ในอักษรอียิปต์โบราณ เซเรค มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าปิดล้อม ซึ่งเป็นรูปสัญลักษณ์แทนส่วนหน้าของพระราชวังที่มีช่องหรือมีประตูล้อมรอบ ซึ่งปกติจะปรากฏรูปสัญลักษณ์ของเหยี่ยวฮอรัสอยู่ด้านบนโดยปกติ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้ทราบว่าข้อความที่อยู่ภายในสัญลักษณ์นั้นเป็นพระนามราชวงศ์ เซเรคได้ถูกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อในการแยกพระนมออกจากรูปสัญลักษณ์อียิปต์โบราณ ซึ่งปรากฏมาก่อนคาร์ทูชในที่ถูกนำมาใช้แทนและทราบกันดีในช่วงสี่ราชวงศ์และช่วงเวลาห้าร้อยถึงเจ็ดร้อยปีในหลัง
เซเรค ในไฮเออโรกลีฟ | |||||
---|---|---|---|---|---|
(Unicode: 𓊁 ) srḫ/ เซเรค ด้านหน้า(ของพระราชวัง) |
ลักษณะของเซเรค
เซเรคเป็นสัญลักษณ์ส่วนกรอบที่มีการประดับประดา ซึ่งจะประกอบไปด้วยทิวทัศน์ด้านหน้าพระราชวังและแผนผัง (มุมมองด้านบน) ของลานพระราชวัง คำว่า เซเรค มาจากภาษาอียิปต์ ซึ่งมีความหายตรงกับคำว่า "ด้านหน้าอาคาร (façade)" เซเรคที่แตกต่างกันบนวัตถุประเภทต่างๆ แสดงให้เห็นถึงรูปแบบต่างๆ มากมายของการตกแต่งส่วนหน้าอาคารทั้งในด้านความซับซ้อนและรายละเอียด ดูเหมือนว่าจะไม่มีกฎเกณฑ์ทางศิลปะที่เข้มงวดสำหรับการออกแบบเซเรคเอง
อ้างอิง
- Jürgen von Beckerath: Handbuch der ägyptischen Königsnamen. Münchner Ägyptologische Studien. Bd. 49. Philipp von Zabern, Mainz 1999, ISBN , p. 7-9.
- Rolf Gundlach: Horus in the Palace: The centre of State and Culture in pharaonic Egypt. In: Rolf Gundlach, John H. Taylor: Egyptian royal Residences: 4. Symposium zur Ägyptischen Königsideologie (4th edition, London 2004). Harrassowitz, Wiesbaden 2009, ISBN , p. 45–68.
- Toby A. H. Wilkinson: Early Dynastic Egypt: Strategy, Society and Security. Routledge, London 1999, ISBN , p. 56-57, 201–202.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inxksrxiyiptobran eserkh milksnaepnrupsiehliymphunphapidlxm sungepnrupsylksnaethnswnhnakhxngphrarachwngthimichxnghruxmipratulxmrxb sungpkticapraktrupsylksnkhxngehyiywhxrsxyudanbnodypkti sungepnsylksnthiaesdngihthrabwakhxkhwamthixyuphayinsylksnnnepnphranamrachwngs eserkhidthukichepnkhrngaerkephuxinkaraeykphranmxxkcakrupsylksnxiyiptobran sungpraktmakxnkharthuchinthithuknamaichaethnaelathrabkndiinchwngsirachwngsaelachwngewlaharxythungecdrxypiinhlngeserkh inihexxorklif Unicode 𓊁 srḫ eserkh danhna khxngphrarachwng eserkhhxrsinrupaebbthimikarpradbpradamaklksnakhxngeserkheserkhepnsylksnswnkrxbthimikarpradbprada sungcaprakxbipdwythiwthsndanhnaphrarachwngaelaaephnphng mummxngdanbn khxnglanphrarachwng khawa eserkh macakphasaxiyipt sungmikhwamhaytrngkbkhawa danhnaxakhar facade eserkhthiaetktangknbnwtthupraephthtang aesdngihehnthungrupaebbtang makmaykhxngkartkaetngswnhnaxakharthngindankhwamsbsxnaelaraylaexiyd duehmuxnwacaimmikdeknththangsilpathiekhmngwdsahrbkarxxkaebbeserkhexngxangxingJurgen von Beckerath Handbuch der agyptischen Konigsnamen Munchner Agyptologische Studien Bd 49 Philipp von Zabern Mainz 1999 ISBN 3 8053 2591 6 p 7 9 Rolf Gundlach Horus in the Palace The centre of State and Culture in pharaonic Egypt In Rolf Gundlach John H Taylor Egyptian royal Residences 4 Symposium zur Agyptischen Konigsideologie 4th edition London 2004 Harrassowitz Wiesbaden 2009 ISBN 978 3 447 05888 9 p 45 68 Toby A H Wilkinson Early Dynastic Egypt Strategy Society and Security Routledge London 1999 ISBN 0 415 18633 1 p 56 57 201 202