เหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์ (อังกฤษ: fallacy of incomplete evidence) หรือ การปิดบังหลักฐาน (อังกฤษ: suppressing evidence) หรือแปลจากคำภาษาอังกฤษว่า Cherry picking คือ การเลือกเก็บเชอร์รี่ เป็นการชี้หลักฐานเป็นกรณี ๆ หรือแสดงข้อมูลที่ยืนยันความเห็นโดยเฉพาะอย่างหนึ่ง ๆ โดยที่มองข้ามกรณีหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นจำนวนมากที่อาจจะขัดแย้งกับความเห็นนั้น ๆ นี้เป็นเหตุผลวิบัติโดยการเลือกให้ความใส่ใจ และตัวอย่างที่เห็นบ่อยที่สุดก็คือความเอนเอียงเพื่อยืนยัน เหตุผลวิบัติชนิดนี้จะเกิดขึ้นโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ เป็นปัญหาสำคัญในการอภิปรายที่เป็นสาธารณะ
ชื่อที่เรียกตามภาษาอังกฤษว่า "การเลือกเก็บเชอร์รี่" มีมูลมาจากวิธีการเก็บลูกเชอร์รี่ คือ คนเก็บจะเลือกเก็บแต่ลูกที่สุกและงามที่สุด ส่วนคนที่เห็นแต่ลูกที่เก็บแล้ว อาจจะสรุปอย่างผิด ๆ ว่า ลูกเชอร์รี่โดยมากงาม
การเลือกเก็บเชอร์รี่พบได้ในเหตุผลวิบัติเชิงตรรกะหลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่นเหตุผลวิบัติโดยหลักฐานเป็นเรื่องเล่ามักจะใส่ใจแต่ข้อมูลที่บุคคลต่าง ๆ เล่าให้ฟังแต่ไม่ใส่ใจหลักฐานข้อมูลอื่น ๆ ส่วน "การใช้หลักฐานแบบเลือก" (อังกฤษ: selective use of evidence) จะปฏิเสธข้อมูลที่ไม่เข้ากับประเด็นที่อ้าง ในขณะที่ "ทวิวิภาคเทียม" (อังกฤษ: false dichotomies) จะแสดงทางเลือกเพียงแค่สองอย่างแม้จะมีทางเลือกอื่น ๆ ที่ใช้ได้ การเลือกเก็บเชอร์รี่อาจหมายถึงการเลือกข้อมูลหรือเซ็ตข้อมูล ที่จะมีผลให้งานศึกษาหรืองานสำรวจ แสดงผลที่ต้องการ ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่ความบิดเบือนจนกระทั่งถึงแม้แต่การคัดค้านความเป็นจริง
ในวิทยาศาสตร์
การคัดเลือกจากหลักฐานที่แสดงนัยที่คัดค้านแข่งขันกัน เพื่อที่จะขับเน้นผลที่สนับสนุนความคิดเห็นหนึ่ง ๆ โดยที่ไม่ใส่ใจหรือไม่พิจารณาหลักฐานที่ไม่สนับสนุน เป็นข้อปฏิบัติที่เรียกว่า "การเลือกเก็บเชอร์รี่" และเป็นตัวชี้บอกถึงความเป็นงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ดี หรือเป็นงานวิทยาศาสตร์เทียม
— ศาสตราจารย์เกียรติคุณซอมเมอร์วิลล์ ให้การกับคณะกรรมการพลังงานและการค้าของสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาปี ค.ศ. 2011
งานวิทยาศาสตร์ที่เข้มงวดกวดขัน
- จะพิจารณาหลักฐานที่มีอยู่ทั้งหมด (ไม่ใช่เพียงแต่เลือกเก็บเชอรร์รี่ คือหลักฐานที่ชอบใจ)
- จะควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เพื่อที่จะกำหนดได้ว่า ตัวแปรอะไรเป็นเหตุที่ให้ผลจริง ๆ
- จะใช้วิธีการสังเกตการณ์แบบบอด เพื่อลดอิทธิพลที่เกิดจากความเอนเอียงให้เหลือน้อยที่สุด
- และจะใช้การพิจารณาทางตรรกะที่ไม่ขัดแย้งกันเอง
ในการแพทย์
ในงานวิจัยปี ค.ศ. 2002 นักวิจัยกลุ่มหนึ่ง
ทำงานปริทัศน์เกี่ยวกับงานทดลองทรงอิทธิผลของยาลดความซึมเศร้า 31 งาน เพื่อที่จะกำหนดกฏเกณฑ์การยกเว้น (exclusion criteria) ซึ่งเป็นหลักที่ใช้ในการตัดสินคุณสมบัติ (คนไข้) เพื่อเลือกเข้าในงานทดลอง ผลงานปริทัศน์นี้เสนอว่า คนไข้ในงานทดลองยาลดความซึมเศร้าชุดนี้ เป็นตัวแทนคนไข้เพียงส่วนน้อย ของผู้ปกติรับการรักษาทางคลินิกเพื่อโรคซึมเศร้า (และ) การยกเว้นคนไข้ที่มีลักษณะเฉพาะบางอย่างจากงานทดลองทางคลินิกชุดนั้นแสดงว่า การยกผลที่ได้จากงานทดลองยาลดความซึมเศร้าขึ้นเป็นนัยทั่วไป ขาดหลักฐานทางประสบการณ์ (empirical support)"
— จาก The Brown University Psychopharmacology Update
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Dowden, Bradley (2010). "Fallacies". The Internet Encyclopedia of Philosophy.
- "Cherry Picking".
- Klass, Gary (2008). "Just Plain Data Analysis: Common Statistical Fallacies in Analyses of Social Indicator Data" (PDF). Department of Politics and Government, Illinois State University. สืบค้นเมื่อ 2014-03-25.
- Ben Goldacre. Bad Science. Fourth Estate. pp. 97–9. ISBN .
- Novella,Steven. "A Skeptic In Oz". Science-Based Medicine.
- "Typical Depression Patients Excluded from Drug Trials; exclusion criteria: is it "cherry picking?"". The Brown University Psychopharmacology Update. Wiley Periodicals. 13 (5): 1. May 2002.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ehtuphlwibtiodyhlkthanimsmburn xngkvs fallacy of incomplete evidence hrux karpidbnghlkthan xngkvs suppressing evidence hruxaeplcakkhaphasaxngkvswa Cherry picking khux kareluxkekbechxrri epnkarchihlkthanepnkrni hruxaesdngkhxmulthiyunynkhwamehnodyechphaaxyanghnung odythimxngkhamkrnihruxkhxmulthiekiywkhxngknepncanwnmakthixaccakhdaeyngkbkhwamehnnn niepnehtuphlwibtiodykareluxkihkhwamisic aelatwxyangthiehnbxythisudkkhuxkhwamexnexiyngephuxyunyn ehtuphlwibtichnidnicaekidkhunodytngichruximtngickid epnpyhasakhyinkarxphipraythiepnsatharna chuxthieriyktamphasaxngkvswa kareluxkekbechxrri mimulmacakwithikarekblukechxrri khux khnekbcaeluxkekbaetlukthisukaelangamthisud swnkhnthiehnaetlukthiekbaelw xaccasrupxyangphid wa lukechxrriodymakngam kareluxkekbechxrriphbidinehtuphlwibtiechingtrrkahlayxyang yktwxyangechnehtuphlwibtiodyhlkthanepneruxngelamkcaisicaetkhxmulthibukhkhltang elaihfngaetimisichlkthankhxmulxun swn karichhlkthanaebbeluxk xngkvs selective use of evidence captiesthkhxmulthiimekhakbpraednthixang inkhnathi thwiwiphakhethiym xngkvs false dichotomies caaesdngthangeluxkephiyngaekhsxngxyangaemcamithangeluxkxun thiichid kareluxkekbechxrrixachmaythungkareluxkkhxmulhruxestkhxmul thicamiphlihngansuksahruxngansarwc aesdngphlthitxngkar sungxaccaepnephiyngaekhkhwambidebuxncnkrathngthungaemaetkarkhdkhankhwamepncringinwithyasastrkarkhdeluxkcakhlkthanthiaesdngnythikhdkhanaekhngkhnkn ephuxthicakhbennphlthisnbsnunkhwamkhidehnhnung odythiimisichruximphicarnahlkthanthiimsnbsnun epnkhxptibtithieriykwa kareluxkekbechxrri aelaepntwchibxkthungkhwamepnnganwithyasastrthiimdi hruxepnnganwithyasastrethiym sastracaryekiyrtikhunsxmemxrwill ihkarkbkhnakrrmkarphlngnganaelakarkhakhxngsphaphuaethnrasdrshrthxemrikapi kh s 2011 nganwithyasastrthiekhmngwdkwdkhn caphicarnahlkthanthimixyuthnghmd imichephiyngaeteluxkekbechxrrri khuxhlkthanthichxbic cakhwbkhumtwaeprtang ephuxthicakahndidwa twaeprxairepnehtuthiihphlcring caichwithikarsngektkarnaebbbxd ephuxldxiththiphlthiekidcakkhwamexnexiyngihehluxnxythisud aelacaichkarphicarnathangtrrkathiimkhdaeyngknexng n ph prasathwithyastiewn onewlla ph s thimhawithyalyeyl klawthungkarsmphasninraykaraephthythangeluxkinkaraephthyinnganwicypi kh s 2002 nkwicyklumhnung thanganprithsnekiywkbnganthdlxngthrngxiththiphlkhxngyaldkhwamsumesra 31 ngan ephuxthicakahndkteknthkarykewn exclusion criteria sungepnhlkthiichinkartdsinkhunsmbti khnikh ephuxeluxkekhainnganthdlxng phlnganprithsnniesnxwa khnikhinnganthdlxngyaldkhwamsumesrachudni epntwaethnkhnikhephiyngswnnxy khxngphupktirbkarrksathangkhlinikephuxorkhsumesra aela karykewnkhnikhthimilksnaechphaabangxyangcaknganthdlxngthangkhlinikchudnnaesdngwa karykphlthiidcaknganthdlxngyaldkhwamsumesrakhunepnnythwip khadhlkthanthangprasbkarn empirical support cak The Brown University Psychopharmacology Updateduephimkhwamexnexiyngephuxyunyn karwangnythwiperwekinip ehtuphlwibti ehtuphlwibtixrupny khwamexnexiyngcakkareluxkechingxrrthaelaxangxingDowden Bradley 2010 Fallacies The Internet Encyclopedia of Philosophy Cherry Picking Klass Gary 2008 Just Plain Data Analysis Common Statistical Fallacies in Analyses of Social Indicator Data PDF Department of Politics and Government Illinois State University subkhnemux 2014 03 25 Ben Goldacre Bad Science Fourth Estate pp 97 9 ISBN 978 0 00 728487 0 Novella Steven A Skeptic In Oz Science Based Medicine Typical Depression Patients Excluded from Drug Trials exclusion criteria is it cherry picking The Brown University Psychopharmacology Update Wiley Periodicals 13 5 1 May 2002