บทความนี้ไม่มีจาก |
ยาระงับประสาท (อังกฤษ: sedative) เป็นยาที่ทำให้เกิดภาวะสงบ ออกฤทธิ์โดยการไปลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้า หรือลดความตื่นเต้น การใช้ยาประเภทนี้ในปริมาณมากอาจก่อให้เกิดอาการพูดคำคละละเลือน, การทรงตัวแย่ลง, การใช้ดุลยพินิจแย่และเชื่องช้า ยาระงับประสาทบางชนิดอย่างกลุ่มยาเบ็นโซไดอาเซพีนอาจถูกใช้เป็นยานอนหลับ การใช้ยานี้ในปริมาณน้อยจะช่วยให้เกิดภาวะสงบ แต่การใช้มากเกินไปอาจทำให้เกิดความวิตกกังวล การใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความจำเสื่อมระยะสั้นหรือระยะยาว
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-01.
- sedative ใน
- Montenegro M, Veiga H, Deslandes A, และคณะ (June 2005). "[Neuromodulatory effects of caffeine and bromazepam on visual event-related potential (P300) : a comparative study.]". Arq Neuropsiquiatr. 63 (2B): 410–5. doi:10.1590/S0004-282X2005000300009. PMID 16059590.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir yarangbprasath xngkvs sedative epnyathithaihekidphawasngb xxkvththiodykaripldkartxbsnxngtxsingera hruxldkhwamtunetn karichyapraephthniinprimanmakxackxihekidxakarphudkhakhlalaeluxn karthrngtwaeylng karichdulyphinicaeyaelaechuxngcha yarangbprasathbangchnidxyangklumyaebnosidxaesphinxacthukichepnyanxnhlb karichyaniinprimannxycachwyihekidphawasngb aetkarichmakekinipxacthaihekidkhwamwitkkngwl karichyanitidtxknepnewlananxackxihekidphawakhwamcaesuxmrayasnhruxrayayawxangxingsthaniyxyephschkrrm khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 12 01 sedative in Montenegro M Veiga H Deslandes A aelakhna June 2005 Neuromodulatory effects of caffeine and bromazepam on visual event related potential P300 a comparative study Arq Neuropsiquiatr 63 2B 410 5 doi 10 1590 S0004 282X2005000300009 PMID 16059590