แอนติโปรตอน (อังกฤษ: antiproton) หรือชื่อที่รู้จักกันน้อยกว่าคือ เนกาตรอน (อังกฤษ: negatron) หรือ
p
(อ่านว่า พีบาร์) เป็นปฏิยานุภาคของโปรตอน แอนติโปรตอนนั้นเสถียร แต่โดยทั่วไปมีอายุสั้น เพราะการชนกับโปรตอนจะทำให้อนุภาคทั้งสองประลัยในการระเบิดของพลังงาน
พอล ดิแรกทำนายการมีอยู่ของแอนติโปรตอนซึ่งมีประจุไฟฟ้า -1 ตรงข้ามกับประจุไฟฟ้า +1 ของโปรตอน ในการบรรยายรางวัลโนเบลปี 1933 ดิแรกได้รับรางวัลโนเบลสำหรับการตีพิมพ์ของเขาซึ่งทำนายการมีผลเฉลยบวกและลบของสมการพลังงาน () ของไอน์สไตน์ เมื่อปี 1928 ก่อนหน้านี้ และการมีอยู่ของโพสิตรอน ปฏิยานุภาคของอิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุบวกและสปินตรงข้ามกับอิเล็กตรอน
แอนติโปรตอนได้รับการยืนยันเชิงทดลองในปี 1955 โดยนักฟิสิกส์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เอมิลิโอ เซอเกรและโอเวน แชมเบอร์เลน ซึ่งทั้งสองได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 1959 แอนติโปรตอนประกอบด้วยแอนติควาร์กขึ้น 2 ตัว และแอนติควาร์กลง 1 ตัว (uud) คุณสมบัติของแอนติโปรตอนที่มีการวัดทั้งหมดตรงกับคุณสมบัติของโปรตอน โดยมีข้อยกเว้นว่าแอนติโปรตอนมีประจุไฟฟ้าและโมเมนต์แม่เหล็กตรงข้ามกับโปรตอน คำถามที่ว่าสสารแตกต่างจากปฏิสสารอย่างไรนั้นยังไม่มีคำตอบ เพื่ออธิบายว่าเหตุใดเอกภพจึงรอดจากบิกแบงและเหตุใดปฏิสสารจึงเหลืออยู่น้อยมากในปัจจุบัน
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
แอนติโปรตอน ได้รับการตรวจพบในรังสีคอสมิกมาเป็นเวลานานกว่า 25 ปีแล้ว, ครั้งแรกโดยการทดลองโดยบอลลูนลมและเมื่อเร็ว ๆ นี้โดยเครื่องตรวจจับดาวเทียม
อ้างอิง
- Dirac, Paul A. M. (1933), Theory of electrons and positrons (PDF) (ภาษาอังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aexntioprtxn xngkvs antiproton hruxchuxthiruckknnxykwakhux enkatrxn xngkvs negatron hrux p xanwa phibar epnptiyanuphakhkhxngoprtxn aexntioprtxnnnesthiyr aetodythwipmixayusn ephraakarchnkboprtxncathaihxnuphakhthngsxngpralyinkarraebidkhxngphlngngan phxl diaerkthanaykarmixyukhxngaexntioprtxnsungmipracuiffa 1 trngkhamkbpracuiffa 1 khxngoprtxn inkarbrryayrangwloneblpi 1933 diaerkidrbrangwloneblsahrbkartiphimphkhxngekhasungthanaykarmiphlechlybwkaelalbkhxngsmkarphlngngan E mc2 displaystyle E mc 2 khxngixnsitn emuxpi 1928 kxnhnani aelakarmixyukhxngophsitrxn ptiyanuphakhkhxngxielktrxn sungmipracubwkaelaspintrngkhamkbxielktrxn aexntioprtxnidrbkaryunynechingthdlxnginpi 1955 odynkfisiksmhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy exmiliox esxekraelaoxewn aechmebxreln sungthngsxngidrbrangwloneblsakhafisiksinpi 1959 aexntioprtxnprakxbdwyaexntikhwarkkhun 2 tw aelaaexntikhwarklng 1 tw uud khunsmbtikhxngaexntioprtxnthimikarwdthnghmdtrngkbkhunsmbtikhxngoprtxn odymikhxykewnwaaexntioprtxnmipracuiffaaelaomemntaemehlktrngkhamkboprtxn khathamthiwassaraetktangcakptissarxyangirnnyngimmikhatxb ephuxxthibaywaehtuidexkphphcungrxdcakbikaebngaelaehtuidptissarcungehluxxyunxymakinpccubnpraktkarnthiekidkhuninthrrmchatiaexntioprtxn idrbkartrwcphbinrngsikhxsmikmaepnewlanankwa 25 piaelw khrngaerkodykarthdlxngodybxllunlmaelaemuxerw niodyekhruxngtrwccbdawethiymxangxingDirac Paul A M 1933 Theory of electrons and positrons PDF phasaxngkvs