ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
Aspergillus oryzae | |
---|---|
A. oryzae ที่เจริญบนข้าวสำหรับทำโคจิ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | Eukarya |
อาณาจักร: | Fungi |
หมวด: | |
ชั้น: | |
อันดับ: | |
วงศ์: | |
สกุล: | Aspergillus |
สปีชีส์: | A. oryzae |
ชื่อทวินาม | |
Aspergillus oryzae (Ahlburg) E. Cohn |
ราโคจิ (kōji mold) หรือชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aspergillus oryzae เป็นเชื้อราประเภทที่มีเส้นใย อยู่ในสกุล Aspergillus ซึ่งใช้ประโยชน์ในการหมักอาหาร โดยราชนิดนี้จะนิยมใช้ในอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่นสำหรับการหมักซีอิ๊วจากถั่วเหลือง โดยเตรียมอยู่ในรูปของโคจิ ซึ่งเป็นหัวเชื้อที่ใช้เพื่อการหมัก นอกจากนั้นยังใช้กับกระบวนการ แซ็กคาริไฟ (กระบวนการเปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาล) ในข้าว ธัญพืช และมันฝรั่งในการทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น , สาเก, มักก็อลลี และ โชจู ซึ่งการนำ A. oryzae มาใช้นั้นมีมาตั้งแต่ 2,000 ปีที่ผ่านมา ซึ่งใช้ในการทำน้ำส้มสายชูที่หมักจากข้าว
ดร. เอย์จิ อิจิชิมะ จากมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ได้เขียนถึงเชื้อรา A. oryzae ว่าเป็น “National Fungus” (ฟังไจแห่งชาติ) ในวารสารของสมาคมผู้ประกอบการเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเทศญี่ปุ่น (The Journal of The Brewing Society of Japan) เพราะความสำคัญของมันไม่เพียงแต่สำหรับการผลิตสาเก แต่ยังสำหรับการทำโคจิมิโซะ ซอสถั่วเหลือง และส่วนประกอบอื่นๆ ของอาหารญี่ปุ่นพื้นบ้านแบบดั้งเดิม ซึ่งข้อเสนอของเขาได้รับการอนุมัติในที่ประชุมประจำปีของสมาคมปี 2006
“โคจิสีแดง” สร้างมาจาก Monascus purpureus
ประวัติโคจิ
300 ปีก่อนคริสตกาล – โคจิถูกนำมาใช้ครั้งแรกใน Zhouli (พิธีกรรมแห่งราชวงศ์โจว) ที่ประเทศจีน เป็นเหตุการณ์สำคัญที่นำมาซึ่งการพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอาหารของจีน ทำให้เกิดกรอบแนวคิดสำหรับสามเครื่องปรุงสำคัญที่หมักจากถั่วเหลือง คือ ซีอิ๊วและมิโซะ
คุณสมบัติในการทำเหล้าสาเกและการทดสอบ
คุณสมบัติของราสายพันธุ์ A. oryzae มีความสำคัญในกระบวนการเปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาล ซึ่งใช้ในการผลิตสาเก
- Growth: เจริญอย่างรวดเร็วเมื่อขึ้นอยู่บนและในเมล็ดข้าว
- Enzymes: สามารถผลิตเอนไซม์ (Amylase) ( และ Glucoamylase)
- Aesthetics: กลิ่นหอม
- Color: มีการผลิตของ Deferriferrichrome, Flavins
จีโนม
จีโนมของ A. oryzae ถูกเผยแพร่ครั้งแรกโดยสมาคมของบริษัท เทคโนโลยีชีวภาพประเทศญี่ปุ่น ในปี 2005 ซึ่งประกอบด้วยแปดโครโมโซม โดยแต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 37 ล้านคู่เบส และยังมีอีก 12,000 จำนวนที่คาดว่าเป็นยีน (Predicted Genes) จีโนมของ A. oryzae ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งในสามของสายพันธุ์รา Aspergillus ใน A. oryzae มียีนชนิดพิเศษอยู่หลากหลายที่คาดว่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับ สายพันธุ์ที่แยกได้ในปี 1950 เรียกว่า RIB40 หรือ ATTC 42149 ซึ่งเป็นแบบอย่างของสายพันธุ์ที่ใช้สำหรับต้มเหล้าสาเก
การใช้งานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
ผลิตสาร Resveratrol ซึ่งเป็นโพลีฟีนอลชนิดหนึ่ง สามารถผลิตได้จาก Glucoside piceid ที่ผ่านกระบวนการของการหมักโดย A. oryzae
อ้างอิง
- Index Fungorum
- 'History of Koji - Grains and/or Soybeans Enrobed with a Mold Culture (300 BCE to 2012). 2016-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- คุณสมบัติในการทำเหล้าสาเกและการทดสอบ[]
- PMID 19081651 (PMID 19081651)
Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudAspergillus oryzaeA oryzae thiecriybnkhawsahrbthaokhcikarcaaenkchnthangwithyasastrodemn Eukaryaxanackr Fungihmwd chn xndb wngs skul Aspergillusspichis A oryzaechuxthwinamAspergillus oryzae Ahlburg E Cohn raokhci kōji mold hruxchuxwithyasastrwa Aspergillus oryzae epnechuxrapraephththimiesniy xyuinskul Aspergillus sungichpraoychninkarhmkxahar odyrachnidnicaniymichinxaharcinaelaxaharyipunsahrbkarhmksixiwcakthwehluxng odyetriymxyuinrupkhxngokhci sungepnhwechuxthiichephuxkarhmk nxkcaknnyngichkbkrabwnkar aeskkhariif krabwnkarepliynaepngihepnnatal inkhaw thyphuch aelamnfrnginkarthaekhruxngdumaexlkxhxl echn saek mkkxlli aela ochcu sungkarna A oryzae maichnnmimatngaet 2 000 pithiphanma sungichinkarthanasmsaychuthihmkcakkhaw dr exyci xicichima cakmhawithyalyothohku idekhiynthungechuxra A oryzae waepn National Fungus fngicaehngchati inwarsarkhxngsmakhmphuprakxbkarekiywkbekhruxngdumaexlkxhxlpraethsyipun The Journal of The Brewing Society of Japan ephraakhwamsakhykhxngmnimephiyngaetsahrbkarphlitsaek aetyngsahrbkarthaokhcimiosa sxsthwehluxng aelaswnprakxbxun khxngxaharyipunphunbanaebbdngedim sungkhxesnxkhxngekhaidrbkarxnumtiinthiprachumpracapikhxngsmakhmpi 2006 okhcisiaedng srangmacak Monascus purpureus ifl Koji 1 jpgkarhmkokhciinaethngkprawtiokhci300 pikxnkhristkal okhcithuknamaichkhrngaerkin Zhouli phithikrrmaehngrachwngsocw thipraethscin epnehtukarnsakhythinamasungkarphthnakhwamkawhnathangdanxaharkhxngcin thaihekidkrxbaenwkhidsahrbsamekhruxngprungsakhythihmkcakthwehluxng khux sixiwaelamiosakhunsmbtiinkarthaehlasaekaelakarthdsxbkhunsmbtikhxngrasayphnthu A oryzae mikhwamsakhyinkrabwnkarepliynaepngihepnnatal sungichinkarphlitsaek Growth ecriyxyangrwderwemuxkhunxyubnaelainemldkhawEnzymes samarthphlitexnism Amylase aela Glucoamylase Aesthetics klinhxmColor mikarphlitkhxng Deferriferrichrome Flavinscionmcionmkhxng A oryzae thukephyaephrkhrngaerkodysmakhmkhxngbristh ethkhonolyichiwphaphpraethsyipun inpi 2005 sungprakxbdwyaepdokhromosm odyaetlaokhromosmprakxbdwy 37 lankhuebs aelayngmixik 12 000 canwnthikhadwaepnyin Predicted Genes cionmkhxng A oryzae ihyepnxndbhnunginsamkhxngsayphnthura Aspergillus in A oryzae miyinchnidphiessxyuhlakhlaythikhadwacamiswnekiywkhxngkb sayphnthuthiaeykidinpi 1950 eriykwa RIB40 hrux ATTC 42149 sungepnaebbxyangkhxngsayphnthuthiichsahrbtmehlasaekkarichngandanethkhonolyichiwphaphphlitsar Resveratrol sungepnophlifinxlchnidhnung samarthphlitidcak Glucoside piceid thiphankrabwnkarkhxngkarhmkody A oryzaexangxingIndex Fungorum History of Koji Grains and or Soybeans Enrobed with a Mold Culture 300 BCE to 2012 2016 12 21 thi ewyaebkaemchchin khunsmbtiinkarthaehlasaekaelakarthdsxb lingkesiy PMID 19081651 PMID 19081651 Citation will be completed automatically in a few minutes Jump the queue or expand by hand