Axonotmesis เป็นความบาดเจ็บที่เส้นประสาทนอกส่วนกลางคือที่อวัยวะส่วนปลายต่าง ๆ แอกซอนและปลอกไมอีลินจะเสียหายในความบาดเจ็บเช่นนี้ แต่เซลล์ชวานน์, endoneurium, perineurium และ epineurium จะไม่เสียหาย การควบคุมกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกในลำดับต่อจากจุดที่เสียหายจะเสียไปในที่สุด เพราะเส้นประสาทจะเสื่อมเนื่องกับกระบวนการ Wallerian degeneration เหตุการขาดเลือดเฉพาะที่ อาการนี้ปกติจะเป็นผลของความบาดเจ็บหรือความฟกช้ำซึ่งรุนแรงกว่าที่ก่อให้เกิดอาการ
บทความนี้ เนื่องจากชื่อเป็นศัพท์เฉพาะทางของแพทยศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถานแปลศัพท์สามคำซึ่งเป็นภาวะที่ต่างกันโดยใช้คำแปลเดียวกัน |
Axonotmesis โดยหลักจะเกิดจากความบาดเจ็บที่เกิดจากการยืด (stretch injury) เช่น ข้อเคลื่อนหรือแขนขาหัก ซึ่งทำให้เส้นประสาทขาด ถ้าคนไข้ไม่รู้สึกเจ็บเพราะเหตุเส้นประสาทที่เปิดออก ก็จะสามารถกำหนดจุดบาดเจ็บเนื่องจากความรู้สึกที่ผิดปกติในอวัยวะนั้น ๆ แพทย์อาจจะสั่งการตรวจความเร็วในการส่งสัญญาณประสาท (Nerve Conduction Velocity, NCV) เพื่อตรวจปัญหาเพิ่มยิ่งขึ้น ถ้าวินิจฉัยว่าเป็นอาการนี้ การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Electromyography) ที่ทำหลังจากบาดเจ็บ 3-4 สัปดาห์จะแสดงอาการเส้นประสาทขาด (denervation) และกล้ามเนื้อสั่นระริก (fibrillation) หรือการเชื่อมต่อทางประสาทที่ผิดปกติและกล้ามเนื้อที่หดเกร็งผิดปกติ
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Saidoff, David C.; McDonough, Andrew (2002). Critical Pathways in Therapeutic Intervention. Missouri: Mosby Inc. pp. 262. ISBN .
- "Nerve Injury (Neuropraxia, Axonotmesis, Neurotmesis) and Healing". www.healthhype.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-05-03.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
Axonotmesis epnkhwambadecbthiesnprasathnxkswnklangkhuxthixwywaswnplaytang aexksxnaelaplxkimxilincaesiyhayinkhwambadecbechnni aetesllchwann endoneurium perineurium aela epineurium caimesiyhay karkhwbkhumklamenuxaelakarrbkhwamrusukinladbtxcakcudthiesiyhaycaesiyipinthisud ephraaesnprasathcaesuxmenuxngkbkrabwnkar Wallerian degeneration ehtukarkhadeluxdechphaathi xakarnipkticaepnphlkhxngkhwambadecbhruxkhwamfkchasungrunaerngkwathikxihekidxakarAxonotmesis thiesnprasathbthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakchuxepnsphthechphaathangkhxngaephthysastr rachbnthitysthanaeplsphthsamkhasungepnphawathitangknodyichkhaaeplediywkn Axonotmesis odyhlkcaekidcakkhwambadecbthiekidcakkaryud stretch injury echn khxekhluxnhruxaekhnkhahk sungthaihesnprasathkhad thakhnikhimrusukecbephraaehtuesnprasaththiepidxxk kcasamarthkahndcudbadecbenuxngcakkhwamrusukthiphidpktiinxwywann aephthyxaccasngkartrwckhwamerwinkarsngsyyanprasath Nerve Conduction Velocity NCV ephuxtrwcpyhaephimyingkhun thawinicchywaepnxakarni karbnthukkhluniffaklamenux Electromyography thithahlngcakbadecb 3 4 spdahcaaesdngxakaresnprasathkhad denervation aelaklamenuxsnrarik fibrillation hruxkarechuxmtxthangprasaththiphidpktiaelaklamenuxthihdekrngphidpktiduephimNeurapraxia NeurotmesisechingxrrthaelaxangxingSaidoff David C McDonough Andrew 2002 Critical Pathways in Therapeutic Intervention Missouri Mosby Inc pp 262 ISBN 0 323 00105 X Nerve Injury Neuropraxia Axonotmesis Neurotmesis and Healing www healthhype com phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2017 05 03 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk