อำนาจนิยม (อังกฤษ: authoritarianism) บ้างเรียก อาญาสิทธิ์ เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจนิยมเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก
อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใด ๆ ในการดำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ
กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใด ๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ
อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล
อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น
ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี
ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่น ๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคติ
อรรถาธิบาย
แนวคิดเรื่องระบอบอำนาจนิยมเป็นผลจากบริบททางการเมืองหลังทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา ที่โลกได้แบ่งระบอบการปกครองต่าง ๆ ออกเป็น 2 ค่ายใหญ่ตามอุดมการณ์ทางการเมือง คือ ระบอบประชาธิปไตย และระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตย โดยระบอบอำนาจนิยมถูกมองว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
ทฤษฎีเกี่ยวกับอำนาจนิยมได้มีการศึกษาอย่างเป็นระบบครั้งแรกโดยฮวน เจ. ลินท์ (Juan J. Linz) ในปี ค.ศ. 1964 ลินท์ ระบุว่าระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยมนั้นจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติพื้นฐาน 3 ประการอันได้แก่ 1) พหุนิยมแบบจำกัด 2) การมุ่งไปที่จิตใจมากกว่าอุดมการณ์ 3) ปราศจากการระดมสรรพกำลังทางการเมือง (political mobilization) เพื่อการสนับสนุนในระยะยาว (Badie, 2011: 108)
ความเป็นพหุนิยมแบบจำกัดนั้นเป็นลักษณะประการหนึ่งที่ทำให้อำนาจนิยมอยู่กึ่งกลางระหว่างเผด็จการเบ็ดเสร็จ กับประชาธิปไตย เพราะในขณะที่ระบอบประชาธิปไตยเปิดโอกาสให้มีพหุนิยมแบบเต็มรูปแบบ และเผด็จการเบ็ดเสร็จที่ไม่เปิดโอกาสให้มีพหุนิยมขึ้นในสังคมเลยนั้น ระบอบอำนาจนิยมกลับเปิดโอกาสให้ความแตกต่างหลากหลายบางประการดำรงอยู่ได้ ไม่ว่าจะเป็นการยอมให้มีคู่แข่ง หรือฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง คือ พรรคการเมืองอื่น ๆ หรือภาคประชาสังคมบ้าง แต่กระนั้นสิ่งเหล่านี้ก็มักจะต้องถูกจำกัด และดำเนินกิจกรรมอยู่ได้ก็โดยความยินยอมของผู้นำอำนาจนิยม ภายในขอบเขตที่ถูกกำหนดไว้ เพราะโดยส่วนใหญ่แล้วการยอมให้มีความแตกต่างในสังคมอยู่บ้างนี้ ก็มักจะเป็นเพียงการสร้างความชอบธรรมให้แก่การปกครองโดยคณะทหาร (military junta) หรือผู้นำที่กุมอำนาจอยู่เบื้องหลังนั่นเอง ซึ่งความก้ำกึ่งเหล่านี้นี่เองที่ทำให้ระบอบอำนาจนิยมไม่มีการจัดระบบโครงสร้าง และอุดมการณ์ที่อยู่เบื้องหลังอย่างเป็นระบบและชัดเจน อันเป็นที่มาของลักษณะสำคัญประการที่สองก็คือ การมุ่งควบคุมจิตใจมากกว่าอุดมการณ์ ซึ่งส่งผลให้ระบอบการปกครองนี้ไม่สามารถระดมสรรพกำลังทางการเมือง เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากวัยรุ่นหนุ่มสาว นักวิชาการ และนักศึกษาปัญญาชนในสังคมได้นั่นเอง (Linz, 2000: 159-261)
ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย
ช่วงเวลาที่ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบอำนาจนิยมที่ชัดเจนที่สุดเห็นจะได้แก่ ช่วงปี พ.ศ. 2500-2516 หรือ ในช่วงระบอบสฤษดิ์ และระบอบถนอม-ประภาส นั่นเอง โดยในช่วง พ.ศ. 2502-2506 ที่ได้มีการประกาศธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2502 ทำให้นายกรัฐมนตรี คือจอมพลสฤษดิ์สามารถใช้อำนาจตามมาตรา 17 ซึ่งบัญญัติข้อความให้อำนาจแก่นายกรัฐมนตรีในกรณีพิเศษไว้อย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งสามารถสั่งประหารประชาชนโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการยุติธรรม ไม่มีเสรีภาพของสื่อมวลชนในการนำเสนอข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และที่สำคัญก็คือ ไม่มีพรรคการเมือง และการเลือกตั้ง อำนาจการเมืองทั้งหมดจึงอยู่ในมือของจอมพลสฤษดิ์แต่เพียงผู้เดียว ที่แต่งตั้งตนเองเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และอธิบดีกรมตำรวจ การจัดวางความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ ในสังคมในสายตาของจอมพลสฤษดิ์ตั้งอยู่บนความเชื่อที่ว่า รัฐบาลต้องมีอำนาจสูงสุดในการบริหารประเทศ โดยมีเป้าหมายหลักอยู่ที่เสถียรภาพทางการเมืองและความเป็นปึกแผ่นของชาติ ส่วนระบบราชการมีหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐบาลโดยเฉพาะจากตัวผู้นำคือจอมพลสฤษดิ์ ภายใต้ตรรกะนี้ ข้าราชการจึงมีหน้าที่หลักเป็นผู้รับใช้รัฐบาล ไม่ใช่รับใช้ประชาชน แนวคิดของจอมพลสฤษดิ์เป็นการประยุกต์ประเพณีการจัดระเบียบการเมืองการปกครองของไทยแบบพ่อปกครองลูกที่มีพื้นฐานอยู่บนประวัติศาสตร์และจารีตดั้งเดิมในสมัยสุโขทัย แนวคิดดังกล่าวถูกเรียกขานว่า “ระบอบพ่อขุนอุปถัมภ์” (ทักษ์, 2552: 226-227) ซึ่งได้กลายเป็นที่มาของวาทกรรม “ประชาธิปไตยแบบไทย ๆ” ที่ใช้สร้างความชอบธรรมทางการเมืองท่ามกลางความล้มเหลวในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยมาหลายทศวรรษ
แม้ว่าในปี พ.ศ. 2511 หลังจากการถึงแก่อนิจกรรมของจอมพลสฤษดิ์ไปกว่า 5 ปี ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ คือ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2511 และตามติดมาด้วยการเลือกตั้งในปีเดียวกัน อันเป็นผลลัพธ์มาจากความพยายามของสหรัฐอเมริกาในการผลักดันให้ไทยเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น โดยกลไกของการเลือกตั้ง เพื่อรับมือกับภัยคอมมิวนิสต์ (Kesboonchoo-Mead, 2012: 215-240) ทว่าการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นนั้น แท้จริงเป็นเพียงฉากหน้าในการสร้างความชอบธรรมให้แก่ระบอบถนอม-ประภาสผู้สืบทอดอำนาจจากจอมพลสฤษดิ์ เพราะพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งก็ได้แก่พรรคสหประชาไทย ของจอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งในสภายังมีวุฒิสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้งของจอมพลถนอมอีกกว่าครึ่งสภา (จำนวน 91 คน จาก 140 คน) ดังนั้น จอมพลถนอมจึงมีอำนาจล้นเหลือที่มาจากการผูกขาดเสียงสนับสนุนในรัฐสภา
รัฐบาลของจอมพลถนอมในปี พ.ศ. 2511 จึงเป็นเพียงแค่รัฐบาลตัวแทนของระบอบอำนาจนิยมจากการเลือกตั้งที่แม้จะเปิดโอกาสให้มีพรรคการเมือง และการเลือกตั้ง แต่ก็แฝงเร้นไว้ด้วยความพยายามในการรักษาฐานอำนาจทางการเมือง ควบคู่ไปกับการแสร้งทำให้ดูเหมือนว่าเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่ด้วยกลไกที่ผิดฝาผิดตัว และบิดเบือนจึงทำให้รัฐบาลของจอมพลถนอมไม่อาจรับมือกับแรงเสียดทานที่ตามมาจากกลไกของระบบรัฐสภา คือ การตรวจสอบ และการอภิปรายซักถามโดยฝ่ายค้าน และสมาชิกรัฐสภาไปได้ ด้วยเหตุนี้หลังจากที่รัฐบาลไม่สามารถผ่านร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อรัฐสภาได้ จอมพลถนอมจึงตัดสินใจสลัดคราบประชาธิปไตย และเปิดเผยตัวตนของระบอบเผด็จการด้วยการยึดอำนาจตัวเองในปี พ.ศ. 2514 ซึ่งการรัฐประหารครั้งนี้ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองที่รุนแรงมากขึ้น และนำไปสู่การล่มสลายของระบอบอำนาจนิยม ถนอม-ประภาส ภายหลังจากการเกิดวิกฤติการณ์เดือนตุลาคมในอีก 2 ปีถัดมา ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในนาม “เหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516”
ภายใต้ระบอบอำนาจนิยม สฤษดิ์ – ถนอม – ประภาส ก่อให้เกิดการสืบทอดค่านิยม และทัศนคติแบบเจ้าคนนายคน การที่คณะรัฐมนตรีในช่วงเวลาดังกล่าวมีที่มาจากข้าราชการประจำและข้าราชการบำนาญจำนวนมาก ทำให้มีการใช้เส้นสายในแวดวงข้าราชการเป็นบันไดไต่เต้าไปสู่ตำแหน่งทางการเมือง เปิดโอกาสให้คณะทหาร กลุ่มธุรกิจและข้าราชการผูกขาดอำนาจและกอบโกยผลประโยชน์เข้ากระเป๋าตัวเองเป็นจำนวนมหาศาล
จนกระทั่ง รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ได้มีการระบุว่าเป็น ลัทธิอำนาจนิยมที่แฝงมากับระบอบประชาธิปไตย หรือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) โดยนักวิชาการชื่อเกษียร เตชะพีระ (2547) กล่าวว่า "วัฒนธรรรมการเมืองอำนาจนิยมแบบปฏิปักษ์ปฏิรูปภายใต้ระบอบทักษิณ มี 7 ประการ ได้แก่
- การสร้าง “เสียงข้างมาก” และ “ผลประโยชน์ส่วนรวม” เสมือนจริง
- ผลประโยชน์ทับซ้อนและมาตรฐานสองหน้า
- เสียงที่เห็นต่างและผลประโยชน์ของผู้เห็นต่างถูกเบียดผลักให้กลายเป็น “เสียงส่วนน้อย” และ “ผลประโยชน์ของคนข้างน้อย”
- สิทธิเสียงข้างน้อยและของบุคคลถูกบิดพลิ้ว ปัดปฏิเสธ กระทั่งบดขยี้ ด้วยกำลังของรัฐได้อย่างชอบธรรม
- วาทกรรมและวิธีการของชาตินิยมเผด็จการฝ่ายขวาต่อต้านคอมมิวนิสต์ในอดีต ถูกหยิบยืมมาเวียนใช้ สืบทอดและพัฒนา
- การก่อการร้ายโดยรัฐใช้ได้เหมือนใน
- การเมืองภาคประชาชนกลายเป็นการเมืองประเด็นเดียว
อนึ่ง ปัจจุบัน (2563) หลังรัฐประหารของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (2557-2562) ได้มีการร่างรัฐธรรมนูญปี 2560 ขึ้น โดยใช้อำนาจของตัวเองในขณะนั้น สร้างรัฐธรรมนูญที่สอดไส้การสืบทอดปกป้องอำนาจของตัวเองและพวกพ้อง ด้วยการแต่งตั้ง ส.ว. 250 คนโดยที่ภาคประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม เพื่อโหวตเลือกพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี หลังมีการเลือกตั้งในปี 2562 ทั้งที่พรรคพลังประชารัฐพ่ายแพ้ในการเลือกตั้งไม่ได้รับเสียงส่วนใหญ่ของประเทศ ทำให้ประเทศไทยถูกปกครองด้วยระบอบอำนาจนิยม ภายใต้รัฐธรรมนูญซ่อนรูป
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
- Linz, Juan (2000). Totalitarian and authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.
