เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูประกอบ |
162173 รีวงู (Ryugu) หรือ 1999 JU3 ตามการตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อยชั่วคราว เป็นเทห์ฟ้า (NEO) และเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มี (PHO) ดวงหนึ่งใน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตร ถือเป็นวัตถุท้องฟ้าสีเข้มที่จัดอยู่ในชนิดของสเปกตรัมประเภท Cg ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งประเภท G และ C ดาวเคราะห์น้อยรีวงูเป็นเป้าหมายของการสำรวจโดยยานสำรวจอวกาศ ฮายาบูซะ 2 ซึ่งปล่อยจากโลกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 มีกำหนดถึงเป้าหมายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 เพื่อเก็บตัวอย่างส่งกลับโลก และกลับถึงโลกราวปลายปี พ.ศ. 2563
การค้นพบ | |
---|---|
ค้นพบโดย: | LINEAR, |
ค้นพบเมื่อ: | 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 |
ชื่อตามระบบ MPC: | (162173) รีวงู |
ชื่ออื่น ๆ: | 1999 JU3 |
ลักษณะของวงโคจร | |
ต้นยุคอ้างอิง 12 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (JD 2455907.5) | |
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 1.4159 AU |
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 0.9633 AU |
กึ่งแกนเอก: | 1.1896 AU |
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.1902 |
คาบการโคจร: | 1.30 ปี (474 วัน) |
มุมกวาดเฉลี่ย: | 3.9832° |
ความเอียง: | 5.8837° |
ลักษณะทางกายภาพ | |
เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย: | 0.865±0.015 km 0.87 km 0.90±0.14 km 0.92±0.12 km 0.980±0.029 km 1.13±0.03 km |
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 7.627±0.007 h |
อัตราส่วนสะท้อน: | 0.037±0.002 0.042±0.003 0.047±0.003 0.063±0.020 0.07±0.01 0.078±0.013 |
ชนิดสเปกตรัม: | = · |
โชติมาตรสัมบูรณ์: | 18.69±0.07 (R) 18.82 19.2 19.25±0.03 19.3 |
ประวัติ
นักดาราศาสตร์ในโครงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น (LINEAR) ค้นพบดาวเคราะห์น้อยรีวงูเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ณ ศูนย์ปฏิบัติการห้องทดลองลินคอล์น (Lincoln Laboratory's ETS) ใกล้เมือง รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐ และให้ชื่อดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ว่า 1999 JU3 ตามการตั้งชื่อชั่วคราว
ชื่อ
ดาวเคราะห์น้อย 1999 JU3 ได้รับการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า "รีวงู" (อังกฤษ: Ryugu) เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2558 โดย (เลขอ้างอิง M.P.C 95804) ชื่อ "รีวงู" นั้นมีที่มาจาก "รีวงูโจ" (ญี่ปุ่น: 竜宮城; โรมาจิ: Ryūgū-jō) หรือ "ปราสาทพระราชวังมังกร" ที่ปรากฏในคติชนญี่ปุ่นเรื่อง อูราชิมะ ทาโร ชาวประมงผู้ซึ่งขี่หลังเต่าไปยังพระราชวังใต้น้ำรีวงูโจ และเมื่อกลับขึ้นฝั่งเขาได้นำกล่องปริศนามาด้วย หากจะเปรียบเทียบก็เหมือนกับที่ยานสำรวจฮายาบูซะ 2 นำตัวอย่างจากดาวเคราะห์น้อยกลับมายังโลก
ลักษณะ
วงโคจร
ดาวเคราะห์น้อยรีวงูโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยระยะห่างระหว่าง 0.96–1.41 หน่วยดาราศาสตร์ (AU) มีระยะกึ่งแกนเอก 1.19 AU ใช้เวลาโคจรครบหนึ่งรอบ 474 วันหรือ 16 เดือน วงโคจรมีความเยื้องศูนย์กลาง 0.19 และความเอียง 6 องศาเมื่อเทียบกับสุริยวิถี มี (MOID) กับโลก 95,400 กิโลเมตร หรือเพียง 23% ของระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์
ลักษณะทางกายภาพ
เมื่อปี พ.ศ. 2555 นักดาราศาสตร์โทมัส จี. มึลเลอร์และคณะ ได้ศึกษาดาวเคราะห์น้อยรีวงูด้วยการสังเกตการณ์หลายรูปแบบ และให้ความเห็นว่าดาวเคราะห์น้อยนั้นแทบจะเป็นทรงกลม มีการหมุนรอบตัวเองสวนทางกับดวงอาทิตย์ (retrograde rotation) มีเส้นผ่านศูนย์กลางประสิทธิภาพ (effective diameter) 0.85–0.88 กิโลเมตร และมีอัตราส่วนสะท้อนเรขาคณิต (geometric albedo) 0.044–0.050 นอกจากนี้ยังได้ประมาณขนาดเม็ดของวัสดุพื้นผิวดาวไว้ระหว่าง 1–10 มิลลิเมตร
ภาพชุดแรกของดาวเคราะห์น้อยรีวงู ถ่ายโดยยานสำรวจฮายาบูซะ 2 เผยแพร่เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ขณะที่ยานอยู่ห่างจากดาว 700 กิโลเมตร เผยให้เห็นว่าดาวเคราะห์น้อยมีรูปทรงอย่างเพชร ยานสำรวจฮายาบูซะ 2 ยังคงถ่ายภาพอย่างต่อเนื่องในขณะที่เข้าใกล้ดาวมากขึ้น
ส่วนประกอบและมูลค่าดาว
อ้างอิงตามเว็บไซต์แอสเทอแรงค์ (Asterank) ซึ่งดำเนินงานโดยบริษัท Planetary Resources ดาวเคราะห์น้อยรีวงูมีองค์ประกอบทางเคมีได้แก่ นิกเกิล เหล็ก โคบอลต์ น้ำ ไนโตรเจน ไฮโดรเจน และแอมโมเนีย และมีการประเมินมูลค่าดาวปัจจุบันเพื่อการทำเหมืองแร่ไว้ที่ 82,760 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "162173 Ryugu (1999 JU3)". Minor Planet Center. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- "JPL Small-Body Database Browser: 162173 Ryugu (1999 JU3)" (2016-08-09 last obs.). Jet Propulsion Laboratory. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Müller, T. G.; Durech, J.; Ishiguro, M.; Mueller, M.; Krühler, T.; Yang, H.; และคณะ (มีนาคม 2017). "Hayabusa-2 mission target asteroid 162173 Ryugu (1999 JU3): Searching for the object's spin-axis orientation" (PDF). Astronomy and Astrophysics. 599: 25. :1611.05625. Bibcode:2017A&A...599A.103M. doi:10.1051/0004-6361/201629134. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Kim, Myung-Jin; Choi, Young-Jun; Moon, Hong-Kyu; Ishiguro, Masateru; Mottola, Stefano; Kaplan, Murat; และคณะ (กุมภาพันธ์ 2013). "Optical observations of NEA 162173 (1999 JU3) during the 2011-2012 apparition" (PDF). Astronomy and Astrophysics. 550: 4. :1302.4542. Bibcode:2013A&A...550L..11K. doi:10.1051/0004-6361/201220673. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Campins, H.; Emery, J. P.; Kelley, M.; Fernández, Y.; Licandro, J.; Delbó, M.; และคณะ (สิงหาคม 2009). "Spitzer observations of spacecraft target 162173 (1999 JU3)" (PDF). Astronomy and Astrophysics. 503 (2): L17–L20. :0908.0796. Bibcode:2009A&A...503L..17C. doi:10.1051/0004-6361/200912374. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Hasegawa, S.; Müller, T. G.; Kawakami, K.; Kasuga, T.; Wada, T.; Ita, Y.; และคณะ (ธันวาคม 2008). "Albedo, Size, and Surface Characteristics of Hayabusa-2 Sample-Return Target 162173 1999 JU3 from AKARI and Subaru Observations". Publications of the Astronomical Society of Japan. 60 (SP2): S399––S405. Bibcode:2008PASJ...60S.399H. doi:10.1093/pasj/60.sp2.S399. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Abe, M.; Kawakami, K.; Hasegawa, S.; Kuroda, D.; Yoshikawa, M.; Kasuga, T.; และคณะ (มีนาคม 2008). Ground-based Observational Campaign for Asteroid 162173 1999 JU3 (PDF). 37th COSPAR Scientific Assembly. . Vol. 39. p. 1594. Bibcode:2008LPI....39.1594A. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- Yu, Liang-Liang; Ji, Jiang-Hui; Wang, Su (กรกฎาคม 2014). "Investigation of Thermal Inertia and Surface Properties for Near-earth Asteroid (162173) 1999 JU3". Chinese Astronomy and Astrophysics. 38 (3): 317–329.(ChA&AHomepage). Bibcode:2014ChA&A..38..317L. doi:10.1016/j.chinastron.2014.07.008. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- . Asteroid Lightcurve Database (LCDB). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-23. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- (PDF). องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-14.
- "MPC/MPO/MPS Archive". Minor Planet Center. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- "Name Selection of Asteroid 1999 JU3 Target of the Asteroid Explorer "Hayabusa2"" (Press release). องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น. 5 ตุลาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
- "From a distance of about 700km, Ryugu's rotation was observed". องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น.
- Plait, Phil, "Asteroid Ryugu Starts to Come Into Focus", SyFy Wire, 20 มิถุนายน 2018.
- http://www.asterank.com/, มูลค่า: 82.76 พันล้าน$, กำไรประเมิน: 30.07 พันล้าน$
บรรณานุกรม
- Vilas, F. (2008). "Spectral Characteristics of Hayabusa 2 Near-Earth Asteroid Targets 162173 1999 Ju3 and 2001 Qc34". . 135: 1101. Bibcode:2008AJ....135.1101V. doi:10.1088/0004-6256/135/4/1101.
- "International Symposium Marco Polo and other Small Body Sample Return Missions: Programme and Presentations". องค์การอวกาศยุโรป. 18–20 พฤษภาคม 2009.
- Moskovitz, Nicholas A.; Abe, Shinsuke; Pan, Kang-Shian; Osip, David J.; Pefkou, Dimitra; Melita, Mario D.; และคณะ (พฤษภาคม 2013). "Rotational characterization of Hayabusa II target Asteroid (162173) 1999 JU3" (PDF). Icarus. 224 (1): 24–31. :1302.1199. Bibcode:2013Icar..224...24M. doi:10.1016/j.icarus.2013.02.009. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2018.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enuxhainbthkhwamnilasmy oprdprbprungkhxmulihepniptamehtukarnpccubnhruxlasud duhnaxphiprayprakxb 162173 riwngu Ryugu hrux 1999 JU3 tamkartngchuxdawekhraahnxychwkhraw epnethhfa NEO aelaepndawekhraahnxythimi PHO dwnghnungin mikhnadesnphansunyklangpraman 1 kiolemtr thuxepnwtthuthxngfasiekhmthicdxyuinchnidkhxngsepktrmpraephth Cg sungmikhunsmbtiepndawekhraahnxythngpraephth G aela C dawekhraahnxyriwnguepnepahmaykhxngkarsarwcodyyansarwcxwkas hayabusa 2 sungplxycakolkemuxeduxnthnwakhm ph s 2557 mikahndthungepahmayineduxnmithunayn ph s 2561 ephuxekbtwxyangsngklbolk aelaklbthungolkrawplaypi ph s 2563162173 riwngukarkhnphb khnphbody LINEAR khnphbemux 10 phvsphakhm ph s 2542chuxtamrabb MPC 162173 riwnguchuxxun 1999 JU3lksnakhxngwngokhcr tnyukhxangxing 12 thnwakhm ph s 2554 JD 2455907 5 rayacudikl dwngxathitythisud 1 4159 AUrayacudikl dwngxathitythisud 0 9633 AUkungaeknexk 1 1896 AUkhwameyuxngsunyklang 0 1902khabkarokhcr 1 30 pi 474 wn mumkwadechliy 3 9832 khwamexiyng 5 8837 lksnathangkayphaphesnphansunyklangechliy 0 865 0 015 km 0 87 km 0 90 0 14 km 0 92 0 12 km 0 980 0 029 km 1 13 0 03 kmkhabkarhmun rxbtwexng 7 627 0 007 hxtraswnsathxn 0 037 0 002 0 042 0 003 0 047 0 003 0 063 0 020 0 07 0 01 0 078 0 013chnidsepktrm ochtimatrsmburn 18 69 0 07 R 18 82 19 2 19 25 0 03 19 3prawtinkdarasastrinokhrngkarwicydawekhraahnxyiklolklinkhxln LINEAR khnphbdawekhraahnxyriwnguemuxwnthi 10 phvsphakhm ph s 2542 kh s 1999 n sunyptibtikarhxngthdlxnglinkhxln Lincoln Laboratory s ETS iklemuxng rthniwemksiok shrth aelaihchuxdawekhraahnxydwngniwa 1999 JU3 tamkartngchuxchwkhrawchuxdawekhraahnxy 1999 JU3 idrbkartngchuxxyangepnthangkarwa riwngu xngkvs Ryugu emuxwnthi 28 knyayn ph s 2558 ody elkhxangxing M P C 95804 chux riwngu nnmithimacak riwnguoc yipun 竜宮城 ormaci Ryugu jō hrux prasathphrarachwngmngkr thipraktinkhtichnyipuneruxng xurachima thaor chawpramngphusungkhihlngetaipyngphrarachwngitnariwnguoc aelaemuxklbkhunfngekhaidnaklxngprisnamadwy hakcaepriybethiybkehmuxnkbthiyansarwchayabusa 2 natwxyangcakdawekhraahnxyklbmayngolklksnawngokhcr dawekhraahnxyriwnguokhcrrxbdwngxathitydwyrayahangrahwang 0 96 1 41 hnwydarasastr AU mirayakungaeknexk 1 19 AU ichewlaokhcrkhrbhnungrxb 474 wnhrux 16 eduxn wngokhcrmikhwameyuxngsunyklang 0 19 aelakhwamexiyng 6 xngsaemuxethiybkbsuriywithi mi MOID kbolk 95 400 kiolemtr hruxephiyng 23 khxngrayahangrahwangolkkbdwngcnthr lksnathangkayphaph yansarwcxwkas hayabusa 2 emuxpi ph s 2555 nkdarasastrothms ci mulelxraelakhna idsuksadawekhraahnxyriwngudwykarsngektkarnhlayrupaebb aelaihkhwamehnwadawekhraahnxynnaethbcaepnthrngklm mikarhmunrxbtwexngswnthangkbdwngxathity retrograde rotation miesnphansunyklangprasiththiphaph effective diameter 0 85 0 88 kiolemtr aelamixtraswnsathxnerkhakhnit geometric albedo 0 044 0 050 nxkcakniyngidpramankhnademdkhxngwsduphunphiwdawiwrahwang 1 10 milliemtr phaphchudaerkkhxngdawekhraahnxyriwngu thayodyyansarwchayabusa 2 ephyaephremuxwnthi 14 mithunayn ph s 2561 khnathiyanxyuhangcakdaw 700 kiolemtr ephyihehnwadawekhraahnxymirupthrngxyangephchr yansarwchayabusa 2 yngkhngthayphaphxyangtxenuxnginkhnathiekhaikldawmakkhun swnprakxbaelamulkhadaw xangxingtamewbistaexsethxaerngkh Asterank sungdaeninnganodybristh Planetary Resources dawekhraahnxyriwngumixngkhprakxbthangekhmiidaek nikekil ehlk okhbxlt na inotrecn ihodrecn aelaaexmomeniy aelamikarpraeminmulkhadawpccubnephuxkarthaehmuxngaeriwthi 82 760 landxllarshrthduephimsthaniyxyrabbsuriyadawekhraahnxyiklolkxangxing 162173 Ryugu 1999 JU3 Minor Planet Center subkhnemux 22 mithunayn 2018 JPL Small Body Database Browser 162173 Ryugu 1999 JU3 2016 08 09 last obs Jet Propulsion Laboratory subkhnemux 22 mithunayn 2018 Muller T G Durech J Ishiguro M Mueller M Kruhler T Yang H aelakhna minakhm 2017 Hayabusa 2 mission target asteroid 162173 Ryugu 1999 JU3 Searching for the object s spin axis orientation PDF Astronomy and Astrophysics 599 25 1611 05625 Bibcode 2017A amp A 599A 103M doi 10 1051 0004 6361 201629134 subkhnemux 22 mithunayn 2018 Kim Myung Jin Choi Young Jun Moon Hong Kyu Ishiguro Masateru Mottola Stefano Kaplan Murat aelakhna kumphaphnth 2013 Optical observations of NEA 162173 1999 JU3 during the 2011 2012 apparition PDF Astronomy and Astrophysics 550 4 1302 4542 Bibcode 2013A amp A 550L 11K doi 10 1051 0004 6361 201220673 subkhnemux 22 mithunayn 2018 Campins H Emery J P Kelley M Fernandez Y Licandro J Delbo M aelakhna singhakhm 2009 Spitzer observations of spacecraft target 162173 1999 JU3 PDF Astronomy and Astrophysics 503 2 L17 L20 0908 0796 Bibcode 2009A amp A 503L 17C doi 10 1051 0004 6361 200912374 subkhnemux 22 mithunayn 2018 Hasegawa S Muller T G Kawakami K Kasuga T Wada T Ita Y aelakhna thnwakhm 2008 Albedo Size and Surface Characteristics of Hayabusa 2 Sample Return Target 162173 1999 JU3 from AKARI and Subaru Observations Publications of the Astronomical Society of Japan 60 SP2 S399 S405 Bibcode 2008PASJ 60S 399H doi 10 1093 pasj 60 sp2 S399 subkhnemux 22 mithunayn 2018 Abe M Kawakami K Hasegawa S Kuroda D Yoshikawa M Kasuga T aelakhna minakhm 2008 Ground based Observational Campaign for Asteroid 162173 1999 JU3 PDF 37th COSPAR Scientific Assembly Vol 39 p 1594 Bibcode 2008LPI 39 1594A subkhnemux 22 mithunayn 2018 Yu Liang Liang Ji Jiang Hui Wang Su krkdakhm 2014 Investigation of Thermal Inertia and Surface Properties for Near earth Asteroid 162173 1999 JU3 Chinese Astronomy and Astrophysics 38 3 317 329 ChA amp AHomepage Bibcode 2014ChA amp A 38 317L doi 10 1016 j chinastron 2014 07 008 subkhnemux 22 mithunayn 2018 Asteroid Lightcurve Database LCDB khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 06 23 subkhnemux 22 mithunayn 2018 PDF xngkhkarsarwcxwkasyipun khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2018 07 14 MPC MPO MPS Archive Minor Planet Center subkhnemux 22 mithunayn 2018 Name Selection of Asteroid 1999 JU3 Target of the Asteroid Explorer Hayabusa2 Press release xngkhkarsarwcxwkasyipun 5 tulakhm 2015 subkhnemux 22 mithunayn 2018 From a distance of about 700km Ryugu s rotation was observed xngkhkarsarwcxwkasyipun Plait Phil Asteroid Ryugu Starts to Come Into Focus SyFy Wire 20 mithunayn 2018 http www asterank com mulkha 82 76 phnlan kairpraemin 30 07 phnlan brrnanukrmVilas F 2008 Spectral Characteristics of Hayabusa 2 Near Earth Asteroid Targets 162173 1999 Ju3 and 2001 Qc34 135 1101 Bibcode 2008AJ 135 1101V doi 10 1088 0004 6256 135 4 1101 International Symposium Marco Polo and other Small Body Sample Return Missions Programme and Presentations xngkhkarxwkasyuorp 18 20 phvsphakhm 2009 Moskovitz Nicholas A Abe Shinsuke Pan Kang Shian Osip David J Pefkou Dimitra Melita Mario D aelakhna phvsphakhm 2013 Rotational characterization of Hayabusa II target Asteroid 162173 1999 JU3 PDF Icarus 224 1 24 31 1302 1199 Bibcode 2013Icar 224 24M doi 10 1016 j icarus 2013 02 009 subkhnemux 22 mithunayn 2018