แนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง เป็นทฤษฎีที่ว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Heliocentrism มีที่มาจากรากศัพท์ภาษากรีกโบราณว่า ἥλιος (hḗlios) = ดวงอาทิตย์ และ κέντρον (kéntron) = ศูนย์กลาง แนวคิดนี้เป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับแนวคิดโลกเป็นศูนย์กลาง เริ่มขึ้นตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสตกาล นักคิดคนแรกคือชาวกรีกชื่ออาริสตาร์โคสแห่งซาโมส ได้ริเริ่มแนวคิดที่ว่า โลกและดวงดาวต่างๆ เดินทางไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ที่อยู่นิ่ง แต่เวลาล่วงเลยไปจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวโปแลนด์ชื่อ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส จึงได้นำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่แสดงว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีหลักฐานการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วยสนับสนุน
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Ajram, K. (1992). Miracle of Islamic Science, Appendix B. Knowledge House Publishers. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aenwkhiddwngxathityepnsunyklang epnthvsdithiwadwngxathityepnsunyklangkhxngrabbsuriya phasaxngkvseriykwa Heliocentrism mithimacakraksphthphasakrikobranwa ἥlios hḗlios dwngxathity aela kentron kentron sunyklang aenwkhidniepnaenwkhidtrngknkhamkbaenwkhidolkepnsunyklang erimkhuntngaet 300 pikxnkhristkal nkkhidkhnaerkkhuxchawkrikchuxxaristarokhsaehngsaoms idrierimaenwkhidthiwa olkaeladwngdawtang edinthangiprxb dwngxathitythixyuning aetewlalwngelyipcnkrathngthungkhriststwrrsthi 16 nkdarasastraelankkhnitsastrchawopaelndchux niokhelas okhepxrnikhs cungidnaesnxaebbcalxngthangkhnitsastrthiaesdngwa dwngxathityepnsunyklangkhxngckrwal odymihlkthankarsngektkarnthangdarasastrkhxngkalielox kalielxichwysnbsnunrabbsuriyasungmidwngxathityepnsunyklangduephimaenwkhidolkepnsunyklangxangxingAjram K 1992 Miracle of Islamic Science Appendix B Knowledge House Publishers ISBN 0 911119 43 4 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk