ไทรทัน (อังกฤษ: Triton) เป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเนปจูน เป็นสถานที่เพียงหนึ่งในสี่แห่งในระบบสุริยะ ที่มีก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศ นอกเหนือจากโลก, ดาวบริวารไททัน (Titan Moon) ของดาวเสาร์ และดาวพลูโต
ไทรทันมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,707 ก.ม. มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ -235 องศาเซลเซียส (35 เคลวิน) สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเหวและร่องลึกมากมาย เนื่องจากอุณหภูมิที่ต่ำทำให้เกิดน้ำแข็ง และน้ำแข็งละลายกลับไปกลับมาซ้ำแล้วซ้ำเล่า นอกจากนั้นยังมี (cryovolcanos) ที่พ่นน้ำพุแรงดันสูง ประกอบด้วยไนโตรเจนเหลว มีเทนแข็ง และฝุ่นที่เย็นจัดขึ้นไปกว่า 8 กิโลเมตร เหนือพื้นผิวของดาวบริวาร
ลักษณะพื้นผิวดาวบริวารจะแวววาวจากหินแข็ง โดยมีส่วนผสมด้วยละอองอนุภาคสีดำขนาดเล็ก ถูกหุ้มด้วยผลึกน้ำแข็ง (เกิดจาก Ice carbonaceous) มีส่วนประกอบของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน และแก๊สมีเทน ฟุ้งกระจายเป็นหมอกบางๆ เหนือพื้น โดยมีน้ำแข็งทั้งหมดประมาณ 25%
ไทรทันเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object) มีถิ่นกำเนิดอยู่บริเวณขอบของระบบสุริยะ เลยวงโคจรของดาวพลูโต ออกไปและถูกดาวเนปจูนดูดจับเข้ามาเป็นบริวาร รูปทรงสัณฐานของไทรทันที่สังเกตเห็น จะมีแนวเฉดฟ้าอ่อนจาก Nitrogen ice เช่นเดียวกับไอของน้ำแข็งแห้ง
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-22. สืบค้นเมื่อ 2010-12-24.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ไทรทัน 2011-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก โครงการสำรวจระบบสุริยะขององค์การนาซา
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ithrthn xngkvs Triton epndawbriwarthiihythisudkhxngdawenpcun epnsthanthiephiynghnunginsiaehnginrabbsuriya thimikasinotrecninbrryakas nxkehnuxcakolk dawbriwariththn Titan Moon khxngdawesar aeladawphluotithrthn ithrthnmikhnadesnphasunyklang 2 707 k m mixunhphumiphunphiwpraman 235 xngsaeslesiys 35 ekhlwin sphaphphumipraethsepnhubehwaelarxnglukmakmay enuxngcakxunhphumithitathaihekidnaaekhng aelanaaekhnglalayklbipklbmasaaelwsaela nxkcaknnyngmi cryovolcanos thiphnnaphuaerngdnsung prakxbdwyinotrecnehlw miethnaekhng aelafunthieyncdkhunipkwa 8 kiolemtr ehnuxphunphiwkhxngdawbriwar lksnaphunphiwdawbriwarcaaewwwawcakhinaekhng odymiswnphsmdwylaxxngxnuphakhsidakhnadelk thukhumdwyphluknaaekhng ekidcak Ice carbonaceous miswnprakxbkhxngkaskharbxnidxxkisd inotrecn aelaaeksmiethn fungkracayepnhmxkbang ehnuxphun odyminaaekhngthnghmdpraman 25 ithrthnepnwtthuaethbikhepxr Kuiper Belt Object mithinkaenidxyubriewnkhxbkhxngrabbsuriya elywngokhcrkhxngdawphluot xxkipaelathukdawenpcundudcbekhamaepnbriwar rupthrngsnthankhxngithrthnthisngektehn camiaenwechdfaxxncak Nitrogen ice echnediywkbixkhxngnaaekhngaehngxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 05 22 subkhnemux 2010 12 24 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ithrthn dawbriwar ithrthn 2011 02 19 thi ewyaebkaemchchin cak okhrngkarsarwcrabbsuriyakhxngxngkhkarnasa bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk