วัสดุไดอิเล็กทริก (อังกฤษ: dielectric material) (หรือสั้น ๆ ว่าไดอิเล็กทริก) เป็นฉนวนไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่สามารถทำให้มีได้โดยใช้สนามไฟฟ้า เมื่อไดอิเล็กทริกหนึ่งถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะไม่ไหลผ่านตัววัสดุเหมือนอย่างที่ผ่านตัวนำ เพียงแต่ขยับเพียงเล็กน้อยเท่านั้นจากตำแหน่งสมดุลเฉลี่ยเดิมก่อให้เกิดความเป็นขั้วไดอิเล็กทริก (dielectric polarization) ในการนี้ประจุบวกจะถูกผลักไปในทิศทางของสนามและประจุลบจะขยับไปในทิศทางตรงกันข้าม ปรากฏการณ์นี้จะสร้างสนามไฟฟ้าภายในที่ช่วยลดสนามโดยรวมภายในตัวไดอิเล็กทริกมันเอง ถ้าไดอิเล็กทริกหนึ่งประกอบด้วยโมเลกุลที่มีอยู่ด้วยกันที่อ่อน โมเลกุลเหล่านั้นไม่เพียงแต่จะกลายเป็นขั้วเท่านั้น แต่จะยังเรียงตัวเพื่อให้แกนสมมาตรของมันอยู่ในแนวเดียวกันกับสนาม
การศึกษาด้านคุณสมบัติของไดอิเล็กทริกเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บและการแพร่กระจายของพลังงานไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กในวัสดุ ไดอิเล็กทริกมีความสำคัญสำหรับการอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสาขาอิเล็กทรอนิกส์, แสง, และฟิสิกส์ของโซลิดสเตต
คำศัพท์
ในขณะที่คำว่าฉนวนหมายถึงการนำไฟฟ้าที่ต่ำ ไดอิเล็กทริกมักจะหมายถึงวัสดุที่มีความสามารถในการเป็นขั้วที่สูง ความสามารถนี้แสดงออกมาจากตัวเลขหนึ่งที่เรียกว่าสภาพยอมสัมพัทธ์ (ที่รู้จักกันในตำราเก่าว่าเป็นค่าคงที่ไดอิเล็กทริก) คำว่าฉนวนถูกใช้กันทั่วไปเพื่อจะบ่งบอกถึงการขัดขวางการไหลของไฟฟ้าในขณะที่คำว่าไดอิเล็กทริกถูกใช้เพื่อบ่งชี้ถึงความจุในการจัดเก็บพลังงานของวัสดุ (โดยวิธีของการเป็นขั้ว) ตัวอย่างทั่วไปของไดอิเล็กทริกได้แก่วัสดุฉนวนไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างแผ่นโลหะของตัวเก็บประจุ การเป็นขั้วของไดอิเล็กทริกโดยสนามไฟฟ้าที่จ่ายให้เพิ่มประจุที่พื้นผิวของตัวเก็บประจุสำหรับความแรงของสนามไฟฟ้าที่กำหนด
คำว่า "ไดอิเล็กทริก" ถูกตั้งให้เป็นเกียรติโดย (William Whewell) (จากคำว่า "ได-อิเล็กตริก") ในการตอบสนองต่อการร้องขอจากไมเคิล ฟาราเดย์ ไดอิเล็กทริกที่สมบูรณ์แบบเป็นวัสดุหนึ่งที่มีความสามารถในการนำไฟฟ้าเป็นศูนย์ (อ่านเพิ่มเติม ตัวนำสมบูรณ์แบบ) ดังนั้นมันจึงแสดงเพียงกระแสแทนที่ (displacement current) เพราะฉะนั้น มันจึงเก็บและส่งกลับพลังงานไฟฟ้าเสมือนเป็นตัวเก็บประจุตัวหนึ่ง
ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า
ความอ่อนไหวทางไฟฟ้า (อังกฤษ: electric susceptibility) χe ของวัสดุไดอิเล็กทริกเป็นตัวชี้วัดว่ามันง่ายแค่ไหนที่มันจะเป็นขั้วในการตอบสนองต่อสนามไฟฟ้าหนึ่ง นี้จึงเป็นตัวกำหนดค่าสภาพยอมของวัสดุและสร้างอิทธิพลต่อปรากฏการณ์อื่น ๆ อีกมากมายในตัวกลางนี้ จากความจุของตัวเก็บประจุจนถึงความเร็วของแสง
มันถูกกำหนดให้เป็นค่าคงที่ของสัดส่วน (ซึ่งอาจเป็นตัวหนึ่ง) ที่เกี่ยวข้องกับสนามไฟฟ้า E ต่อความหนาแน่นของการเป็นขั้วของไดอิเล็กทริกที่ถูกเหนี่ยวนำ P ดังเช่น
เมื่อ ε0 เป็นสภาพยอมของสุญญากาศ
ความอ่อนไหวของตัวกลางหนึ่งจะเกี่ยวข้องกับสภาพยอมสัมพัทธ์ εr ของมันโดย
ดังนั้นในกรณีของสูญญากาศ
ค่า electric displacement D จะเกี่ยวข้องกับความหนาแน่นของความเป็นขั้ว P โดย
การเป็นขั้วของไดอิเล็กทริก
แบบจำลองอะตอมพื้นฐาน
ในวิธีการแบบคลาสสิกกับแบบจำลองไดอิเล็กทริก วัสดุจะถูกสร้างขึ้นจากอะตอม แต่ละอะตอมประกอบด้วยเมฆของประจุลบ (อิเล็กตรอน) ที่ยึดเหนี่ยวกับและอยู่รอบประจุบวกที่ศูนย์กลางของมัน ในการปรากฏตัวของสนามไฟฟ้า เมฆประจุจะบิดเบี้ยวตามที่แสดงในด้านบนขวาของรูป
ภาพนี้สามารถลดลงไปเป็นง่าย ๆ โดยใช้หลักการของการซ้อนตำแหน่ง (superposition principle) ไดโพลจะมีลักษณะเฉพาะตามของมันซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่แสดงในรูปเป็นลูกศรสีฟ้าที่มีป้ายกำกับ M มันเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้าและไดโพลโมเมนต์ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมของไดอิเล็กทริก (ไดโพลโมเมนต์จะชี้ไปในทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้าในรูป แต่ไม่ได้เป็นอย่างนั้นเสมอไปและเป็นการวาดให้ง่ายที่สำคัญ แต่เป็นจริงสำหรับวัสดุหลายชนิด)
เมื่อสนามไฟฟ้าถูกถอดออกไป อะตอมจะกลับคืนสู่สภาพเดิม เวลาที่จะต้องทำเช่นนั้นถูกเรียกว่าเวลาผ่อนคลาย ซึ่งเป็นการสลายแบบเอกซ์โพเนนเชียล
นี่คือสาระสำคัญของแบบจำลองในสาขาวิชาฟิสิกส์ พฤติกรรมของไดอิเล็กทริกในขณะนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สถานการณ์ยิ่งซับซ้อนมากขึ้นเท่าไร แบบจำลองยิ่งสมบูรณ์ในการอธิบายพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องมากขึ้นเท่านั้น คำถามที่สำคัญคือ สนามไฟฟ้าคงที่หรือขึ้นอยู่กับเวลา ที่อัตราเท่าไร, การตอบสนองขึ้นอยู่กับทิศทางของสนามที่จ่ายให้ (ไอโซทรอปีของวัสดุ) หรือไม่, การตอบสนองเหมือนกันทุกที่ (ความสม่ำเสมอของวัสดุ) หรือไม่, ขอบเขตหรือการเชื่อมต่อใด ๆ จะต้องนำมาพิจารณาหรือไม่, การตอบสนองเป็นแบบเชิงเส้นเมื่อเทียบกับสนามหรือเป็นแบบไม่เชิงเส้น
ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้า E และไดโพลโมเมนต์ M ก่อให้เกิดพฤติกรรมของไดอิเล็กทริกซึ่งสำหรับวัสดุที่กำหนดสามารถกำหนดคุณลักษณะเฉพาะโดยฟังก์ชัน F ตามสมการ:
เมื่อทั้งประเภทของสนามไฟฟ้าและชนิดของวัสดุที่ได้รับการกำหนดเรียบร้อยแล้ว จากนั้นเราต้องเลือกฟังก์ชัน F ที่ง่ายที่สุดที่จะสามารถคาดการณ์ได้อย่างถูกต้องถึงปรากฏการณ์ที่อยู่ในความสนใจ ตัวอย่างของปรากฏการณ์ที่สามารถสร้างแบบจำลองดังกล่าวได้แก่:
- ดรรชนีหักเห
- (Group velocity dispersion)
- การหักเหสองแนว
การเป็นขั้วแบบไดโพล
การเป็นขั้วแบบไดโพลคือโพลาไรเซชันที่มีอยู่ในโมเลกุลของขั้ว (การเป็นขั้วเชิงทิศทาง) หรือสามารถเกิดขึ้นได้ในโมเลกุลใด ๆ ที่อาจเกิดการบิดเบี้ยวของนิวเคลียสแบบไม่สมมาตรได้ (การเป็นขั้วจากการผิดรูป) การเป็นขั้วเชิงทิศทางเป็นผลมาจากไดโพลถาวร เช่น ที่เกิดจากมุม 104.45° ระหว่างพันธะที่ไม่สมมาตรระหว่างอะตอมของออกซิเจนและไฮโดรเจนในโมเลกุลของน้ำ ซึ่งยังคงการเป็นขั้วไว้ในกรณีที่ไม่มีสนามไฟฟ้าภายนอก การประกอบไดโพลเหล่านี้ก่อให้เกิดการเป็นขั้วในระดับมหภาค
เมื่อใช้สนามไฟฟ้าภายนอก ระยะห่างระหว่างประจุภายในไดโพลถาวรแต่ละอันซึ่งสัมพันธ์กับพันธะเคมี จะคงที่ในการเป็นขั้วเชิงทิศทาง อย่างไรก็ตาม ทิศทางของการเป็นขั้วเองก็หมุนไป การหมุนนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาซึ่งขึ้นอยู่กับแรงบิดและความหนืดโดยรอบของโมเลกุล เนื่องจากการหมุนไม่ได้เกิดขึ้นทันที การเป็นขั้วแบบไดโพลจึงสูญเสียการตอบสนองต่อสนามไฟฟ้าที่ความถี่สูงสุด โมเลกุลหมุนประมาณ 1 เรเดียนต่อพิโควินาทีในของไหล ดังนั้นการสูญเสียนี้จึงเกิดขึ้นที่ประมาณ 1011เฮิรตซ์ (ในย่านไมโครเวฟ) ความล่าช้าในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าทำให้เกิดการเสียดสีและความร้อน
เมื่อใช้สนามไฟฟ้าภายนอกที่ความถี่อินฟราเรดหรือน้อยกว่า โมเลกุลจะโค้งงอและยืดออกตามสนามและจะเปลี่ยนแปลงโมเมนต์ไดโพลของโมเลกุล ความถี่การสั่นสะเทือนของโมเลกุลโดยประมาณจะผกผันกับเวลาที่โมเลกุลโค้งงอ และการเป็นขั้วจากการผิดรูปนี้จะหายไปที่ย่านเหนืออินฟราเรด
อ้างอิง
- "Dielectrics (physics)". Encyclopædia Britannica. 2009. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2009.
วัสดุที่เป็นฉนวนไดอิเล็กทริกหรือตัวนำกระแสไฟฟ้าที่แย่มาก ๆ เมื่อไดอิเล็กทริกถูกวางอยู่ในสนามไฟฟ้า ในทางปฏิบัติจะไม่มีกระแสไหลในตัวมัน เพราะว่ามันไม่เหมือนโลหะ มันไม่มีอิเล็กตรอนที่เกาะเกี่ยวกันอย่างหลวม ๆ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่สามารถขยับไปในตัววัสดุนั้น
- von Hippel, Arthur R. (1954). "Dielectrics and Waves" (PDF). NY: Technology Press of MIT and John Wiley.
ในงานสัมมนาของเขาเรื่อง วัสดุไดอิเล็กทริกและการประยุกต์ใช้ ระบุว่า: "ไดอิเล็กทริก... ไม่ใช้ระดับชั้นแคบ ๆ ที่เรียกว่าฉนวน แต่เป็นการขยายอย่างกว้างขวางของวัสดุที่ไม่ใช่โลหะที่มีการพิจารณาจากจุดยืนของการปฏิสัมพันธ์ของมันกับสนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ดังนั้นเราจึงเกี่ยวข้องกับก็าซเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว และกับการจัดเก็บพลังงานไฟฟ้าและแม่เหล็กอีกทั้งการแพร่กระจายของมัน
- Daintith, John (1994). Biographical Encyclopedia of Scientists. CRC Press. p. 943. ISBN ..
- James, Frank A.J.L., บ.ก. (1991). The Correspondence of Michael Faraday: 1841-1848, Volume 3. London: Institution of Engineering and Technology. p. 442. ISBN .
Letter 1798, William Whewell to Faraday
. - Rao, R. Srinivasa (ตุลาคม 2015). Microwave Engineering (2nd ed.). Delhi: PHI Learning Private Limited. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- California Institute of Technology. Feynman's lecture on dielectrics.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wsduidxielkthrik xngkvs dielectric material hruxsn waidxielkthrik epnchnwniffachnidhnungthisamarththaihmiidodyichsnamiffa emuxidxielkthrikhnungthukwangxyuinsnamiffa pracuiffacaimihlphantwwsduehmuxnxyangthiphantwna ephiyngaetkhybephiyngelknxyethanncaktaaehnngsmdulechliyedimkxihekidkhwamepnkhwidxielkthrik dielectric polarization inkarnipracubwkcathukphlkipinthisthangkhxngsnamaelapraculbcakhybipinthisthangtrngknkham praktkarnnicasrangsnamiffaphayinthichwyldsnamodyrwmphayintwidxielkthrikmnexng thaidxielkthrikhnungprakxbdwyomelkulthimixyudwyknthixxn omelkulehlannimephiyngaetcaklayepnkhwethann aetcayngeriyngtwephuxihaeknsmmatrkhxngmnxyuinaenwediywknkbsnamwsduidxielkthrikthiepnkhw karsuksadankhunsmbtikhxngidxielkthrikekiywkhxngkbkarcdekbaelakaraephrkracaykhxngphlngnganiffaaelasnamaemehlkinwsdu idxielkthrikmikhwamsakhysahrbkarxthibaypraktkarntang insakhaxielkthrxniks aesng aelafisikskhxngoslidsettkhasphthinkhnathikhawachnwnhmaythungkarnaiffathita idxielkthrikmkcahmaythungwsduthimikhwamsamarthinkarepnkhwthisung khwamsamarthniaesdngxxkmacaktwelkhhnungthieriykwasphaphyxmsmphthth thiruckknintaraekawaepnkhakhngthiidxielkthrik khawachnwnthukichknthwipephuxcabngbxkthungkarkhdkhwangkarihlkhxngiffainkhnathikhawaidxielkthrikthukichephuxbngchithungkhwamcuinkarcdekbphlngngankhxngwsdu odywithikhxngkarepnkhw twxyangthwipkhxngidxielkthrikidaekwsduchnwniffathixyurahwangaephnolhakhxngtwekbpracu karepnkhwkhxngidxielkthrikodysnamiffathicayihephimpracuthiphunphiwkhxngtwekbpracusahrbkhwamaerngkhxngsnamiffathikahnd khawa idxielkthrik thuktngihepnekiyrtiody William Whewell cakkhawa id xielktrik inkartxbsnxngtxkarrxngkhxcakimekhil faraedy idxielkthrikthismburnaebbepnwsduhnungthimikhwamsamarthinkarnaiffaepnsuny xanephimetim twnasmburnaebb dngnnmncungaesdngephiyngkraaesaethnthi displacement current ephraachann mncungekbaelasngklbphlngnganiffaesmuxnepntwekbpracutwhnungkhwamxxnihwthangiffakhwamxxnihwthangiffa xngkvs electric susceptibility xe khxngwsduidxielkthrikepntwchiwdwamnngayaekhihnthimncaepnkhwinkartxbsnxngtxsnamiffahnung nicungepntwkahndkhasphaphyxmkhxngwsduaelasrangxiththiphltxpraktkarnxun xikmakmayintwklangni cakkhwamcukhxngtwekbpracucnthungkhwamerwkhxngaesng mnthukkahndihepnkhakhngthikhxngsdswn sungxacepntwhnung thiekiywkhxngkbsnamiffa E txkhwamhnaaennkhxngkarepnkhwkhxngidxielkthrikthithukehniywna P dngechn P e0xeE displaystyle mathbf P varepsilon 0 chi e mathbf E emux e0 epnsphaphyxmkhxngsuyyakas khwamxxnihwkhxngtwklanghnungcaekiywkhxngkbsphaphyxmsmphthth er khxngmnody xe er 1 displaystyle chi e varepsilon r 1 dngnninkrnikhxngsuyyakas xe 0 displaystyle chi e 0 kha electric displacement D caekiywkhxngkbkhwamhnaaennkhxngkhwamepnkhw P ody D e0E P e0 1 xe E ere0E displaystyle mathbf D varepsilon 0 mathbf E mathbf P varepsilon 0 1 chi e mathbf E varepsilon r varepsilon 0 mathbf E karepnkhwkhxngidxielkthrikaebbcalxngxatxmphunthan snamiffamiptismphnthkbxatxmphayitaebbcalxngidxielkthrikaebbkhlassik inwithikaraebbkhlassikkbaebbcalxngidxielkthrik wsducathuksrangkhuncakxatxm aetlaxatxmprakxbdwyemkhkhxngpraculb xielktrxn thiyudehniywkbaelaxyurxbpracubwkthisunyklangkhxngmn inkarprakttwkhxngsnamiffa emkhpracucabidebiywtamthiaesdngindanbnkhwakhxngrup phaphnisamarthldlngipepnngay odyichhlkkarkhxngkarsxntaaehnng superposition principle idophlcamilksnaechphaatamkhxngmnsungepnprimanewketxrthiaesdnginrupepnluksrsifathimipaykakb M mnepnkhwamsmphnthrahwangsnamiffaaelaidophlomemntthikxihekidphvtikrrmkhxngidxielkthrik idophlomemntcachiipinthisthangediywkbsnamiffainrup aetimidepnxyangnnesmxipaelaepnkarwadihngaythisakhy aetepncringsahrbwsduhlaychnid emuxsnamiffathukthxdxxkip xatxmcaklbkhunsusphaphedim ewlathicatxngthaechnnnthukeriykwaewlaphxnkhlay sungepnkarslayaebbexksophennechiyl nikhuxsarasakhykhxngaebbcalxnginsakhawichafisiks phvtikrrmkhxngidxielkthrikinkhnanikhunxyukbsthankarn sthankarnyingsbsxnmakkhunethair aebbcalxngyingsmburninkarxthibayphvtikrrmidxyangthuktxngmakkhunethann khathamthisakhykhux snamiffakhngthihruxkhunxyukbewla thixtraethair kartxbsnxngkhunxyukbthisthangkhxngsnamthicayih ixosthrxpikhxngwsdu hruxim kartxbsnxngehmuxnknthukthi khwamsmaesmxkhxngwsdu hruxim khxbekhthruxkarechuxmtxid catxngnamaphicarnahruxim kartxbsnxngepnaebbechingesnemuxethiybkbsnamhruxepnaebbimechingesn khwamsmphnthrahwangsnamiffa E aelaidophlomemnt M kxihekidphvtikrrmkhxngidxielkthriksungsahrbwsduthikahndsamarthkahndkhunlksnaechphaaodyfngkchn F tamsmkar M F E displaystyle mathbf M mathbf F mathbf E emuxthngpraephthkhxngsnamiffaaelachnidkhxngwsduthiidrbkarkahnderiybrxyaelw caknneratxngeluxkfngkchn F thingaythisudthicasamarthkhadkarnidxyangthuktxngthungpraktkarnthixyuinkhwamsnic twxyangkhxngpraktkarnthisamarthsrangaebbcalxngdngklawidaek drrchnihkeh Group velocity dispersion karhkehsxngaenw karepnkhwaebbidophl karepnkhwaebbidophlkhuxophlaireschnthimixyuinomelkulkhxngkhw karepnkhwechingthisthang hruxsamarthekidkhunidinomelkulid thixacekidkarbidebiywkhxngniwekhliysaebbimsmmatrid karepnkhwcakkarphidrup karepnkhwechingthisthangepnphlmacakidophlthawr echn thiekidcakmum 104 45 rahwangphnthathiimsmmatrrahwangxatxmkhxngxxksiecnaelaihodrecninomelkulkhxngna sungyngkhngkarepnkhwiwinkrnithiimmisnamiffaphaynxk karprakxbidophlehlanikxihekidkarepnkhwinradbmhphakh emuxichsnamiffaphaynxk rayahangrahwangpracuphayinidophlthawraetlaxnsungsmphnthkbphnthaekhmi cakhngthiinkarepnkhwechingthisthang xyangirktam thisthangkhxngkarepnkhwexngkhmunip karhmunniekidkhuninchwngewlasungkhunxyukbaerngbidaelakhwamhnudodyrxbkhxngomelkul enuxngcakkarhmunimidekidkhunthnthi karepnkhwaebbidophlcungsuyesiykartxbsnxngtxsnamiffathikhwamthisungsud omelkulhmunpraman 1 erediyntxphiokhwinathiinkhxngihl dngnnkarsuyesiynicungekidkhunthipraman 1011ehirts inyanimokhrewf khwamlachainkartxbsnxngtxkarepliynaeplngkhxngsnamiffathaihekidkaresiydsiaelakhwamrxn emuxichsnamiffaphaynxkthikhwamthixinfraerdhruxnxykwa omelkulcaokhngngxaelayudxxktamsnamaelacaepliynaeplngomemntidophlkhxngomelkul khwamthikarsnsaethuxnkhxngomelkulodypramancaphkphnkbewlathiomelkulokhngngx aelakarepnkhwcakkarphidrupnicahayipthiyanehnuxxinfraerdxangxing Dielectrics physics Encyclopaedia Britannica 2009 subkhnemux 12 singhakhm 2009 wsduthiepnchnwnidxielkthrikhruxtwnakraaesiffathiaeymak emuxidxielkthrikthukwangxyuinsnamiffa inthangptibticaimmikraaesihlintwmn ephraawamnimehmuxnolha mnimmixielktrxnthiekaaekiywknxyanghlwm hruxxielktrxnxisrathisamarthkhybipintwwsdunn von Hippel Arthur R 1954 Dielectrics and Waves PDF NY Technology Press of MIT and John Wiley inngansmmnakhxngekhaeruxng wsduidxielkthrikaelakarprayuktich rabuwa idxielkthrik imichradbchnaekhb thieriykwachnwn aetepnkarkhyayxyangkwangkhwangkhxngwsduthiimicholhathimikarphicarnacakcudyunkhxngkarptismphnthkhxngmnkbsnamiffa snamaemehlkaelasnamaemehlkiffa dngnneracungekiywkhxngkbkasechnediywkbkhxngaekhngaelakhxngehlw aelakbkarcdekbphlngnganiffaaelaaemehlkxikthngkaraephrkracaykhxngmn Daintith John 1994 Biographical Encyclopedia of Scientists CRC Press p 943 ISBN 0 7503 0287 9 James Frank A J L b k 1991 The Correspondence of Michael Faraday 1841 1848 Volume 3 London Institution of Engineering and Technology p 442 ISBN 0 86341 250 5 Letter 1798 William Whewell to Faraday Rao R Srinivasa tulakhm 2015 Microwave Engineering 2nd ed Delhi PHI Learning Private Limited ISBN 978 81 203 5159 2 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wsduidxielkthrik California Institute of Technology Feynman s lecture on dielectrics