการช่วยชีวิตได้ตามเห็นสมควร
วิธีการ
พ.ศ. 2553 และได้ปรับปรุงแนงทางปฏิบัติการกู้ชีพขึ้นใหม่: S640 มีการให้ความสัมพันธ์กับคุณภาพของการกู้ชีพ โดยเฉพาะอัตราเร็วและความลึกของการกดหน้าอกร่วมกับการไม่ทำให้เกิดภาวะหายใจเกิน: S640 มีการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนการช่วยชีวิตสำหรับทุกช่วงอายุยกเว้นทารก โดยเปลี่ยนจาก ABC (ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียน) เป็น CAB (การกดหน้าอก ทางเดินหายใจ การหายใจ): S642 โดยมีข้อยกเว้นเฉพาะผู้ป่วยที่ชัดเจนว่ามีภาวะหายใจหยุด เช่น จมน้ำ เป็นต้น: S642
แบบมาตรฐาน
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจที่แนะนำคือ 30:2: 8 ส่วนในเด็กหากมีผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแนะนำให้ใช้อัตราส่วน 15:2: 8 ในทารกแรกเกิดใช้อัตราส่วน 3:1 เว้นแต่รู้อยู่ก่อนว่าเป็นภาวะหัวใจหยุดที่มีสาเหตุมาจากหัวใจโดยตรง (cardiac cause) ให้ใช้อัตราส่วน 15:2 ได้: S647 หากได้เริ่มการช่วยหายใจขั้นสูงแล้ว (เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจทางหลอดลม หรือ) ให้ดำเนินการช่วยหายใจและกดหน้าอกไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องนับเป็นจังหวะอัตราส่วน โดยให้ช่วยหายใจด้วยอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที ลำดับของการช่วยเหลือที่แนะนำคือให้เริ่มจากการกดหน้าอก (Chest compression) ช่วยทางเดินหายใจ (Airway) และตามด้วยการช่วยหายใจ (Breathing) คือลำดับ CAB เว้นแต่มีข้อบ่งชี้อื่น: S642 โดยกดหน้าอกเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที: 8 ความลึกของการกดหน้าอกสำหรับผู้ใหญ่และเด็กคือประมาณ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว) และในทารกคือประมาณ 4 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว): 8 ใน ค.ศ. 2010 Resuscitation council ของอังกฤษยังแนะนำให้ใช้ลำดับการช่วยเหลือ ABC ในการช่วยกู้ชีพเด็ก เนื่องจากการจับชีพจรอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ช่วยเหลือที่เป็นคนทั่วไปจึงได้ตัดขั้นตอนนี้ออก แม้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ก็ไม่แนะนำให้เสียเวลากับการพยายามจับชีพจรนานเกิน 10 วินาที: 8 ในการกดหน้าอกผู้ใหญ่ให้ใช้สองมือ ในเด็กใช้มือเดียว และในทารกใช้สองนิ้ว
แบบกดหน้าอกอย่างเดียว
หมายถึงการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจ: S643 เป็นวิธีที่ให้ใช้ได้สำหรับผู้ช่วยเหลือที่ไม่ได้รับการฝึกฝนมาก่อนหรือไม่เชี่ยวชาญเนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถทำไปพร้อมกับรับคำแนะนำทางโทรศัพท์ได้โดยง่าย: S643 : 8 วิธีการกดหน้าอกเหมือนกันกับในวิธีมาตรฐานคือกดด้วยอัตราอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที เชื่อว่าการแนะนำให้มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจนี้จะทำให้มีผู้ช่วยเหลือที่สมัครใจจะเข้ามาช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นได้มากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพเป็นทางเลือกสุดท้ายของการช่วยชีวิตซึ่งหากไม่ได้ทำแล้วผู้ป่วยที่ไม่มีชีพจรจะเสียชีวิตอย่างแน่นอน ธรรมชาติของลักษณะการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพย่อมนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขภายหลัง ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยได้แก่ เลือดออกใน ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับ การบาดเจ็บต่อ และภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับเนื้อเยื่อปอด เป็นต้น
การบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดจากการช่วยกู้ชีพคือกระดูกซี่โครงหัก จากการศึกษาวิจัยพบว่ามีโอกาสเกิดประมาณ 13-97% และกระดูกสันอกหักซึ่งมีโอกาสเกิดประมาณ 1-43% ภาวะเหล่านี้ถือเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการให้การรักษา (iatrogenic) และอาจทำให้จำเป็นต้องได้รับการรักษาเพิ่มเติม (หากผู้ป่วยรอดชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดได้) แต่ภาวะเหล่านี้เพียง 0.5% เท่านั้นที่เป็นมากจนถือว่าเป็นอันตรายต่อชีวิต
โอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บชนิดใดหรือเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนขึ้นกับปัจจัยหลายอย่างเช่นเพศและอายุ เช่น ผู้หญิงมีโอกาสเกิดกระดูกสันอกหักมากกว่าผู้ชาย ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดกระดูกซี่โครงหักมากกว่าคนอายุน้อย เป็นต้น ผู้ป่วยเด็กและทารกมีโอกาสเกิดกระดูกซี่โครงหักน้อยโดยมีโอกาสประมาณ 0-2% ซึ่งหากเกิดมักเป็นกระดูกซี่โครงด้านหน้าหักและหักหลายชิ้น
ในกรณีที่มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพในผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะหัวใจหยุด มีผู้ได้รับบาดเจ็บดังกล่าวเพียงประมาณ 2% (แต่มีความรู้สึกเจ็บหรือไม่สบายตัวประมาณ 12%)
วิทยาการระบาด
โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพ
มีการศึกษาวิจัยหลายชิ้นที่พบว่าโอกาสที่ผู้ที่มีหัวใจหยุดนอกที่พักอาศัยจะได้รับการช่วยกู้ชีพจากผู้เห็นเหตุการณ์ที่เป็นคนทั่วไปหรือคนในครอบครัวอยู่ที่ 14% - 45% โดยมีมัธยฐานอยู่ที่ 32% บ่งบอกว่าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกที่พักอาศัยประมาณหนึ่งในสามได้รับการช่วยเหลือด้วยการช่วยกู้ชีพ อย่างไรก็ดีประสิทธิภาพของการช่วยกู้ชีพที่ได้รับนั้นมีความแตกต่างกันไป การศึกษาวิจัยบางชิ้นพบว่าผู้ช่วยกู้ชีพเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่ทำการช่วยกู้ชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง งานวิจัยใหม่พบว่าคนทั่วไปที่เคยได้รับการอบรมการช่วยกู้ชีพส่วนใหญ่ไม่มีความมั่นใจและความสามารถที่เพียงพอในการช่วยกู้ชีพให้เหมาะสม ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เชื่อว่าควรมีการปรับปรุงคุณภาพของการฝึกสอนการกู้ชีพ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกมีความมั่นใจที่จะให้การกู้ชีพได้ดีมากขึ้น
โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพทันเวลา
การช่วยกู้ชีพจะมีโอกาสประสบผลสำเร็จก็ต่อเมื่อได้เริ่มทำภายใน 6 นาที หลังการไหลเวียนของเลือดหยุดลงเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่เนื้อสมองส่วนที่ขาดเลือดจะเสียหายอย่างถาวร เซลล์สมองเหล่านี้เมื่อขาดออกซิเจนเป็นเวลา 4-6 นาที ก็จะมีความเสียหายเกิดขึ้นและไม่สามารถกลับคืนเป็นปกติได้แม้ได้รับออกซิเจนกลับเข้าไปตามเดิม อาจมีข้อยกเว้นในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดหัวใจหยุดเต้นในสภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำมากๆ เนื่องจากภาวะอุณหภูมิกายต่ำจะลดอัตราของกระบวนการทางกายภาพและทางเมตาบอลิกลง ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ต้องการออกซิเจนลดลง มีผู้ป่วยบางรายที่หัวใจหยุดเต้นในภาวะอุณหภูมิกายต่ำแล้วรอดชีวิตจากการให้การช่วยกู้ชีพด้วยการนวดหัวใจผายปอด การช็อกไฟฟ้า และการให้อุณหภูมิด้วยเทคนิกขั้นสูง ได้
ประวัติศาสตร์
ในศตวรรษที่ 19 นายแพทย์ H. R. Silvester ได้อธิบายวิธีการจำลองการหายใจในผู้ป่วยที่ไม่หายใจโดยให้นอนหงาย ยกแขนขึ้นเหนือศีรษะเพื่อให้เกิดการหายใจเข้า ร่วมกับการกดหน้าอกเพื่อใหเกิดการหายใจออก โดยให้ทำต่อเนื่อง 16 ครั้งต่อนาที วิธีการนี้เรียกว่า The Silvester Method พบได้ในภาพยนตร์บางเรื่องช่วงต้นศตวรรษที่ 20
เทคนิคที่ 2 เรียกว่า Holger Neilson technique ซึ่งมีการอธิบายไว้ในคู่มือลูกเสือ (Boy Scout Handbook) ของสหรัฐอเมริกา ฉบับที่ 1 ปี ค.ศ. 1911 เสนอการช่วยหายใจโดยให้นอนคว่ำทับฝ่ามือ ตะแคงหน้า ให้ผู้ช่วยเหลือดึงข้อศอกขึ้นเพื่อกางแขนพร้อมกับกดหลังทำให้อากาศไหลเข้าปอด คล้ายกับการทำ Silvester Method แต่ทำในท่านอนคว่ำ วิธีการนี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงทศวรรษ 1950 (ปรากฏในภาพยนตร์ Lassie) รวมถึงปรากฏในภาพยนตร์การ์ตูนหลายเรื่อง และบ่อยครั้งเป็นไปเพื่อความขบขัน (ภาพยนตร์การ์ตูน Tom and Jerry ตอน The Cat and the Mermouse) และยังคงลงอธิบายอยู่ในหนังสือคู่มือลูกเสือควบคู่กับวิธีซีพีอาร์แบบสมัยใหม่จนถึงฉบับที่ 9 ใน ค.ศ. 1979 ก่อนที่จะถูกห้ามให้ลงในคู่มือกู้ชีพในสหราชอาณาจักร
ในกลางศตวรรษที่ 20 สังคมการแพทย์เริ่มรับรู้และแนะนำให้คนทั่วไปใช้การช่วยการหายใจร่วมกับการกดหน้าอกเป็นการกู้ชีพหลังเกิดภาวะหัวใจหยุด โดยมีการใช้ครั้งแรกในวิดีโอฝึกสอนปี 1962 ชื่อ "The Pulse of Life" โดย James Dude, Guy Knickerbocker และ Peter Safar โดย Jude และ Knickerbocker ร่วมกับ William Kouwenhoven และ Joseph S. Redding ได้ค้นพบวิธีการนวดหัวใจจากภายนอก ในขณะที่ Safar ได้ทำงานร่วมกับ Redding และ James Elam เพื่อพิสูจน์ประสิทธิผลของการช่วยหายใจ ส่วนเทคนิกการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัย Johns Hopkins ความพยายามแรกในการนำเทคนิกนี้มาใช้เป็นการทำกับสุนัขโดย Redding, Safar และ JW Perason หลังจากนั้นไม่นานก็มีการนำมาใช้ช่วยชีวิตเด็ก ผลการค้นพบที่ทำร่วมกันนี้ได้รับการนำเสนอที่งานประชุม Maryland Medical Society ประจำปีเมื่อวันที่ 16 กันยายน 1960 ในเมือง Ocean หลังจากนั้นจึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและรวดเร็วในช่วงทศวรรษต่อมา ด้วยความช่วยเหลือจากวีดิทัศน์และงานบรรยายที่พวกเขาได้ไปบรรยาย Peter Safar ได้เขียนหนังสือ ABC of resuscitation ไว้ในปี 1957 และได้รับการสนับสนุนให้มีการเผยแพร่แก่สาธารณชนให้เกิดการเรียนรู้ในช่วงทศวรรษปี 1970
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เรียกข้อมูลวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552.
- "US National Library of Medicine Encyclopedia - Definition of CPR". สืบค้นเมื่อ 2007-06-12. (อังกฤษ)
- "US Red Cross list of courses for all skill levels". สืบค้นเมื่อ 2007-06-12. (อังกฤษ)
- "Resuscitation Council UK Comment on Compression Only CPR". สืบค้นเมื่อ 2007-06-12. (อังกฤษ)
- "Hands-Only (Compression-Only) Cardiopulmonary Resuscitation: A Call to Action for Bystander Response to Adults Who Experience Out-of-Hospital Sudden Cardiac Arrest". สืบค้นเมื่อ 2008-04-02. (อังกฤษ)
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-13. สืบค้นเมื่อ 2008-06-13. (อังกฤษ)
- Field JM, Hazinski MF, Sayre MR; และคณะ (November 2010). "Part 1: executive summary: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care". Circulation. 122 (18 Suppl 3): S640–56. doi:10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970889. PMID 20956217.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - European Resuscitation Council (2005), "Guidelines for resuscitation", Part 2, "Adult basic life support": "The following is a summary of the evidence-based recommendations for the performance of basic life support: Rescuers begin CPR if the victim is unconscious, not moving, and not breathing (ignoring occasional gasps).[...]"", available at https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/ 2010-05-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Hazinski MF, Nolan JP, Billi JE; และคณะ (October 2010). "Part 1: executive summary: 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations". Circulation. 122 (16 Suppl 2): S250–75. doi:10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970897. PMID 20956249.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - (PDF). American Heart Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (pdf)เมื่อ 2017-01-06.
- Berg RA, Hemphill R, Abella BS; และคณะ (November 2010). "Part 5: adult basic life support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care". Circulation. 122 (18 Suppl 3): S685–705. doi:10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970939. PMID 20956221.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-05-27. สืบค้นเมื่อ 2010-10-24.
- Mohun, Janet; และคณะ. First Aid Manual. St John Ambulance, St Andrews Ambulance and British Red Cross.
- Hüpfl M, Selig HF, Nagele P (October 2010). "Chest-compression-only versus standard cardiopulmonary resuscitation: a meta-analysis". Lancet. 376 (9752): 1552–7. doi:10.1016/S0140-6736(10)61454-7. PMC 2987687. PMID 20951422.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Ewy, Gordon A (June 2008). . EMS Magazine. Cygnus. 37 (6): 41–49. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-03. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karnwdhwicphaypxdkuchiph xngkvs Cardiopulmonary resuscitation hrux siphixar epnhtthkarchukechinthangkaraephthysahrbphuthihwichyudetn hruxhyudhayicinbangkrni xacthaody hruxodykhnthwipthiidrbkarfukkidkarnwdhwicphaypxdkuchiph Cardiopulmonary resuscitation htthkaraelakartrwcthanghxngptibtikarkarfukkarnwdhwicphaypxdkuchiphkbhuncalxng99 60MeSHD0168878 771 tlxd 50 pithiphanma karnwdhwicphaypxdkuchiphnnprakxbdwykarcalxng echn karnwdhwic aelakarcalxngkarhayic echn karphaypxd xyangirkdi ineduxnminakhm ph s 2551 smakhmorkhhwicaehngshrthxemrika American Heart Association aelasphakarkuchiphyuorp European Resuscitation Council esnxihehnthungphldikhxngkarnwdhwicephiyngxyangediywodyimtxngphaypxdsahrbphupwyhwichyudetnphuihy swnkarnwdhwicphaypxdkuchiphnnyngkhngthaxyuepnswnhnungkhxngkarkuchiwitradbsungcnkwahwickhxngphupwycaklbmaetntampkti hruxesiychiwit hlkkarkhxngkarnwdhwicphaypxdkuchiphimichkarthaihhwicetnkhunihm aetepnephuxrksaihmikarihlewiynkhxngeluxdnaxxksiecnipeliyngsmxngaelahwic epnkarchalxkartaykhxngenuxeyuxaelaephimoxkasthiphupwycafunklbkhunmaodyimmikhwamesiyhaythawrekidkhunkbsmxng pktiaelwkarkratunihhwicetnkhunihmcatxngichkarkuchiphkhnsung echn karchxtiffahwickhxbngchikhxbngchikhxngkarerimkarnwdhwicphaypxdkuchiphnnichsahrbbukhkhlthiimtxbsnxng unresponsive aelaimhayichruxhayicehuxk mioxkasmakthicaxyuinphawahwichyud S643 thayngmichiphcrxyuaetimhayic phawahayichyud khwrerimkarchwyhayicmakkwa xyangirkdiphuchwychiwithlaykhnxacimmikhwamechiywchayinkarcbchiphcr khaaenanaihmcungkahndihphuchwychiwitthiepnkhnthwipimtxngphyayamcbchiphcr aelaiherimkarchwychiwitipely swnphuchwychiwitthiepnbukhlakrthangkaraephthysamarthphicarnacbchiphcrkxnerimkarchwychiwitidtamehnsmkhwrwithikarph s 2553 aelaidprbprungaenngthangptibtikarkuchiphkhunihm S640 mikarihkhwamsmphnthkbkhunphaphkhxngkarkuchiph odyechphaaxtraerwaelakhwamlukkhxngkarkdhnaxkrwmkbkarimthaihekidphawahayicekin S640 mikarepliynaeplngladbkhntxnkarchwychiwitsahrbthukchwngxayuykewnthark odyepliyncak ABC thangedinhayic karhayic karihlewiyn epn CAB karkdhnaxk thangedinhayic karhayic S642 odymikhxykewnechphaaphupwythichdecnwamiphawahayichyud echn cmna epntn S642 aebbmatrthan xtraswnkarkdhnaxktxkarchwyhayicthiaenanakhux 30 2 8 swninedkhakmiphuchwyehluxtngaet 2 khnkhunipaenanaihichxtraswn 15 2 8 intharkaerkekidichxtraswn 3 1 ewnaetruxyukxnwaepnphawahwichyudthimisaehtumacakhwicodytrng cardiac cause ihichxtraswn 15 2 id S647 hakiderimkarchwyhayickhnsungaelw echn isthxchwyhayicthanghlxdlm hrux ihdaeninkarchwyhayicaelakdhnaxkipidxyangtxenuxngodyimtxngnbepncnghwaxtraswn odyihchwyhayicdwyxtra 8 10 khrngtxnathi ladbkhxngkarchwyehluxthiaenanakhuxiherimcakkarkdhnaxk Chest compression chwythangedinhayic Airway aelatamdwykarchwyhayic Breathing khuxladb CAB ewnaetmikhxbngchixun S642 odykdhnaxkerwxyangnxy 100 khrngtxnathi 8 khwamlukkhxngkarkdhnaxksahrbphuihyaelaedkkhuxpraman 5 esntiemtr 2 niw aelaintharkkhuxpraman 4 esntiemtr 1 5 niw 8 in kh s 2010 Resuscitation council khxngxngkvsyngaenanaihichladbkarchwyehlux ABC inkarchwykuchiphedk enuxngcakkarcbchiphcrxacepneruxngyaksahrbphuchwyehluxthiepnkhnthwipcungidtdkhntxnnixxk aemcaepnbukhlakrthangkaraephthykimaenanaihesiyewlakbkarphyayamcbchiphcrnanekin 10 winathi 8 inkarkdhnaxkphuihyihichsxngmux inedkichmuxediyw aelaintharkichsxngniw aebbkdhnaxkxyangediyw hmaythungkarkdhnaxkephuxchwykuchiphodyimmikarchwyhayic S643 epnwithithiihichidsahrbphuchwyehluxthiimidrbkarfukfnmakxnhruximechiywchayenuxngcakepnwithithisamarththaipphrxmkbrbkhaaenanathangothrsphthidodyngay S643 8 withikarkdhnaxkehmuxnknkbinwithimatrthankhuxkddwyxtraxyangnxy 100 khrngtxnathi echuxwakaraenanaihmikarkdhnaxkephuxkuchiphodyimmikarchwyhayicnicathaihmiphuchwyehluxthismkhriccaekhamachwyehluxphupwythihwichyudetnidmakkhunphawaaethrksxnkarnwdhwicphaypxdkuchiphepnthangeluxksudthaykhxngkarchwychiwitsunghakimidthaaelwphupwythiimmichiphcrcaesiychiwitxyangaennxn thrrmchatikhxnglksnakarkdhnaxkephuxchwykuchiphyxmnaipsuphawaaethrksxnthixaccaepntxngidrbkaraekikhphayhlng phawaaethrksxnthiphbbxyidaek eluxdxxkin phawaaethrksxnekiywkb karbadecbtx aelaphawaaethrksxnekiywkbenuxeyuxpxd epntn karbadecbthiphbbxythisudcakkarchwykuchiphkhuxkraduksiokhrnghk cakkarsuksawicyphbwamioxkasekidpraman 13 97 aelakraduksnxkhksungmioxkasekidpraman 1 43 phawaehlanithuxepnphawaaethrksxnthiekidcakkarihkarrksa iatrogenic aelaxacthaihcaepntxngidrbkarrksaephimetim hakphupwyrxdchiwitcakphawahwichyudid aetphawaehlaniephiyng 0 5 ethannthiepnmakcnthuxwaepnxntraytxchiwit oxkasthicaekidkarbadecbchnididhruxesiyngmaknxyaekhihnkhunkbpccyhlayxyangechnephsaelaxayu echn phuhyingmioxkasekidkraduksnxkhkmakkwaphuchay phusungxayumioxkasekidkraduksiokhrnghkmakkwakhnxayunxy epntn phupwyedkaelatharkmioxkasekidkraduksiokhrnghknxyodymioxkaspraman 0 2 sunghakekidmkepnkraduksiokhrngdanhnahkaelahkhlaychin inkrnithimikarkdhnaxkephuxkuchiphinphupwythiimidmiphawahwichyud miphuidrbbadecbdngklawephiyngpraman 2 aetmikhwamrusukecbhruximsbaytwpraman 12 withyakarrabadoxkaskhxngkaridrbkarchwykuchiph mikarsuksawicyhlaychinthiphbwaoxkasthiphuthimihwichyudnxkthiphkxasycaidrbkarchwykuchiphcakphuehnehtukarnthiepnkhnthwiphruxkhninkhrxbkhrwxyuthi 14 45 odymimthythanxyuthi 32 bngbxkwaphupwyhwichyudetnnxkthiphkxasypramanhnunginsamidrbkarchwyehluxdwykarchwykuchiph xyangirkdiprasiththiphaphkhxngkarchwykuchiphthiidrbnnmikhwamaetktangknip karsuksawicybangchinphbwaphuchwykuchiphephiyngkhrunghnungethannthithakarchwykuchiphebuxngtnidthuktxng nganwicyihmphbwakhnthwipthiekhyidrbkarxbrmkarchwykuchiphswnihyimmikhwammnicaelakhwamsamarththiephiyngphxinkarchwykuchiphihehmaasm phuechiywchayehlaniechuxwakhwrmikarprbprungkhunphaphkhxngkarfuksxnkarkuchiph ephuxihphuthiidrbkarfukmikhwammnicthicaihkarkuchiphiddimakkhun oxkaskhxngkaridrbkarchwykuchiphthnewla karchwykuchiphcamioxkasprasbphlsaercktxemuxiderimthaphayin 6 nathi hlngkarihlewiynkhxngeluxdhyudlngenuxngcakepnchwngewlathienuxsmxngswnthikhadeluxdcaesiyhayxyangthawr esllsmxngehlaniemuxkhadxxksiecnepnewla 4 6 nathi kcamikhwamesiyhayekidkhunaelaimsamarthklbkhunepnpktiidaemidrbxxksiecnklbekhaiptamedim xacmikhxykewninkrnithiphupwyekidhwichyudetninsphawathimixunhphumitamak enuxngcakphawaxunhphumikaytacaldxtrakhxngkrabwnkarthangkayphaphaelathangemtabxliklng thaihenuxeyuxtang txngkarxxksiecnldlng miphupwybangraythihwichyudetninphawaxunhphumikaytaaelwrxdchiwitcakkarihkarchwykuchiphdwykarnwdhwicphaypxd karchxkiffa aelakarihxunhphumidwyethkhnikkhnsung idprawtisastrinstwrrsthi 19 nayaephthy H R Silvester idxthibaywithikarcalxngkarhayicinphupwythiimhayicodyihnxnhngay ykaekhnkhunehnuxsirsaephuxihekidkarhayicekha rwmkbkarkdhnaxkephuxihekidkarhayicxxk odyihthatxenuxng 16 khrngtxnathi withikarnieriykwa The Silvester Method phbidinphaphyntrbangeruxngchwngtnstwrrsthi 20 ethkhnikhthi 2 eriykwa Holger Neilson technique sungmikarxthibayiwinkhumuxlukesux Boy Scout Handbook khxngshrthxemrika chbbthi 1 pi kh s 1911 esnxkarchwyhayicodyihnxnkhwathbfamux taaekhnghna ihphuchwyehluxdungkhxsxkkhunephuxkangaekhnphrxmkbkdhlngthaihxakasihlekhapxd khlaykbkartha Silvester Method aetthainthanxnkhwa withikarniichknxyangaephrhlayinchwngthswrrs 1950 praktinphaphyntr Lassie rwmthungpraktinphaphyntrkartunhlayeruxng aelabxykhrngepnipephuxkhwamkhbkhn phaphyntrkartun Tom and Jerry txn The Cat and the Mermouse aelayngkhnglngxthibayxyuinhnngsuxkhumuxlukesuxkhwbkhukbwithisiphixaraebbsmyihmcnthungchbbthi 9 in kh s 1979 kxnthicathukhamihlnginkhumuxkuchiphinshrachxanackr inklangstwrrsthi 20 sngkhmkaraephthyerimrbruaelaaenanaihkhnthwipichkarchwykarhayicrwmkbkarkdhnaxkepnkarkuchiphhlngekidphawahwichyud odymikarichkhrngaerkinwidioxfuksxnpi 1962 chux The Pulse of Life ody James Dude Guy Knickerbocker aela Peter Safar ody Jude aela Knickerbocker rwmkb William Kouwenhoven aela Joseph S Redding idkhnphbwithikarnwdhwiccakphaynxk inkhnathi Safar idthanganrwmkb Redding aela James Elam ephuxphisucnprasiththiphlkhxngkarchwyhayic swnethkhnikkarnwdhwicphaypxdkuchiphnnphthnakhunthimhawithyaly Johns Hopkins khwamphyayamaerkinkarnaethkhniknimaichepnkarthakbsunkhody Redding Safar aela JW Perason hlngcaknnimnankmikarnamaichchwychiwitedk phlkarkhnphbthitharwmknniidrbkarnaesnxthinganprachum Maryland Medical Society pracapiemuxwnthi 16 knyayn 1960 inemuxng Ocean hlngcaknncungidrbkaryxmrbxyangkwangkhwangaelarwderwinchwngthswrrstxma dwykhwamchwyehluxcakwidithsnaelanganbrryaythiphwkekhaidipbrryay Peter Safar idekhiynhnngsux ABC of resuscitation iwinpi 1957 aelaidrbkarsnbsnunihmikarephyaephraeksatharnchnihekidkareriynruinchwngthswrrspi 1970xangxingsphthbyytirachbnthitysthan 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin eriykkhxmulwnthi 27 kumphaphnth ph s 2552 US National Library of Medicine Encyclopedia Definition of CPR subkhnemux 2007 06 12 xngkvs US Red Cross list of courses for all skill levels subkhnemux 2007 06 12 xngkvs Resuscitation Council UK Comment on Compression Only CPR subkhnemux 2007 06 12 xngkvs Hands Only Compression Only Cardiopulmonary Resuscitation A Call to Action for Bystander Response to Adults Who Experience Out of Hospital Sudden Cardiac Arrest subkhnemux 2008 04 02 xngkvs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 04 13 subkhnemux 2008 06 13 xngkvs Field JM Hazinski MF Sayre MR aelakhna November 2010 Part 1 executive summary 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Circulation 122 18 Suppl 3 S640 56 doi 10 1161 CIRCULATIONAHA 110 970889 PMID 20956217 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk European Resuscitation Council 2005 Guidelines for resuscitation Part 2 Adult basic life support The following is a summary of the evidence based recommendations for the performance of basic life support Rescuers begin CPR if the victim is unconscious not moving and not breathing ignoring occasional gasps available at https www erc edu index php guidelines download 2005 en 2010 05 30 thi ewyaebkaemchchin Hazinski MF Nolan JP Billi JE aelakhna October 2010 Part 1 executive summary 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations Circulation 122 16 Suppl 2 S250 75 doi 10 1161 CIRCULATIONAHA 110 970897 PMID 20956249 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk PDF American Heart Association khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim pdf emux 2017 01 06 Berg RA Hemphill R Abella BS aelakhna November 2010 Part 5 adult basic life support 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Circulation 122 18 Suppl 3 S685 705 doi 10 1161 CIRCULATIONAHA 110 970939 PMID 20956221 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 05 27 subkhnemux 2010 10 24 Mohun Janet aelakhna First Aid Manual St John Ambulance St Andrews Ambulance and British Red Cross Hupfl M Selig HF Nagele P October 2010 Chest compression only versus standard cardiopulmonary resuscitation a meta analysis Lancet 376 9752 1552 7 doi 10 1016 S0140 6736 10 61454 7 PMC 2987687 PMID 20951422 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Ewy Gordon A June 2008 EMS Magazine Cygnus 37 6 41 49 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 03 subkhnemux 2008 08 02 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk