บทความนี้ไม่มีจาก |
รกลอกตัวก่อนกำหนด (อังกฤษ: premature separation of placenta, placental abruption, abruptio placentae) เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์ของการตั้งครรภ์ซึ่งรกได้แยกตัวออกจากผนังมดลูกของมารดาก่อนที่ทารกจะคลอดตามปกติ เป็นสาเหตุที่พบบ่อยสาเหตุหนึ่งของการมีเลือดออกในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ ในมนุษย์ถือว่าการลอกตัวของรกหลังสัปดาห์ที่ 20 ของการตั้งครรภ์และก่อนการเกิดนั้นเป็นการลอกตัวก่อนกำหนด มีอุบัติการณ์ 1% การตั้งครรภ์ทั่วโลกโดยมีอัตราการเสียชีวิตของทารกประมาณ 20-40% ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการลอกตัว รกลอกตัวก่อนกำหนดมีผลต่ออัตราการตายของมารดาอย่างมาก
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Premature separation of placenta) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | O45 |
ICD- | 641.2 |
40 | |
000901 | |
med/6 emerg/12 | |
MeSH | D000037 |
พยาธิสรีรวิทยา
การมีเลือดออกในชั้น ทำให้เกิดการลอกตัวของรก การมีเกิดขึ้นจะทำให้มีการลอกตัวออกจากผนังมดลูกมากขึ้นทำให้มีการกดทับอวัยวะเหล่านี้และส่งผลต่อการส่งเลือดไปเลี้ยงตัวอ่อน เลือดหลังรกอาจทะลุผนังมดลูกไปยังช่องท้อง (peritoneal cavity) เรี่ยกว่า ชั้นกล้ามเนื้อมดลูก () ในบริเวณนี้จะอ่อนแอและอาจฉีกขาดได้ในช่วงที่มีความดันในมดลูกขึ้นสูงขณะมดลูกหดตัวเพื่อการคลอด การขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจะทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ที่เป็นอันตรายถึงชีวิตได้ทันที
ความรุนแรงของภาวะเครียดของทารกจะสัมพันธ์กับความรุนแรงของการลอกตัวของรก ในกรณีที่รกลอกตัวจนหมดหรือเกือบหมดนั้นทารกจะเสียชีวิตเกือบแน่นอนหากไม่ได้รับการผ่าตัดคลอด
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir rklxktwkxnkahnd xngkvs premature separation of placenta placental abruption abruptio placentae epnphawaaethrksxnthangsutisastrkhxngkartngkhrrphsungrkidaeyktwxxkcakphnngmdlukkhxngmardakxnthitharkcakhlxdtampkti epnsaehtuthiphbbxysaehtuhnungkhxngkarmieluxdxxkinchwngthaykhxngkartngkhrrph inmnusythuxwakarlxktwkhxngrkhlngspdahthi 20 khxngkartngkhrrphaelakxnkarekidnnepnkarlxktwkxnkahnd mixubtikarn 1 kartngkhrrphthwolkodymixtrakaresiychiwitkhxngtharkpraman 20 40 khunxyukbkhwamrunaerngkhxngkarlxktw rklxktwkxnkahndmiphltxxtrakartaykhxngmardaxyangmakrklxktwkxnkahnd Premature separation of placenta bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10O45ICD 641 240000901med 6 emerg 12MeSHD000037phyathisrirwithyakarmieluxdxxkinchn thaihekidkarlxktwkhxngrk karmiekidkhuncathaihmikarlxktwxxkcakphnngmdlukmakkhunthaihmikarkdthbxwywaehlaniaelasngphltxkarsngeluxdipeliyngtwxxn eluxdhlngrkxacthaluphnngmdlukipyngchxngthxng peritoneal cavity eriykwa chnklamenuxmdluk inbriewnnicaxxnaexaelaxacchikkhadidinchwngthimikhwamdninmdlukkhunsungkhnamdlukhdtwephuxkarkhlxd karkhadkhxngchnklamenuxmdlukcathaihekidphawachukechinthangsutisastrthiepnxntraythungchiwitidthnthi khwamrunaerngkhxngphawaekhriydkhxngtharkcasmphnthkbkhwamrunaerngkhxngkarlxktwkhxngrk inkrnithirklxktwcnhmdhruxekuxbhmdnntharkcaesiychiwitekuxbaennxnhakimidrbkarphatdkhlxdxangxingbthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk