ภาวะเสียความจำ (อังกฤษ: amnesia) เป็นการขาดความจำที่เกิดจากความเสียหายต่อสมอง โรคหรือ ภาวะเสียความจำอาจเกิดได้ชั่วคราวจากการใช้ยาระงับประสาทและยานอนหลับชนิดต่าง ๆ ความจำอาจเสียได้ทั้งหมดหรือบางส่วนขึ้นอยู่กับขอบเขตของความเสียหายที่เป็นสาเหตุ
ภาวะเสียความจำ Amnesia | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F04, R41.3 |
ICD- | 294.0, 780.9, 780.93 |
003257 | |
MeSH | D000647 |
ภาวะเสียความจำมีสองชนิดหลัก ได้แก่ ภาวะเสียความจำไปข้างหลัง (retrograde amnesia) และภาวะเสียความจำไปข้างหน้า (anterograde amnesia) ภาวะเสียความจำไปข้างหลังคือความไม่สามารถดึงสารสนเทศที่เคยได้มาก่อนวันหนึ่ง ๆ ซึ่งปกติเป็นวันที่เกิดอุบัติเหตุหรือการผ่าตัด ในบางกรณี การเสียความจำสามารถขยายไปได้หลายทศวรรษ ส่วนบางกรณี บุคคลอาจเสียความจำไปไม่กี่เดือน ภาวะเสียความจำไปข้างหน้าคือความไม่สามารถส่งผ่านสารสนเทศใหม่จากคลังระยะสั้นไปคลังระยะยาว บุคคลที่มีภาวะเสียความจำชนิดนี้ไม่สามารถจำอะไรได้นาน ทั้งสองชนิดไม่จำเป็นต้องเกิดแยกกันเสมอไป สามารถเกิดภาวะเสียความจำทั้งสองชนิดในผู้ป่วยคนหนึ่งได้พร้อมกัน การศึกษาผู้ป่วย เช่น การศึกษาผู้ป่วยอาร์.บี. แสดงว่าภาวะเสียความจำทั้งสองชนิดเกิดได้พร้อมกัน
การศึกษาผู้ป่วยยังแสดงว่าภาวะเสียความจำตรงแบบสัมพันธ์กับความเสียหายต่อกลีบขมับใกล้กลาง (medial temporal lobe) นอกจากนี้ บางบริเวณของฮิปโปแคมปัส (บริเวณซีเอ1) เกี่ยวข้องกับความจำ การวิจัยยังแสดงว่าเมื่อบางบริเวณของไดเอ็นเซฟาลอน (diencephalon) ได้รับความเสียหายก็สามารถเกิดภาวะเสียความจำได้ การศึกษาสมัยหลังแสดงสหสัมพันธ์ระหว่างการขาดโปรตีนอาร์บีเอพี48 (RbAp48) กับการเสียความจำ ในผู้ที่มีภาวะเสียความจำ จะยังมีความสามารถระลึกสารสนเทศทันที (immediate information) อยู่ และอาจยังสามารถก่อความจำใหม่ได้ ทว่า สังเกตได้ว่าความสามารถเรียนสิ่งใหม่และดึงสารสนเทศเก่าลดลงอย่างรุนแรง ผู้ป่วยสามารถเรียนความจำกระบวนการ (procedural knowledge) ใหม่ได้อยู่ นอกจากนี้ การเตรียมการรู้ (priming) ทั้งความรู้สึกและความคิด สามารถช่วยผู้เสียความจำในการเรียนความรู้ชนิดไม่ประกาศ (non-declarative knowledge) ใหม่ได้ ผู้ป่วยที่เสียความจำยังคงมีทักษะทางปัญญา ภาษาและสังคมอยู่พอควรแม้มีความสามารถระลึกสารสนเทศบางอย่างที่เคยประสบในช่วงการเรียนก่อนหน้าบกพร่องไปมาก
อ้างอิง
- Gazzaniga, M., Ivry, R., & Mangun, G. (2009) Cognitive Neuroscience: The biology of the mind. New York: W.W. Norton & Company.
- "Amnesia." The Gale Encyclopedia of Science. Ed. K. Lee Lerner and Brenda Wilmoth Lerner. 4th ed. Vol. 1. Detroit: Gale, 2008. 182-184. Gale Virtual Reference Library.
- Schacter, Daniel. L "Psychology"
- D. Frank Benson, "AMNESIA"
- LS., Cermak (1984). The episodic-semantic distinction in amnesia. New York: Guilford Press. p. 55.
- M, Kinsbourne (1975). Short-term memory processes and the amnesic syndrome. New York: Academic. pp. 258–91.
- H, Weingartner (1983). Forms of cognitive failure. Sc alzheimerience. pp. 221:380–2.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawaesiykhwamca xngkvs amnesia epnkarkhadkhwamcathiekidcakkhwamesiyhaytxsmxng orkhhrux phawaesiykhwamcaxacekididchwkhrawcakkarichyarangbprasathaelayanxnhlbchnidtang khwamcaxacesiyidthnghmdhruxbangswnkhunxyukbkhxbekhtkhxngkhwamesiyhaythiepnsaehtuphawaesiykhwamca AmnesiabychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F04 R41 3ICD 294 0 780 9 780 93003257MeSHD000647 phawaesiykhwamcamisxngchnidhlk idaek phawaesiykhwamcaipkhanghlng retrograde amnesia aelaphawaesiykhwamcaipkhanghna anterograde amnesia phawaesiykhwamcaipkhanghlngkhuxkhwamimsamarthdungsarsnethsthiekhyidmakxnwnhnung sungpktiepnwnthiekidxubtiehtuhruxkarphatd inbangkrni karesiykhwamcasamarthkhyayipidhlaythswrrs swnbangkrni bukhkhlxacesiykhwamcaipimkieduxn phawaesiykhwamcaipkhanghnakhuxkhwamimsamarthsngphansarsnethsihmcakkhlngrayasnipkhlngrayayaw bukhkhlthimiphawaesiykhwamcachnidniimsamarthcaxairidnan thngsxngchnidimcaepntxngekidaeykknesmxip samarthekidphawaesiykhwamcathngsxngchnidinphupwykhnhnungidphrxmkn karsuksaphupwy echn karsuksaphupwyxar bi aesdngwaphawaesiykhwamcathngsxngchnidekididphrxmkn karsuksaphupwyyngaesdngwaphawaesiykhwamcatrngaebbsmphnthkbkhwamesiyhaytxklibkhmbiklklang medial temporal lobe nxkcakni bangbriewnkhxnghipopaekhmps briewnsiex1 ekiywkhxngkbkhwamca karwicyyngaesdngwaemuxbangbriewnkhxngidexnesfalxn diencephalon idrbkhwamesiyhayksamarthekidphawaesiykhwamcaid karsuksasmyhlngaesdngshsmphnthrahwangkarkhadoprtinxarbiexphi48 RbAp48 kbkaresiykhwamca inphuthimiphawaesiykhwamca cayngmikhwamsamarthraluksarsnethsthnthi immediate information xyu aelaxacyngsamarthkxkhwamcaihmid thwa sngektidwakhwamsamartheriynsingihmaeladungsarsnethsekaldlngxyangrunaerng phupwysamartheriynkhwamcakrabwnkar procedural knowledge ihmidxyu nxkcakni karetriymkarru priming thngkhwamrusukaelakhwamkhid samarthchwyphuesiykhwamcainkareriynkhwamruchnidimprakas non declarative knowledge ihmid phupwythiesiykhwamcayngkhngmithksathangpyya phasaaelasngkhmxyuphxkhwraemmikhwamsamarthraluksarsnethsbangxyangthiekhyprasbinchwngkareriynkxnhnabkphrxngipmakxangxingGazzaniga M Ivry R amp Mangun G 2009 Cognitive Neuroscience The biology of the mind New York W W Norton amp Company Amnesia The Gale Encyclopedia of Science Ed K Lee Lerner and Brenda Wilmoth Lerner 4th ed Vol 1 Detroit Gale 2008 182 184 Gale Virtual Reference Library Schacter Daniel L Psychology D Frank Benson AMNESIA LS Cermak 1984 The episodic semantic distinction in amnesia New York Guilford Press p 55 M Kinsbourne 1975 Short term memory processes and the amnesic syndrome New York Academic pp 258 91 H Weingartner 1983 Forms of cognitive failure Sc alzheimerience pp 221 380 2