เหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน (อังกฤษ: Base rate fallacy) หรือ การละเลยอัตราพื้นฐาน (base rate neglect) หรือ ความเอนเอียงโดยอัตราพื้นฐาน (base rate bias) เป็นเหตุผลวิบัติรูปนัย (formal fallacy) ชนิดหนึ่ง ที่เมื่อมีการแสดงทั้งข้อมูลเกี่ยวกับอัตราพื้นฐานที่อยู่ในประเด็นแต่ว่าเป็นข้อมูลแบบทั่ว ๆ ไป และทั้งข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงแต่กับบางกรณีเท่านั้น เรามักจะไม่สนใจข้อมูลทั่วไปแต่จะสนใจแต่ข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้น ซึ่งนำไปสู่การประเมินผลที่มีความเอนเอียง
ปฏิทรรศน์ผลบวกลวง
ตัวอย่างหนึ่งของการใช้เหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐานคือปฏิทรรศน์ผลบวกลวง (อังกฤษ: false positive paradox) คือการที่ผลการตรวจโรคให้ผลบวกลวงมากกว่าผลบวกแท้ เกิดจากการพิจารณาประชากรที่มีความชุกของโรคต่ำมาก แม้นำการตรวจที่มีคุณสมบัติดีมาก (ให้โอกาสเกิดผลบวกลวงต่ำ) มาตรวจ ผลที่ออกมาก็จะยังมีผลบวกลวงเป็นสัดส่วนที่สูง (เพราะความชุกหรืออัตราพื้นฐานต่ำมาก)
ตัวอย่างที่ 1
- จอห์นเป็นชายที่ใส่เสื้อผ้าแฟชั่นกอทิก ไว้ผมดำยาว และชอบฟังดนตรีเดทเมทัล มีความเป็นไปได้เท่าไรที่เขาจะเป็นคริสต์ศาสนิกชน มีความเป็นไปได้เท่าไรที่เขาจะถือลัทธิซาตาน
ถ้าถามคน (อย่างน้อยก็คนตะวันตก) ด้วยคำถามนี้ เขามักจะให้ค่าความน่าจะเป็นว่าจอห์นเป็นคริสต์ศาสนิกชนต่ำเกินไป และให้ค่าความน่าจะเป็นว่าเขาถือลัทธิซาตานสูงเกินไป นี่เป็นเพราะว่า บุคคลเหล่านั้นมองข้ามอัตราพื้นฐานของความเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ซึ่งมี 2,000 ล้านคนในโลก) ที่สูงกว่าอัตราพื้นฐานของคนถือลัทธิซาตาน (ประมาณว่ามีอยู่หลายพันคน) มาก ดังนั้น ถึงแม้ว่า ลักษณะต่าง ๆ เช่นความนิยมชมชอบในแฟชั่นเป็นต้น อาจจะเป็นตัวชี้ที่เพิ่มความน่าจะเป็นว่าเป็นคนถือลัทธิซาตานเป็นสิบเท่า แต่ว่า ความน่าจะเป็นว่าจอห์นเป็นคริสต์ศาสนิกชนก็ยังสูงกว่ามาก
ตัวอย่างที่ 2
- เจ้าหน้าที่ตำรวจมีเครื่องวิเคราะห์ลมหายใจ (สำหรับตรวจจับคนเมา) ที่แสดงว่าเมาอย่างผิดพลาดใน 5% ของผู้ขับรถที่ไม่เมา แต่ว่า เครื่องวิเคราะห์ลมหายใจไม่เคยพลาดที่จะจับคนเมาจริง ๆ มีคนขับรถ 1 ใน 1,000 ที่ขับรถเมื่อเมา สมมุติว่า เจ้าหน้าที่หยุดรถโดยสุ่ม แล้วบังคับใช้เครื่องวิเคราะห์ลมหายใจกับคนขับ และเครื่องแสดงว่าคนขับเมา ถ้าสมมุติว่า เราไม่รู้ข้อมูลอย่างอื่นเลยเกี่ยวกับคนขับ มีความน่าจะเป็นสูงเท่าไรที่คนขับจะเมาจริง ๆ
คนเป็นจำนวนมากจะตอบว่า มีความน่าจะเป็นสูงถึง 95% แต่ว่าความน่าจะเป็นจริง ๆ อยู่ที่แค่ 2%
เพื่อที่จะหาคำตอบที่ถูกต้อง เราควรจะใช้ Bayes' theorem จุดมุ่งหมายก็คือเพื่อที่จะหาค่าความน่าจะเป็นว่าคนขับเป็นคนเมาเมื่อเครื่องวิเคราะห์ลมหายใจแสดงว่าคนขับเมา เมื่อหยุดคนขับรถโดยสุ่ม ซึ่งสามารถเขียนได้ว่า
ซึ่งเราได้ข้อมูลจากบทความตัวอย่างว่า
- คือค่าความน่าจะเป็นว่าคนขับเมา (คือ 1/1000)
- คือค่าความน่าจะเป็นว่าคนขับไม่เมา (คือ 999/1000)
- คือความน่าจะเป็นว่าเครื่องวิเคราะห์จะแสดงว่าคนขับเมา ถ้าคนขับเมา
- คือค่าความน่าจะเป็นว่าเครื่องวิเคราะห์จะแสดงว่าคนขับเมา ถ้าคนขับไม่เมา
ดังที่เราเห็นได้จากสูตร ถ้าเราต้องการคำตอบ เราจะต้องหาค่า p (D) คือค่าความน่าจะเป็นที่เครื่องวิเคราะห์จะแสดงว่าคนขับเมาเมื่อหยุดคนขับโดยสุ่มโดยที่ไม่รู้ว่าคนขับเมาหรือไม่เมา ซึ่งหาได้จากค่าที่บอกมาแล้วดังนี้
ซึ่งได้
เมื่อใส่ค่านี้ลงในสูตรแรก ก็จะได้
คำอธิบายที่อาจจะเห็นได้ง่ายกว่าอย่างหนึ่งก็คือ โดยเฉลี่ยแล้ว สำหรับคนขับทุก ๆ 1000 คนที่หยุดตรวจ
- คนขับ 1 คนจะเมา และเครื่องวิเคราะห์จะจับว่าเมาได้ 100% ดังนั้น จะมี 1 คนที่จับได้ว่าเมาอย่างถูกต้อง
- คนขับ 999 คนจะไม่เมา และจากคนเหล่านั้น 5% จะจับได้ว่าเมาอย่างผิดพลาด และดังนั้นจะมีคน 49.95 คนถูกจับว่าเมาอย่างผิด ๆ
และดังนั้น ในบรรดาคน 1,000 คนที่เครื่องวิเคราห์ะบอกว่าเมาคือ 50.95 คน จะมีคนเมาจริง ๆ 1 คน และดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะตรวจจับคนเมาโดยสุ่มได้จริง ๆ คือ
แต่ว่า ความถูกต้องของคำตอบนี้ขึ้นอยู่กับข้อสมมุติเบื้องต้นว่า เจ้าหน้าที่หยุดรถโดยสุ่มจริง ๆ ไม่ใช่เพราะขับรถไม่ดี แต่ว่า ถ้าใช้การขับรถไม่ดี (หรือเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งอื่น) เป็นเหตุผลในการหยุดรถ การคำนวณก็จะต้องรวมเอาค่าความน่าจะเป็นของคนเมาขับรถดีไม่ดี และคนไม่เมาขับรถดีไม่ดีเข้าไปด้วย
ตัวอย่าง 3
ในเมืองที่มีคนอาศัยอยู่ 1 ล้านคน สมมุติว่ามีผู้ก่อการร้าย 100 คน และผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย 999,900 คน เพื่อให้ง่าย ๆ ให้สมมุติด้วยว่าคนที่มีอยู่ทั้งหมดในเมืองเป็นผู้อาศัยในเมือง ดังนั้น อัตราพื้นฐานของความน่าจะเป็นที่จะหยุดผู้ก่อการร้ายเมื่อหยุดคนในเมืองโดยสุ่มก็คือ 0.0001 (.01%) และอัตราพื้นฐานของความน่าจะเป็นที่จะหยุดผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้ายก็คือ 0.9999 (99.99%) เพื่อจะพยายามจับผู้ก่อการร้าย เทศบาลได้ติดตั้งระบบเตือนภัย ที่ใช้กล้องวงจรปิดพร้อมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถรู้จำใบหน้าได้โดยอัตโนมัติ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีอัตราความล้มเหลวที่ 1% คือ
- อัตราการตรวจจับไม่ได้ที่ผิดพลาด (false negative) คือ ถ้ากล้องเจอผู้ก่อการร้าย ระบบจะส่งสัญญาณเตือนภัยอย่างถูกต้อง 99% และจะพลาดไม่เตือนภัย 1%
- อัตราการตรวจจับที่ผิดพลาด (false positive) คือ ถ้ากล้องเจอผู้ที่ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย ระบบจะไม่ส่งสัญญาณเตือนภัยอย่างถูกต้อง 99% แต่จะพลาดเตือนภัย 1%
สมมุติว่า ถ้ากล้องเจอบุคคลหนึ่งที่ทำให้เกิดการเตือนภัย มีโอกาสเท่าไรที่คน ๆ นั้นจะเป็นผู้ก่อการร้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ อะไรเป็นค่า P (ก่อการร้าย | เตือนภัย) คือค่าความน่าจะเป็นว่าบุคคลนั้นเป็นผู้ก่อการร้ายเมื่อมีการเตือนภัย ผู้ที่เกิดเหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐานจะอนุมานว่ามีโอกาส 99% ที่บุคคลนั้นจะเป็นผู้ก่อการร้าย แม้ว่า ค่าอนุมานนั้นดูเหมือนจะมีเหตุผล แต่จริง ๆ แล้วเป็นเหตุผลที่ผิดพลาด และการคำนวณที่จะแสดงต่อไปจะชี้ว่า คน ๆ นั้นมีโอกาสเพียงเกือบ 1% เท่านั้นที่จะเป็นผู้ก่อการร้าย จะไม่ใกล้ 99% เลย
เหตุผลวิบัติเกิดขึ้นจากความสับสนเกี่ยวกับอัตราความล้มเหลวสองอย่าง คือ "จำนวนการไม่เตือนภัยต่อผู้ก่อการร้าย 100 คน" (false negative) กับ "จำนวนผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้ายต่อการเตือนภัย 100 ครั้ง" (false positive) เป็นค่าที่ไม่เกี่ยวข้องอะไรกันเลย ค่าแรกไม่จำเป็นต้องเท่ากับค่าที่สอง ไม่จำเป็นที่จะต้องเกือบเท่ากันเลยด้วยซ้ำ ลองพิจารณาอย่างนี้ว่า สมมุติว่า มีระบบเตือนภัยเช่นเดียวกันที่ติดตั้งในเมืองอีกเมืองหนึ่งที่ไม่มีผู้ก่อการร้ายอยู่เลย และเหมือนกับในเมืองแรก มีการเตือนภัยทุก 1 ครั้งจาก 100 ครั้งที่พบผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย แต่ไม่เหมือนกับเมืองแรก จะไม่มีการเตือนภัยสำหรับผู้ก่อการร้ายเลย (เพราะไม่มีผู้ก่อการร้าย) ดังนั้น 100% ของการเตือนภัยจะเป็นเพราะผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย ซึ่งก็คือ "จำนวนผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้ายต่อการเตือนภัย 100 ครั้ง" สำหรับเมืองนี้จะเท่ากับ 100 ทั้ง ๆ ที่ P (ก่อการร้าย | เตือนภัย) = 0% ซึ่งก็คือ มีโอกาส 0% ที่มีการตรวจจับเจอผู้ก่อการร้ายเมื่อเกิดการเตือนภัย
และสำหรับเมืองแรก ลองพิจารณาว่า ถ้าประชากร 1 ล้านคนทั้งหมดเดินผ่านกล้อง ผู้ก่อการร้าย 99 คนจาก 100 คนจะทำให้เกิดสัญญาณเตือนภัย แต่ผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย 9,999 จาก 999,900 คนก็จะทำให้เกิดการเตือนภัยเช่นเดียวกัน ดังนั้น จะมีคนทั้งหมด 10,098 คนที่จะทำให้เกิดสัญญาณเตือนภัย โดยที่มี 99 คนเป็นผู้ก่อการร้าย เพราะฉะนั้น ความน่าจะเป็นที่บุคคลที่ก่อให้เกิดสัญญาณเตือนภัยจะเป็นผู้ก่อการร้ายจริง ๆ เป็นเพียง 99 ใน 10,098 ซึ่งน้อยกว่า 1% และน้อยกว่าค่าที่เรา (ผู้ที่มีเหตุผลวิบัตินี้) เดาในเบื้องต้นที่ 99%
ความเห็นวิบัติโดยอัตราพื้นฐานทำให้เกิดการคลาดเคลื่อนอย่างไม่น่าเชื่อในตัวอย่างนี้เพราะว่า มีผู้ไม่ใช่ผู้ก่อการร้ายมากกว่าผู้ก่อการร้ายอย่างมหาศาล
ผลงานวิจัยทางจิตวิทยา
งานทดลองต่าง ๆ พบว่า เราให้ความสำคัญกับข้อมูลเฉพาะมากกว่าข้อมูลทั่วไป ถ้ามีข้อมูลเฉพาะ ในงานทดลองงานหนึ่งที่ให้นักศึกษาประเมินเกรดของนักศึกษาสมมุติ พบว่า นักศึกษามักจะมองข้ามข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับการแจกแจงเกรด (grade distribution) ถ้ามีข้อมูลเฉพาะตัวเกี่ยวกับนักศึกษาสมมุติ แม้ว่า ข้อมูลเฉพาะตัวนั้นอาจจะไม่มีความสำคัญอะไรเลยต่อการได้เกรดหนึ่ง ๆ มีการใช้ผลงานวิจัยนี้ในการอ้างว่า การสัมภาษณ์ผู้สมัครเป็นนักศึกษา (ในมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา) ไม่จำเป็นในกระบวนการสอบรับนักศึกษา เพราะว่า ผู้สัมภาษณ์ไม่สามารถที่จะคัดเลือกผู้สมัครได้ดีกว่าค่าสถิติพื้นฐาน
นักจิตวิทยาชาวอเมริกันยุคต้น ๆ ที่ทำการศึกษาเช่นนี้คือ แดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ ได้อธิบายปรากฏการณ์นี้ว่าเป็นการคิดหาคำตอบโดยใช้ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน พวกเขาอ้างว่า มนุษย์ประเมินค่าความน่าจะเป็นหลายอย่าง หรือประเมินตัดสินเหตุและผล อาศัยว่าสิ่งหนึ่งมีความเป็นตัวแทน คือเหมือน กับอีกสิ่งหนึ่ง หรือกับประเภทหนึ่ง ๆ มากเท่าไร ดร. คาฮ์นะมันพิจารณาว่า การละเลยอัตราพื้นฐานเช่นนี้ เป็นรูปแบบหนึ่งของ extension neglect ส่วนนักจิตวิทยาริชาร์ด นิสเบ็ตต์ ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกนเสนอว่า attribution bias เช่น fundamental attribution error เป็นรูปแบบอย่างหนึ่งของเหตุผลวิบัติโดยอัตราพื้นฐาน คือ มนุษย์ไม่ใช้ข้อมูลที่ปรากฏโดยทั่วไป (คืออัตราพื้นฐาน) ว่าคนอื่น ๆ มีพฤติกรรมอย่างไรในสถานการณ์คล้าย ๆ กัน แต่กลับไปใช้ข้อมูลเฉพาะคือการแสดงเหตุโดยนิสัย (dispositional attribution) ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายกว่า
มีการถกเถียงอย่างพอสมควรในสาขาจิตวิทยาเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เราจะให้ความสำคัญต่อข้อมูลอัตราพื้นฐาน นักวิจัยในเรื่องฮิวริสติกและความเอนเอียงได้เน้นหลักฐานการทดลองที่แสดงว่า เรามักจะละเลยอัตราพื้นฐานและทำการอนุมานที่คลาดเคลื่อนไปจากหลักเหตุผลของความน่าจะเป็นเช่น Bayes' theorem ข้อสรุปจากแนวทางของงานวิจัยเหล่านี้ก็คือ กระบวนการความคิดเกี่ยวกับความน่าจะเป็นของมนุษย์มีข้อบกพร่องและเกิดความผิดพลาดได้ง่าย แต่ว่าก็มีนักวิจัยพวกอื่นที่เน้นความสัมพันธ์กันระหว่างกระบวนการทางประชานและรูปแบบของข้อมูล และเสนอว่า ข้อสรุปทั่วไปเช่นนี้ยังไม่สมควร เพราะว่าการแสดงปัญหาที่แสดงค่าทางสถิติเหล่านี้ โดยแสดงเป็นค่าอัตราส่วนตามธรรมชาติ แทนที่จะเป็นค่าเศษส่วนบรรทัดฐาน (เช่นค่าเปอร์เซ็นต์) หรือค่าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไข จะทำให้มีโอกาสมากขึ้นที่จะแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
ลองมาพิจารณาปัญหาตัวอย่างที่ 2 อีกครั้งหนึ่ง สิ่งที่ต้องการจะอนุมานก็คือค่าความน่าจะเป็นที่คนขับรถที่หยุดโดยสุ่มจะเมาเหล้าถ้าเครื่องวิเคราะห์แสดงว่าเมา โดยรูปนัยแล้ว ค่าความน่าจะเป็นสามารถคำนวณได้โดยใช้ Bayes' theorem ดังที่แสดงไว้แล้ว แต่ว่า ก็ยังมีวิธีการแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในแบบอื่น ๆ ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้ ซึ่งความจริงแล้วเป็นปัญหาเดียวกัน
- คนขับรถ 1 ใน 1000 เมาแล้วขับ เครื่องวิเคราะห์ลมหายใจไม่เคยพลาดในการตรวจจับคนที่เมาจริง ๆ แต่ว่าในบรรดาคนขับที่ไม่เมา 999 คน จะมี 50 คนที่เครื่องวิเคราะห์จะแสดงว่าเมาอย่างผิด ๆ ถ้าเจ้าหน้าที่ตำรวจหยุดรถโดยสุ่ม แล้วบังคับใช้เครื่องวิเคราะห์กับคนขับ ซึ่งแสดงว่าคนขับเมา เมื่อสมมุติว่าคุณไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับคนขับ ความน่าจะเป็นว่าคนขับเมาจริง ๆ มีค่าเท่าไร
ในรูปแบบการแสดงปัญหาเช่นนี้ ข้อมูลตัวเลขที่เกี่ยวข้องคือ p (เมา), p (เครื่องแสดงว่าเมา | เมา), และ p (เครื่องแสดงว่าเมา | ไม่เมา) เป็นการแสดงโดยอัตราส่วนที่มีตามธรรมชาติ งานวิจัยโดยการทดลองพบว่า เราจะอนุมานใกล้เคียงกับกฎความน่าจะเป็นของ Bayes มากกว่าเมื่อแสดงปัญหาอย่างนี้ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาการละเลยอัตราพื้นฐานทั้งในคนทั่วไป และทั้งในผู้ชำนาญการและนักวิชาการ และดังนั้น องค์กรต่าง ๆ รวมทั้งองค์กรความร่วมมือคอเครนแนะนำให้ใช้รูปแบบเช่นนี้ในการสื่อสารบทความสุขภาพที่มีการกล่าวถึงค่าสถิติ และการสอนให้คนแปลปัญหาที่ต้องใช้เหตุผลโดยกฎความน่าจะเป็นของ Bayes ให้เป็นปัญหาที่แสดงรูปแบบอัตราส่วนโดยธรรมชาติ เป็นวิธีการสอนที่ได้ผลดีกว่าสอนให้ใส่ตัวเลขค่าความน่าจะเป็น (หรืออัตราร้อยละ) เข้าไปใน Bayes' theorem นอกจากนั้นแล้ว ยังมีงานวิจัยที่แสดงด้วยว่า การแสดงอัตราส่วนโดยใช้ตัวแทนสัญลักษณ์ (เช่น แสดงรูปคนตามจำนวนประชากร) จะช่วยเราให้สามารถทำการอนุมานได้ดีขึ้น ทำไมการแสดงปัญหาเป็นอัตราส่วนโดยธรรมชาติจึงช่วยแก้ปัญหา เหตุผลสำคัญอย่างหนึ่งก็คือเพราะช่วยทำการคำนวณให้ง่ายขึ้น ซึ่งสามารถเห็นได้ถ้าใช้วิธีการคำนวณค่าความน่าจะเป็นที่ต้องการคือ p (เมา|เมื่อเครื่องแสดงว่าเมา) หรือ p (drunk|D)
โดยมี N (drunk ∩ D) หรือ N (เมา ∩ เครื่องแสดงว่าเมา) หมายถึงจำนวนคนขับที่เมาด้วยและเครื่องแสดงว่าเมาด้วย และ N (D) หรือ N (เครื่องแสดงว่าเมา) หมายถึงจำนวนคนขับทั้งหมดที่เครื่องจะแสดงว่าเมา สูตรนี้เท่าเทียมกับสูตรที่แสดงในตัวอย่างที่ผ่านมาแล้ว ซึ่งเป็นไปตามกฎของทฤษฎีความน่าจะเป็น ว่า N (drunk ∩ D) = p (D | drunk) × p (drunk) คือ N (เมา ∩ เครื่องบอกว่าเมา) = p (เครื่องบอกว่าเมา | เมา) × p (เมา) ที่สำคัญก็คือว่า แม้ว่าจริง ๆ แล้วสูตรนี้จะเท่าเทียมกับสูตรที่เป็นไปตามกฎของ Bayes โดยรูปนัย แต่ว่า ตามความรู้สึกหรือตามความคิดแล้ว จะไม่เท่าเทียมกัน การใช้อัตราส่วนโดยธรรมชาติทำการอนุมานให้ง่ายขึ้น เพราะว่า
- การคำนวณสามารถทำโดยใช้จำนวนธรรมชาติ แทนที่จะใช้เศษส่วนบรรทัดฐาน (เช่นค่าความน่าจะเป็นหรือค่าเปอร์เซ็นต์)
- ทำการแสดงผลบวกที่ผิดพลาด (false positive) ที่มีในระดับสูงให้ชัดขึ้น
- อัตราส่วนธรรมชาติแสดงโครงสร้างที่มีเซตข้อมูลซ้อนอยู่ข้างใน
ถึงกระนั้น อย่าเข้าใจว่า รูปแบบอัตราส่วนทุก ๆ แบบจะช่วยในการคิดหาค่าความน่าจะเป็น คือ อัตราส่วน "โดยธรรมชาติ" จะหมายถึงข้อมูลที่มีรูปแบบเหมือนกับการชักข้อมูล/การหาข้อมูลโดยธรรมชาติจริง ๆ (เช่นตัวอย่างที่สองในแบบปัญหาที่พึ่งแสดง) ไม่ใช่ค่าอัตราส่วนที่ได้มีการทำให้เป็นบรรทัดฐาน (normalized)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ base rate ว่า "อัตราพื้นฐาน" และของ fallacy ว่า "เหตุผลวิบัติ"
- "Logical Fallacy: The Base Rate Fallacy". Fallacyfiles.org. สืบค้นเมื่อ 2013-06-15.
- B.A. Robinson. "Religious Satanism, 16th century Satanism, Satanic Dabbling, etc". Ontario Consultants on Religious Tolerance. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-20. สืบค้นเมื่อ 2013-03-24.
- Bar-Hillel, Maya (1980). "The base-rate fallacy in probability judgments". Acta Psychologica. 44: 211–233. doi:10.1016/0001-6918(80)90046-3.
- Kahneman, Daniel; Amos Tversky (1973). "On the psychology of prediction". Psychological Review. 80: 237–251. doi:10.1037/h0034747.
- Kahneman, Daniel; Tversky, Amos (1985). "Evidential impact of base rates". ใน Kahneman, Daniel; Slovic, Paul; Tversky, Amos (บ.ก.). Judgment under uncertainty: Heuristics and biases. pp. 153–160.
- extension neglect เป็นประเภทของความเอนเอียงทางประชานที่ปรากฏโดย "ถ้าไม่ได้มีการใส่ใจกับค่านั้นโดยเฉพาะ ขนาดของเซตจะไม่มีอิทธิพลต่อการประเมินค่าเกี่ยวกับเซตนั้น"
- Kahneman, Daniel (2000). "Evaluation by moments, past and future". ใน Kahneman, Daniel; Tversky, Amos (บ.ก.). Choices, Values and Frames.
- Nisbett, Richard E.; Borgida, Eugene; Crandall, Rick; Reed, Harvey (1982-04-30). "Popular induction: Information is not necessarily informative". Judgment under Uncertainty. Cambridge University Press. pp. 101–116. doi:10.1017/cbo9780511809477.008.
- Koehler, Jonathan J. (1996). "The base rate fallacy reconsidered: Descriptive, normative, and methodological challenges". Behavioral and Brain Sciences. Cambridge University Press (CUP). 19 (1): 1–17. doi:10.1017/s0140525x00041157. ISSN 0140-525X.
- Barbey, Aron K.; Sloman, Steven A. (2007). "Base-rate respect: From ecological rationality to dual processes". Behavioral and Brain Sciences. Cambridge University Press (CUP). 30 (3): 241–254. doi:10.1017/s0140525x07001653. ISSN 0140-525X.
- Tversky, Amos; Kahneman, Daniel (1974-09-27). "Judgment under Uncertainty: Heuristics and Biases". Science. American Association for the Advancement of Science (AAAS). 185 (4157): 1124–1131. doi:10.1126/science.185.4157.1124. ISSN 0036-8075.
- Cosmides, Leda; John Tooby (1996). "Are humans good intuitive statisticians after all? Rethinking some conclusions of the literature on judgment under uncertainty". Cognition. 58: 1–73. doi:10.1016/0010-0277(95)00664-8.
- Gigerenzer, Gerd; Hoffrage, Ulrich (1995). "How to improve Bayesian reasoning without instruction: Frequency formats". Psychological Review. American Psychological Association (APA). 102 (4): 684–704. doi:10.1037/0033-295x.102.4.684. ISSN 0033-295X.
- Hoffrage, Ulrich; Lindsey, Samuel; Hertwig, Ralph; Gigerenzer, Gerd (2000-12-22). "Communicating Statistical Information". Science. American Association for the Advancement of Science (AAAS). 290 (5500): 2261–2262. doi:10.1126/science.290.5500.2261. ISSN 0036-8075.
- Hoffrage, Ulrich; Lindsey, Samuel; Hertwig, Ralph; Gigerenzer, Gerd (2000-12-22). "Communicating Statistical Information". Science. American Association for the Advancement of Science (AAAS). 290 (5500): 2261–2262. doi:10.1126/science.290.5500.2261. ISSN 0036-8075.
- Sedlmeier, Peter; Gigerenzer, Gerd (2001). "Teaching Bayesian reasoning in less than two hours". Journal of Experimental Psychology: General. American Psychological Association (APA). 130 (3): 380–400. doi:10.1037/0096-3445.130.3.380. ISSN 1939-2222.
- Brase, Gary L. (2009). "Pictorial representations in statistical reasoning". Applied Cognitive Psychology. Wiley. 23 (3): 369–381. doi:10.1002/acp.1460. ISSN 0888-4080.
- Edwards, A. (2002-04-06). "Explaining risks: turning numerical data into meaningful pictures". BMJ. BMJ. 324 (7341): 827–830. doi:10.1136/bmj.324.7341.827. ISSN 0959-8138.
- Girotto, Vittorio; Gonzalez, Michel (2001). "Solving probabilistic and statistical problems: a matter of information structure and question form". Cognition. Elsevier BV. 78 (3): 247–276. doi:10.1016/s0010-0277(00)00133-5. ISSN 0010-0277.
- Hoffrage, U (2002). "Representation facilitates reasoning: what natural frequencies are and what they are not". Cognition. Elsevier BV. 84 (3): 343–352. doi:10.1016/s0010-0277(02)00050-1. ISSN 0010-0277. Full Article PDF (102 KB)
- Gigerenzer, Gerd; Hoffrage, Ulrich (1999). "Overcoming difficulties in Bayesian reasoning: A reply to Lewis and Keren (1999) and Mellers and McGraw (1999)". Psychological Review. American Psychological Association (APA). 106 (2): 425–430. doi:10.1037/0033-295x.106.2.425. ISSN 0033-295X. Full Article PDF (649 KB)
- Kleiter, Gernot D. (1994). "Natural Sampling: Rationality without Base Rates". Recent Research in Psychology. New York, NY: Springer New York. doi:10.1007/978-1-4612-4308-3_27. ISBN . ISSN 1431-7532.
แหล่งข้อมูลอื่น
- The Base Rate Fallacy The Fallacy Files
- Psychology of Intelligence Analysis: Base Rate Fallacy 2018-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The base rate fallacy explained visually (Video)
- Interactive page for visualizing statistical information and Bayesian inference problems
- Current ‘best practice’ for communicating probabilities in health according to the International Patient Decision Aid Standards (IPDAS) Collaboration
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ehtuphlwibtiodyxtraphunthan xngkvs Base rate fallacy hrux karlaelyxtraphunthan base rate neglect hrux khwamexnexiyngodyxtraphunthan base rate bias epnehtuphlwibtirupny formal fallacy chnidhnung thiemuxmikaraesdngthngkhxmulekiywkbxtraphunthanthixyuinpraednaetwaepnkhxmulaebbthw ip aelathngkhxmulthiechphaaecaacngaetkbbangkrniethann eramkcaimsnickhxmulthwipaetcasnicaetkhxmulthiechphaaecaacngethann sungnaipsukarpraeminphlthimikhwamexnexiyngptithrrsnphlbwklwngtwxyanghnungkhxngkarichehtuphlwibtiodyxtraphunthankhuxptithrrsnphlbwklwng xngkvs false positive paradox khuxkarthiphlkartrwcorkhihphlbwklwngmakkwaphlbwkaeth ekidcakkarphicarnaprachakrthimikhwamchukkhxngorkhtamak aemnakartrwcthimikhunsmbtidimak ihoxkasekidphlbwklwngta matrwc phlthixxkmakcayngmiphlbwklwngepnsdswnthisung ephraakhwamchukhruxxtraphunthantamak twxyangthi 1cxhnepnchaythiisesuxphaaefchnkxthik iwphmdayaw aelachxbfngdntriedthemthl mikhwamepnipidethairthiekhacaepnkhristsasnikchn mikhwamepnipidethairthiekhacathuxlththisatan thathamkhn xyangnxykkhntawntk dwykhathamni ekhamkcaihkhakhwamnacaepnwacxhnepnkhristsasnikchntaekinip aelaihkhakhwamnacaepnwaekhathuxlththisatansungekinip niepnephraawa bukhkhlehlannmxngkhamxtraphunthankhxngkhwamepnkhristsasnikchn sungmi 2 000 lankhninolk thisungkwaxtraphunthankhxngkhnthuxlththisatan pramanwamixyuhlayphnkhn mak dngnn thungaemwa lksnatang echnkhwamniymchmchxbinaefchnepntn xaccaepntwchithiephimkhwamnacaepnwaepnkhnthuxlththisatanepnsibetha aetwa khwamnacaepnwacxhnepnkhristsasnikchnkyngsungkwamaktwxyangthi 2ecahnathitarwcmiekhruxngwiekhraahlmhayic sahrbtrwccbkhnema thiaesdngwaemaxyangphidphladin 5 khxngphukhbrththiimema aetwa ekhruxngwiekhraahlmhayicimekhyphladthicacbkhnemacring mikhnkhbrth 1 in 1 000 thikhbrthemuxema smmutiwa ecahnathihyudrthodysum aelwbngkhbichekhruxngwiekhraahlmhayickbkhnkhb aelaekhruxngaesdngwakhnkhbema thasmmutiwa eraimrukhxmulxyangxunelyekiywkbkhnkhb mikhwamnacaepnsungethairthikhnkhbcaemacring khnepncanwnmakcatxbwa mikhwamnacaepnsungthung 95 aetwakhwamnacaepncring xyuthiaekh 2 ephuxthicahakhatxbthithuktxng erakhwrcaich Bayes theorem cudmunghmaykkhuxephuxthicahakhakhwamnacaepnwakhnkhbepnkhnemaemuxekhruxngwiekhraahlmhayicaesdngwakhnkhbema emuxhyudkhnkhbrthodysum sungsamarthekhiynidwa p drunk D p D drunk p drunk p D displaystyle p drunk D frac p D drunk p drunk p D sungeraidkhxmulcakbthkhwamtwxyangwa p drunk 0 001 displaystyle p drunk 0 001 khuxkhakhwamnacaepnwakhnkhbema khux 1 1000 p sober 0 999 displaystyle p sober 0 999 khuxkhakhwamnacaepnwakhnkhbimema khux 999 1000 p D drunk 1 00 displaystyle p D drunk 1 00 khuxkhwamnacaepnwaekhruxngwiekhraahcaaesdngwakhnkhbema thakhnkhbema p D sober 0 05 displaystyle p D sober 0 05 khuxkhakhwamnacaepnwaekhruxngwiekhraahcaaesdngwakhnkhbema thakhnkhbimema dngthieraehnidcaksutr thaeratxngkarkhatxb eracatxnghakha p D khuxkhakhwamnacaepnthiekhruxngwiekhraahcaaesdngwakhnkhbemaemuxhyudkhnkhbodysumodythiimruwakhnkhbemahruximema sunghaidcakkhathibxkmaaelwdngni p D p D drunk p drunk p D sober p sober displaystyle p D p D drunk p drunk p D sober p sober sungid p D 0 05095 displaystyle p D 0 05095 emuxiskhanilnginsutraerk kcaid p drunk D 0 019627 displaystyle p drunk D 0 019627 cdot khaxthibaythixaccaehnidngaykwaxyanghnungkkhux odyechliyaelw sahrbkhnkhbthuk 1000 khnthihyudtrwc khnkhb 1 khncaema aelaekhruxngwiekhraahcacbwaemaid 100 dngnn cami 1 khnthicbidwaemaxyangthuktxng khnkhb 999 khncaimema aelacakkhnehlann 5 cacbidwaemaxyangphidphlad aeladngnncamikhn 49 95 khnthukcbwaemaxyangphid aeladngnn inbrrdakhn 1 000 khnthiekhruxngwiekhrahabxkwaemakhux 50 95 khn camikhnemacring 1 khn aeladngnnkhwamnacaepnthicatrwccbkhnemaodysumidcring khux p drunk D 1 50 95 0 019627 displaystyle p drunk D 1 50 95 approx 0 019627 aetwa khwamthuktxngkhxngkhatxbnikhunxyukbkhxsmmutiebuxngtnwa ecahnathihyudrthodysumcring imichephraakhbrthimdi aetwa thaichkarkhbrthimdi hruxehtuphlxyangidxyanghnungxun epnehtuphlinkarhyudrth karkhanwnkcatxngrwmexakhakhwamnacaepnkhxngkhnemakhbrthdiimdi aelakhnimemakhbrthdiimdiekhaipdwytwxyang 3inemuxngthimikhnxasyxyu 1 lankhn smmutiwamiphukxkarray 100 khn aelaphuimichphukxkarray 999 900 khn ephuxihngay ihsmmutidwywakhnthimixyuthnghmdinemuxngepnphuxasyinemuxng dngnn xtraphunthankhxngkhwamnacaepnthicahyudphukxkarrayemuxhyudkhninemuxngodysumkkhux 0 0001 01 aelaxtraphunthankhxngkhwamnacaepnthicahyudphuimichphukxkarraykkhux 0 9999 99 99 ephuxcaphyayamcbphukxkarray ethsbalidtidtngrabbetuxnphy thiichklxngwngcrpidphrxmkbopraekrmkhxmphiwetxrthisamarthrucaibhnaidodyxtonmti opraekrmkhxmphiwetxrmixtrakhwamlmehlwthi 1 khux xtrakartrwccbimidthiphidphlad false negative khux thaklxngecxphukxkarray rabbcasngsyyanetuxnphyxyangthuktxng 99 aelacaphladimetuxnphy 1 xtrakartrwccbthiphidphlad false positive khux thaklxngecxphuthiimichphukxkarray rabbcaimsngsyyanetuxnphyxyangthuktxng 99 aetcaphladetuxnphy 1 smmutiwa thaklxngecxbukhkhlhnungthithaihekidkaretuxnphy mioxkasethairthikhn nncaepnphukxkarray klawxikxyanghnungkkhux xairepnkha P kxkarray etuxnphy khuxkhakhwamnacaepnwabukhkhlnnepnphukxkarrayemuxmikaretuxnphy phuthiekidehtuphlwibtiodyxtraphunthancaxnumanwamioxkas 99 thibukhkhlnncaepnphukxkarray aemwa khaxnumannnduehmuxncamiehtuphl aetcring aelwepnehtuphlthiphidphlad aelakarkhanwnthicaaesdngtxipcachiwa khn nnmioxkasephiyngekuxb 1 ethannthicaepnphukxkarray caimikl 99 ely ehtuphlwibtiekidkhuncakkhwamsbsnekiywkbxtrakhwamlmehlwsxngxyang khux canwnkarimetuxnphytxphukxkarray 100 khn false negative kb canwnphuimichphukxkarraytxkaretuxnphy 100 khrng false positive epnkhathiimekiywkhxngxairknely khaaerkimcaepntxngethakbkhathisxng imcaepnthicatxngekuxbethaknelydwysa lxngphicarnaxyangniwa smmutiwa mirabbetuxnphyechnediywknthitidtnginemuxngxikemuxnghnungthiimmiphukxkarrayxyuely aelaehmuxnkbinemuxngaerk mikaretuxnphythuk 1 khrngcak 100 khrngthiphbphuimichphukxkarray aetimehmuxnkbemuxngaerk caimmikaretuxnphysahrbphukxkarrayely ephraaimmiphukxkarray dngnn 100 khxngkaretuxnphycaepnephraaphuimichphukxkarray sungkkhux canwnphuimichphukxkarraytxkaretuxnphy 100 khrng sahrbemuxngnicaethakb 100 thng thi P kxkarray etuxnphy 0 sungkkhux mioxkas 0 thimikartrwccbecxphukxkarrayemuxekidkaretuxnphy aelasahrbemuxngaerk lxngphicarnawa thaprachakr 1 lankhnthnghmdedinphanklxng phukxkarray 99 khncak 100 khncathaihekidsyyanetuxnphy aetphuimichphukxkarray 9 999 cak 999 900 khnkcathaihekidkaretuxnphyechnediywkn dngnn camikhnthnghmd 10 098 khnthicathaihekidsyyanetuxnphy odythimi 99 khnepnphukxkarray ephraachann khwamnacaepnthibukhkhlthikxihekidsyyanetuxnphycaepnphukxkarraycring epnephiyng 99 in 10 098 sungnxykwa 1 aelanxykwakhathiera phuthimiehtuphlwibtini edainebuxngtnthi 99 khwamehnwibtiodyxtraphunthanthaihekidkarkhladekhluxnxyangimnaechuxintwxyangniephraawa miphuimichphukxkarraymakkwaphukxkarrayxyangmhasalphlnganwicythangcitwithyanganthdlxngtang phbwa eraihkhwamsakhykbkhxmulechphaamakkwakhxmulthwip thamikhxmulechphaa innganthdlxngnganhnungthiihnksuksapraeminekrdkhxngnksuksasmmuti phbwa nksuksamkcamxngkhamkhxmulthangsthitiekiywkbkaraeckaecngekrd grade distribution thamikhxmulechphaatwekiywkbnksuksasmmuti aemwa khxmulechphaatwnnxaccaimmikhwamsakhyxairelytxkaridekrdhnung mikarichphlnganwicyniinkarxangwa karsmphasnphusmkhrepnnksuksa inmhawithyalykhxngshrthxemrika imcaepninkrabwnkarsxbrbnksuksa ephraawa phusmphasnimsamarththicakhdeluxkphusmkhriddikwakhasthitiphunthan nkcitwithyachawxemriknyukhtn thithakarsuksaechnnikhux aedeniyl khahnamn aelaxamxs thewxrski idxthibaypraktkarnniwaepnkarkhidhakhatxbodyichhiwristikodykhwamepntwaethn phwkekhaxangwa mnusypraeminkhakhwamnacaepnhlayxyang hruxpraemintdsinehtuaelaphl xasywasinghnungmikhwamepntwaethn khuxehmuxn kbxiksinghnung hruxkbpraephthhnung makethair dr khahnamnphicarnawa karlaelyxtraphunthanechnni epnrupaebbhnungkhxng extension neglect swnnkcitwithyarichard nisebtt thimhawithyalymichiaeknesnxwa attribution bias echn fundamental attribution error epnrupaebbxyanghnungkhxngehtuphlwibtiodyxtraphunthan khux mnusyimichkhxmulthipraktodythwip khuxxtraphunthan wakhnxun miphvtikrrmxyangirinsthankarnkhlay kn aetklbipichkhxmulechphaakhuxkaraesdngehtuodynisy dispositional attribution sungepnwithithingaykwa mikarthkethiyngxyangphxsmkhwrinsakhacitwithyaekiywkbsthankarnthieracaihkhwamsakhytxkhxmulxtraphunthan nkwicyineruxnghiwristikaelakhwamexnexiyngidennhlkthankarthdlxngthiaesdngwa eramkcalaelyxtraphunthanaelathakarxnumanthikhladekhluxnipcakhlkehtuphlkhxngkhwamnacaepnechn Bayes theorem khxsrupcakaenwthangkhxngnganwicyehlanikkhux krabwnkarkhwamkhidekiywkbkhwamnacaepnkhxngmnusymikhxbkphrxngaelaekidkhwamphidphladidngay aetwakminkwicyphwkxunthiennkhwamsmphnthknrahwangkrabwnkarthangprachanaelarupaebbkhxngkhxmul aelaesnxwa khxsrupthwipechnniyngimsmkhwr ephraawakaraesdngpyhathiaesdngkhathangsthitiehlani odyaesdngepnkhaxtraswntamthrrmchati aethnthicaepnkhaessswnbrrthdthan echnkhaepxresnt hruxkhakhwamnacaepnmienguxnikh cathaihmioxkasmakkhunthicaaekpyhaidxyangthuktxng lxngmaphicarnapyhatwxyangthi 2 xikkhrnghnung singthitxngkarcaxnumankkhuxkhakhwamnacaepnthikhnkhbrththihyudodysumcaemaehlathaekhruxngwiekhraahaesdngwaema odyrupnyaelw khakhwamnacaepnsamarthkhanwnidodyich Bayes theorem dngthiaesdngiwaelw aetwa kyngmiwithikaraesdngkhxmulthiekiywkhxngkninaebbxun dngtwxyangdngtxipni sungkhwamcringaelwepnpyhaediywkn khnkhbrth 1 in 1000 emaaelwkhb ekhruxngwiekhraahlmhayicimekhyphladinkartrwccbkhnthiemacring aetwainbrrdakhnkhbthiimema 999 khn cami 50 khnthiekhruxngwiekhraahcaaesdngwaemaxyangphid thaecahnathitarwchyudrthodysum aelwbngkhbichekhruxngwiekhraahkbkhnkhb sungaesdngwakhnkhbema emuxsmmutiwakhunimruxairelyekiywkbkhnkhb khwamnacaepnwakhnkhbemacring mikhaethair inrupaebbkaraesdngpyhaechnni khxmultwelkhthiekiywkhxngkhux p ema p ekhruxngaesdngwaema ema aela p ekhruxngaesdngwaema imema epnkaraesdngodyxtraswnthimitamthrrmchati nganwicyodykarthdlxngphbwa eracaxnumaniklekhiyngkbkdkhwamnacaepnkhxng Bayes makkwaemuxaesdngpyhaxyangni sungchwyaekpyhakarlaelyxtraphunthanthnginkhnthwip aelathnginphuchanaykaraelankwichakar aeladngnn xngkhkrtang rwmthngxngkhkrkhwamrwmmuxkhxekhrnaenanaihichrupaebbechnniinkarsuxsarbthkhwamsukhphaphthimikarklawthungkhasthiti aelakarsxnihkhnaeplpyhathitxngichehtuphlodykdkhwamnacaepnkhxng Bayes ihepnpyhathiaesdngrupaebbxtraswnodythrrmchati epnwithikarsxnthiidphldikwasxnihistwelkhkhakhwamnacaepn hruxxtrarxyla ekhaipin Bayes theorem nxkcaknnaelw yngminganwicythiaesdngdwywa karaesdngxtraswnodyichtwaethnsylksn echn aesdngrupkhntamcanwnprachakr cachwyeraihsamarththakarxnumaniddikhun thaimkaraesdngpyhaepnxtraswnodythrrmchaticungchwyaekpyha ehtuphlsakhyxyanghnungkkhuxephraachwythakarkhanwnihngaykhun sungsamarthehnidthaichwithikarkhanwnkhakhwamnacaepnthitxngkarkhux p ema emuxekhruxngaesdngwaema hrux p drunk D p drunk D N drunk D N D 151 0 0196 displaystyle p drunk D frac N drunk cap D N D frac 1 51 0 0196 odymi N drunk D hrux N ema ekhruxngaesdngwaema hmaythungcanwnkhnkhbthiemadwyaelaekhruxngaesdngwaemadwy aela N D hrux N ekhruxngaesdngwaema hmaythungcanwnkhnkhbthnghmdthiekhruxngcaaesdngwaema sutrniethaethiymkbsutrthiaesdngintwxyangthiphanmaaelw sungepniptamkdkhxngthvsdikhwamnacaepn wa N drunk D p D drunk p drunk khux N ema ekhruxngbxkwaema p ekhruxngbxkwaema ema p ema thisakhykkhuxwa aemwacring aelwsutrnicaethaethiymkbsutrthiepniptamkdkhxng Bayes odyrupny aetwa tamkhwamrusukhruxtamkhwamkhidaelw caimethaethiymkn karichxtraswnodythrrmchatithakarxnumanihngaykhun ephraawa karkhanwnsamarththaodyichcanwnthrrmchati aethnthicaichessswnbrrthdthan echnkhakhwamnacaepnhruxkhaepxresnt thakaraesdngphlbwkthiphidphlad false positive thimiinradbsungihchdkhun xtraswnthrrmchatiaesdngokhrngsrangthimiestkhxmulsxnxyukhangin thungkrann xyaekhaicwa rupaebbxtraswnthuk aebbcachwyinkarkhidhakhakhwamnacaepn khux xtraswn odythrrmchati cahmaythungkhxmulthimirupaebbehmuxnkbkarchkkhxmul karhakhxmulodythrrmchaticring echntwxyangthisxnginaebbpyhathiphungaesdng imichkhaxtraswnthiidmikarthaihepnbrrthdthan normalized duephimthvsdikhwamnacaepnaebbeby karehmarwm hiwristik citwithya hiwristikodykhwamepntwaethnxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitsthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng base rate wa xtraphunthan aelakhxng fallacy wa ehtuphlwibti Logical Fallacy The Base Rate Fallacy Fallacyfiles org subkhnemux 2013 06 15 B A Robinson Religious Satanism 16th century Satanism Satanic Dabbling etc Ontario Consultants on Religious Tolerance cakaehlngedimemux 2022 07 20 subkhnemux 2013 03 24 Bar Hillel Maya 1980 The base rate fallacy in probability judgments Acta Psychologica 44 211 233 doi 10 1016 0001 6918 80 90046 3 Kahneman Daniel Amos Tversky 1973 On the psychology of prediction Psychological Review 80 237 251 doi 10 1037 h0034747 Kahneman Daniel Tversky Amos 1985 Evidential impact of base rates in Kahneman Daniel Slovic Paul Tversky Amos b k Judgment under uncertainty Heuristics and biases pp 153 160 extension neglect epnpraephthkhxngkhwamexnexiyngthangprachanthipraktody thaimidmikarisickbkhannodyechphaa khnadkhxngestcaimmixiththiphltxkarpraeminkhaekiywkbestnn Kahneman Daniel 2000 Evaluation by moments past and future in Kahneman Daniel Tversky Amos b k Choices Values and Frames Nisbett Richard E Borgida Eugene Crandall Rick Reed Harvey 1982 04 30 Popular induction Information is not necessarily informative Judgment under Uncertainty Cambridge University Press pp 101 116 doi 10 1017 cbo9780511809477 008 Koehler Jonathan J 1996 The base rate fallacy reconsidered Descriptive normative and methodological challenges Behavioral and Brain Sciences Cambridge University Press CUP 19 1 1 17 doi 10 1017 s0140525x00041157 ISSN 0140 525X Barbey Aron K Sloman Steven A 2007 Base rate respect From ecological rationality to dual processes Behavioral and Brain Sciences Cambridge University Press CUP 30 3 241 254 doi 10 1017 s0140525x07001653 ISSN 0140 525X Tversky Amos Kahneman Daniel 1974 09 27 Judgment under Uncertainty Heuristics and Biases Science American Association for the Advancement of Science AAAS 185 4157 1124 1131 doi 10 1126 science 185 4157 1124 ISSN 0036 8075 Cosmides Leda John Tooby 1996 Are humans good intuitive statisticians after all Rethinking some conclusions of the literature on judgment under uncertainty Cognition 58 1 73 doi 10 1016 0010 0277 95 00664 8 Gigerenzer Gerd Hoffrage Ulrich 1995 How to improve Bayesian reasoning without instruction Frequency formats Psychological Review American Psychological Association APA 102 4 684 704 doi 10 1037 0033 295x 102 4 684 ISSN 0033 295X Hoffrage Ulrich Lindsey Samuel Hertwig Ralph Gigerenzer Gerd 2000 12 22 Communicating Statistical Information Science American Association for the Advancement of Science AAAS 290 5500 2261 2262 doi 10 1126 science 290 5500 2261 ISSN 0036 8075 Hoffrage Ulrich Lindsey Samuel Hertwig Ralph Gigerenzer Gerd 2000 12 22 Communicating Statistical Information Science American Association for the Advancement of Science AAAS 290 5500 2261 2262 doi 10 1126 science 290 5500 2261 ISSN 0036 8075 Sedlmeier Peter Gigerenzer Gerd 2001 Teaching Bayesian reasoning in less than two hours Journal of Experimental Psychology General American Psychological Association APA 130 3 380 400 doi 10 1037 0096 3445 130 3 380 ISSN 1939 2222 Brase Gary L 2009 Pictorial representations in statistical reasoning Applied Cognitive Psychology Wiley 23 3 369 381 doi 10 1002 acp 1460 ISSN 0888 4080 Edwards A 2002 04 06 Explaining risks turning numerical data into meaningful pictures BMJ BMJ 324 7341 827 830 doi 10 1136 bmj 324 7341 827 ISSN 0959 8138 Girotto Vittorio Gonzalez Michel 2001 Solving probabilistic and statistical problems a matter of information structure and question form Cognition Elsevier BV 78 3 247 276 doi 10 1016 s0010 0277 00 00133 5 ISSN 0010 0277 Hoffrage U 2002 Representation facilitates reasoning what natural frequencies are and what they are not Cognition Elsevier BV 84 3 343 352 doi 10 1016 s0010 0277 02 00050 1 ISSN 0010 0277 Full Article PDF 102 KB Gigerenzer Gerd Hoffrage Ulrich 1999 Overcoming difficulties in Bayesian reasoning A reply to Lewis and Keren 1999 and Mellers and McGraw 1999 Psychological Review American Psychological Association APA 106 2 425 430 doi 10 1037 0033 295x 106 2 425 ISSN 0033 295X Full Article PDF 649 KB Kleiter Gernot D 1994 Natural Sampling Rationality without Base Rates Recent Research in Psychology New York NY Springer New York doi 10 1007 978 1 4612 4308 3 27 ISBN 978 0 387 94169 1 ISSN 1431 7532 aehlngkhxmulxunThe Base Rate Fallacy The Fallacy Files Psychology of Intelligence Analysis Base Rate Fallacy 2018 02 27 thi ewyaebkaemchchin The base rate fallacy explained visually Video Interactive page for visualizing statistical information and Bayesian inference problems Current best practice for communicating probabilities in health according to the International Patient Decision Aid Standards IPDAS Collaboration