- Badie, Bertrand, Dirk Berg-Schlosser, and Leonardo Morlino (2011). International encyclopedia of political science. Thousand Oaks, Calif.: SAGE Publications.
- ibid.
- ibid.
- Linz, Juan (2000). Totalitarian and authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.
- ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
- Kesboonchoo-Mead, Kullada (2012). “The cold war and Thai democratization”. In Southea and the cold war. New York: Routledge.
- เกษียร เตชะพีระ (2547). “วัฒนธรรรมการเมืองอำนาจนิยมแบบเป็นปฏิปักษ์กับการปฏิรูปภายใต้ระบอบทักษิณ” ใน สมชาย หอมลออ (บ.ก.), อุ้มทนายสมชาย นีละไพจิตร: บทสะท้อนวัฒนธรรมอำนาจนิยมในสังคมไทย, กรุงเทพฯ : คณะทำงานปกป้องนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน, หน้า 3-19
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xanacniym xngkvs authoritarianism bangeriyk xayasiththi epnrupaebbkarcdraebiybthangsngkhmsungmilksnakhxngkarxxnnxmtxxanachnathi tampktimktrngkhamkbaelaxisrniym inthangkaremuxng rthbalxanacniymepnrthbalsungxanachnathithangkaremuxngkracuktwxyukbnkkaremuxngklumelk xanacniym epnrabxbkaremuxngthimithanxyubnxudmkarnthangkaremuxngaebbephdckarchnidthiphupkkhrxngsamarthichxanacebdesrceddkhadehnuxrth hruxklumkhnid inkardarngiwsungepahmaysungsud khux karrksaxanackhxngtn Kurian 2011 103 odymkcaimkhanungthungsiththi esriphaphkhxngprachachn pidknkaraesdngkhwamkhidehnthiepnptipkskbphuna khwbkhumsuxmwlchn phukkhadkarichxanacaelacakdkartrwcsxb klawidwa rabxbxanacniymepnrabxbkaremuxngthiichaephrhlaymakthisudepnrayaewlayawnanthisud inprawtisastrkarpkkhrxngkhxngmnusychati thukwnni xanacniym epnkhathithukichthungbxykhrngthisud emuxklawthungrabxbkarpkkhrxngthiimepnprachathipity lksnasakhykhxngrabxbxanacniym khux karkrathaaelakartdsinickhxngphupkkhrxngimthukcakdodysiththi esriphaph aelakhwamesmxphakhkhxngprachachn inkhnathisiththi esriphaphkhxngprachachnmixyuxyangcakd klawxiknyhnung siththithangkaremuxngkhxngprachachn hakmixyubang kcakdetmthi dwyehtuthiphupkkhrxngxanacniymcasrangkdraebiyb matrkarthiekhmngwd ephuxcakdkickrrmkhxngbukhkhlaelaklumbukhkhlthitxngkarmiswnrwminkarcdsrrsingthimikhunkhainsngkhm inrabxbxanacniym prachachnswnihyinsngkhmmkimidrbxnuyatihaesdngxxkthangkaremuxngid ykewn kickrrmthiidrbkarsnbsnuncakxanacrth chann kartxsuthangkaremuxnginrupaebbkarchumnumprathwngaelaedinkhbwntamcnghwaaelaoxkas cungaethbcaepnrupaebbkarmiswnrwmchnidediywthithaid inkhnathiesriphaphkhxngsuxmwlchnaelaprachachnthicawiphakswicarnaelatngkhathamtxrabbkaremuxngcathuktrwcsxb hakfafuncamimatrkarlngoths xanacniymmilksnakhxngxanacthiekhmkhnaelarwmekhasusunyklangxyangmak sungrksaiwodykarprabpramthangkaremuxngaelakarkidknkhuaekhngthiepnipid rthbalxanacniymichphrrkhkaremuxngaelaxngkhkarmwlchnephuxradmkhnmarxepahmaykhxngrthbal xyangirktam inrabxbxanacniym prachachnsamarthdaeninchiwitpracawninswnthiimekiywkhxngkbmitithangkaremuxngidxyangpkti samartheluxkprakxbxachiph nbthuxsasna aelasngsrrkhhakhwamsukhidodyimxyuphayitkarkhwbkhumodytrngcakrthbal aetkrann inbangpraethssiththiaelaesriphaphinkardaeninchiwitxacthukkhwbkhumodythrrmeniymptibti brrthdthanhruxkhwamechuxthangsasnathiekhmngwd sungxacepnswnhnunghruxkhnlaswnkbxanacrthinrabbkaremuxngkid praethsthicdidwaepnrabxbxanacniym echn xihran shphaphemiynmar phma Union of Myanmar saxudixaraebiy aelaxinodniesiy phayitnayphlsuharot epntn khxmulthinasnic khux prasbkarnthangkaremuxngkhxngpraethsinlatinxemrika namasukhaeriykkhan rabxbrachkarxanacniym bureaucratic authoritarianism thiichxthibaypraethscanwnhnungthiekhyepnprachathipity aetekidhkehcninthisudrabxbprachathipitytxnglmslay aelathukaethnthidwyaenwrwmrahwangkhnathharkbphleruxnthithakarrthpraharyudkumsthabnkaremuxngthimacakkareluxktng chnchnnathiprakxbdwy thhar nkethkhnikhradbsung technocrats tlxdcnnkthurkicchnnadaeninnoybaythiennkarphthnaxutsahkrrm aetpidknkarmiswnrwmkhxngprachachninkarkahndnoybay aelakarekhamaaekhngkhnintladkaremuxng odykhnathharaelarabbrachkardngklaw aesdngbthbaththangkaremuxnginthanathiepnsthabn imichtwbukhkhl nkwichakarlatinxemrikawiekhraahwa rabxbrachkarxanacniym epnphlcakkarphthnaxutsahkrrmthunniymaebbphungpha praethsthicdwaichrabxbrachkarxanacniym echn brasil xarecntina aela chili inyukhpccubnthipraktmakthisudkhux xanacniymthimacakkareluxktng electoral authoritarianisms hruxrabxbxanacniymthimiepluxknxkchabdwyphunathimacakkareluxktng sungpraktihehninhlaypraethsaethbtawnxxkklang aelaaexfrikaehnux Linz 2000 34 Badie 2011 107 inrabxbprachathipityaebbtwaethn krabwnkarxnsakhyaelacaepnkrabwnkarhnungthimixackhadhayipidelykkhux kareluxktng election ephraaepnkrabwnkarthicathaihprachachnecakhxngxanacidaesdngxxksungectcanngesrikhxngaetlabukhkhl thwakareluxktngkxacmiichtwbngchithungkhwamepnprachathipityesmxip ephraarabxbxanacniyminhlaypraethsidxasykrabwnkareluxktngmaepnekhruxngmuxinkarsrangkhwamchxbthrrminkarpkkhrxng aelakarichxanacaebbebdesrceddkhadephuxpraoychnswntnepnthitng dwykarxangesiyngsnbsnunkhangmak thaihekidxanacniymaebbihmthieriykwa xanacniymthimacakkareluxktng electoral authoritarianism thaihekidkhxthkethiyngwa kareluxktngmiidethakbkarmiprachathipityesmxip hruxklawxiknyhnungkkhux kareluxktngepnpccythi caepn aetxacim ephiyngphx thicaaebngrabxbkarpkkhrxngaebbprachathipity xxkcakrabxbkarpkkhrxngthiimepnprachathipity esnaebngihmthiekidkhunrahwangkareluxktngkhxngrabxbkarpkkhrxngaebbprachathipity aelarabxbxanacniymthiaefngernxyuinkhrabprachathipitytwaethncxmplxm authoritarianism disguised in the form of representative democracy cungxyuthimitidankhunphaphkhxngkareluxktngaelaprasiththiphaphkhxngkliktrwcsxbdwy klawkhux kareluxktngcatxngepnkareluxktngthiesri ethiyngthrrm aelaoprngis free fair and transparent election thiprascakkaraethrkaesngcakpccyphaynxkxun xathi karsuxsiththikhayesiyng karaethrkaesngkhxngkhnathhar immikarkhrxbnga hruxcakdkhuaekhngthangkaremuxnginkrabwnkareluxktng cungcanbidwaepnkareluxktngthiephiyngphxaelacaepnthicanaipsurabxbesriprachathipityidxyangaethcring Badie 2011 112 114 aelaemuxidchychnaaelamiesiyngkhangmakaelw hakichklikesiyngkhangmakbxnthalaykliktrwcsxb kxacnaipsuxanacniymsungekidkhunphayitesuxkhlumprachathipity nxkcaknn khwamaetktangrahwangxanacniymaelaprachathipitythisakhyimaephkareluxktng khux karmihlknitithrrmthiimexnexiyng mirthbalthitrwcsxbid aelamikrabwnkaryutithrrmthiepnxisraprascakkaraethrkaesnghruxxkhtixrrthathibayaenwkhideruxngrabxbxanacniymepnphlcakbribththangkaremuxnghlngthswrrs 1960 epntnma thiolkidaebngrabxbkarpkkhrxngtang xxkepn 2 khayihytamxudmkarnthangkaremuxng khux rabxbprachathipity aelarabxbthiimepnprachathipity odyrabxbxanacniymthukmxngwaepnrupaebbhnungkhxngrabxbthiimepnprachathipity thvsdiekiywkbxanacniymidmikarsuksaxyangepnrabbkhrngaerkodyhwn ec linth Juan J Linz inpi kh s 1964 linth rabuwarabxbkarpkkhrxngaebbxanacniymnncatxngprakxbdwykhunsmbtiphunthan 3 prakarxnidaek 1 phhuniymaebbcakd 2 karmungipthiciticmakkwaxudmkarn 3 prascakkarradmsrrphkalngthangkaremuxng political mobilization ephuxkarsnbsnuninrayayaw Badie 2011 108 khwamepnphhuniymaebbcakdnnepnlksnaprakarhnungthithaihxanacniymxyukungklangrahwangephdckarebdesrc kbprachathipity ephraainkhnathirabxbprachathipityepidoxkasihmiphhuniymaebbetmrupaebb aelaephdckarebdesrcthiimepidoxkasihmiphhuniymkhuninsngkhmelynn rabxbxanacniymklbepidoxkasihkhwamaetktanghlakhlaybangprakardarngxyuid imwacaepnkaryxmihmikhuaekhng hruxfaytrngkhamthangkaremuxng khux phrrkhkaremuxngxun hruxphakhprachasngkhmbang aetkrannsingehlanikmkcatxngthukcakd aeladaeninkickrrmxyuidkodykhwamyinyxmkhxngphunaxanacniym phayinkhxbekhtthithukkahndiw ephraaodyswnihyaelwkaryxmihmikhwamaetktanginsngkhmxyubangni kmkcaepnephiyngkarsrangkhwamchxbthrrmihaekkarpkkhrxngodykhnathhar military junta hruxphunathikumxanacxyuebuxnghlngnnexng sungkhwamkakungehlaniniexngthithaihrabxbxanacniymimmikarcdrabbokhrngsrang aelaxudmkarnthixyuebuxnghlngxyangepnrabbaelachdecn xnepnthimakhxnglksnasakhyprakarthisxngkkhux karmungkhwbkhumciticmakkwaxudmkarn sungsngphlihrabxbkarpkkhrxngniimsamarthradmsrrphkalngthangkaremuxng ephuxihidrbkarsnbsnunxyangtxenuxngcakwyrunhnumsaw nkwichakar aelanksuksapyyachninsngkhmidnnexng Linz 2000 159 261 twxyangkarnaipichinpraethsithychwngewlathipraethsithypkkhrxngdwyrabxbxanacniymthichdecnthisudehncaidaek chwngpi ph s 2500 2516 hrux inchwngrabxbsvsdi aelarabxbthnxm praphas nnexng odyinchwng ph s 2502 2506 thiidmikarprakasthrrmnuykarpkkhrxng ph s 2502 thaihnaykrthmntri khuxcxmphlsvsdisamarthichxanactammatra 17 sungbyytikhxkhwamihxanacaeknaykrthmntriinkrniphiessiwxyangkwangkhwang aemkrathngsamarthsngpraharprachachnodyimtxngphankrabwnkaryutithrrm immiesriphaphkhxngsuxmwlchninkarnaesnxkhxmulkhawsartang aelathisakhykkhux immiphrrkhkaremuxng aelakareluxktng xanackaremuxngthnghmdcungxyuinmuxkhxngcxmphlsvsdiaetephiyngphuediyw thiaetngtngtnexngepnthngphubychakarthharsungsud phubychakarthharbk aelaxthibdikrmtarwc karcdwangkhwamsmphnthkhxngswntang insngkhminsaytakhxngcxmphlsvsditngxyubnkhwamechuxthiwa rthbaltxngmixanacsungsudinkarbriharpraeths odymiepahmayhlkxyuthiesthiyrphaphthangkaremuxngaelakhwamepnpukaephnkhxngchati swnrabbrachkarmihnathiptibtitamkhasngkhxngrthbalodyechphaacaktwphunakhuxcxmphlsvsdi phayittrrkani kharachkarcungmihnathihlkepnphurbichrthbal imichrbichprachachn aenwkhidkhxngcxmphlsvsdiepnkarprayuktpraephnikarcdraebiybkaremuxngkarpkkhrxngkhxngithyaebbphxpkkhrxnglukthimiphunthanxyubnprawtisastraelacaritdngediminsmysuokhthy aenwkhiddngklawthukeriykkhanwa rabxbphxkhunxupthmph thks 2552 226 227 sungidklayepnthimakhxngwathkrrm prachathipityaebbithy thiichsrangkhwamchxbthrrmthangkaremuxngthamklangkhwamlmehlwinkarwangrakthanprachathipitykhxngsngkhmithymahlaythswrrs aemwainpi ph s 2511 hlngcakkarthungaekxnickrrmkhxngcxmphlsvsdiipkwa 5 pi praethsithyidmikarprakasichrththrrmnuychbbihm khux rththrrmnuychbbpi ph s 2511 aelatamtidmadwykareluxktnginpiediywkn xnepnphllphthmacakkhwamphyayamkhxngshrthxemrikainkarphlkdnihithyepnprachathipitymakkhun odyklikkhxngkareluxktng ephuxrbmuxkbphykhxmmiwnist Kesboonchoo Mead 2012 215 240 thwakareluxktngthiekidkhunnn aethcringepnephiyngchakhnainkarsrangkhwamchxbthrrmihaekrabxbthnxm praphasphusubthxdxanaccakcxmphlsvsdi ephraaphrrkhkaremuxngthiidrbkareluxktngkidaekphrrkhshprachaithy khxngcxmphlthnxm kittikhcr xikthnginsphayngmiwuthismachikthimacakkaraetngtngkhxngcxmphlthnxmxikkwakhrungspha canwn 91 khn cak 140 khn dngnn cxmphlthnxmcungmixanaclnehluxthimacakkarphukkhadesiyngsnbsnuninrthspha rthbalkhxngcxmphlthnxminpi ph s 2511 cungepnephiyngaekhrthbaltwaethnkhxngrabxbxanacniymcakkareluxktngthiaemcaepidoxkasihmiphrrkhkaremuxng aelakareluxktng aetkaefngerniwdwykhwamphyayaminkarrksathanxanacthangkaremuxng khwbkhuipkbkaraesrngthaihduehmuxnwaepnkarpkkhrxnginrabxbprachathipity aetdwyklikthiphidfaphidtw aelabidebuxncungthaihrthbalkhxngcxmphlthnxmimxacrbmuxkbaerngesiydthanthitammacakklikkhxngrabbrthspha khux kartrwcsxb aelakarxphiprayskthamodyfaykhan aelasmachikrthsphaipid dwyehtunihlngcakthirthbalimsamarthphanrangphrarachbyytingbpramanraycaypracapitxrthsphaid cxmphlthnxmcungtdsinicsldkhrabprachathipity aelaepidephytwtnkhxngrabxbephdckardwykaryudxanactwexnginpi ph s 2514 sungkarrthpraharkhrngniidnaipsukhwamkhdaeyngthangkaremuxngthirunaerngmakkhun aelanaipsukarlmslaykhxngrabxbxanacniym thnxm praphas phayhlngcakkarekidwikvtikarneduxntulakhminxik 2 pithdma sungepnthiruckkndiinnam ehtukarn 14 tula ph s 2516 phayitrabxbxanacniym svsdi thnxm praphas kxihekidkarsubthxdkhaniym aelathsnkhtiaebbecakhnnaykhn karthikhnarthmntriinchwngewladngklawmithimacakkharachkarpracaaelakharachkarbanaycanwnmak thaihmikarichesnsayinaewdwngkharachkarepnbniditetaipsutaaehnngthangkaremuxng epidoxkasihkhnathhar klumthurkicaelakharachkarphukkhadxanacaelakxbokyphlpraoychnekhakraepatwexngepncanwnmhasal cnkrathng rthbalthksin chinwtr idmikarrabuwaepn lththixanacniymthiaefngmakbrabxbprachathipity hrux xanacniymthimacakkareluxktng electoral authoritarianisms odynkwichakarchuxeksiyr etchaphira 2547 klawwa wthnthrrrmkaremuxngxanacniymaebbptipksptirupphayitrabxbthksin mi 7 prakar idaek karsrang esiyngkhangmak aela phlpraoychnswnrwm esmuxncring phlpraoychnthbsxnaelamatrthansxnghna esiyngthiehntangaelaphlpraoychnkhxngphuehntangthukebiydphlkihklayepn esiyngswnnxy aela phlpraoychnkhxngkhnkhangnxy siththiesiyngkhangnxyaelakhxngbukhkhlthukbidphliw pdptiesth krathngbdkhyi dwykalngkhxngrthidxyangchxbthrrm wathkrrmaelawithikarkhxngchatiniymephdckarfaykhwatxtankhxmmiwnistinxdit thukhyibyummaewiynich subthxdaelaphthna karkxkarrayodyrthichidehmuxnin karemuxngphakhprachachnklayepnkaremuxngpraednediyw xnung pccubn 2563 hlngrthprahar khxng phlexk prayuthth cnthroxcha 2557 2562 idmikarrangrththrrmnuy pi 2560 khun odyichxanackhxngtwexnginkhnann srangrththrrmnuy thisxdiskarsubthxdpkpxngxanackhxngtwexngaelaphwkphxng dwykaraetngtng s w 250 khnodythiphakhprachachnimidmiswnrwm ephuxohwteluxk phlexk prayuthth cnthroxchaepnnaykrthmntri hlngmikareluxktnginpi 2562 thngthiphrrkhphlngpracharthphayaephinkareluxktngimidrbesiyngswnihykhxngpraeths thaihpraethsithythukpkkhrxngdwyrabxbxanacniym phayitrththrrmnuy sxnrup duephimrabbrwbxanacebdesrc kartrwcphicarnaxinethxrent bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhkxangxingKurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press Linz Juan 2000 Totalitarian and authoritarian Boulder Lynne Rienne Badie Bertrand Dirk Berg Schlosser and Leonardo Morlino 2011 International encyclopedia of political science Thousand Oaks Calif SAGE Publications ibid ibid Linz Juan 2000 Totalitarian and authoritarian Boulder Lynne Rienne thks echlimetiyrn 2552 karemuxngrabbphxkhunxupthmphaebbephdckar krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr Kesboonchoo Mead Kullada 2012 The cold war and Thai democratization In Southea and the cold war New York Routledge eksiyr etchaphira 2547 wthnthrrrmkaremuxngxanacniymaebbepnptipkskbkarptirupphayitrabxbthksin in smchay hxmlxx b k xumthnaysmchay nilaiphcitr bthsathxnwthnthrrmxanacniyminsngkhmithy krungethph khnathanganpkpxngnktxsuephuxsiththimnusychn hna 3 19