เซลล์เซอร์โตลี (เซลล์พยุงประเภทหนึ่ง) เป็นเซลล์ "พยาบาล" ของอัณฑะที่เป็นส่วนหนึ่งของ และช่วยในกระบวนการการสร้างสเปิร์มซึ่งเป็นกระบวนการสร้างตัวอสุจิ
เซลล์เซอร์โตลี | |
---|---|
เยื่อบุผิวต้นกำเนิดของอัณฑะ 1: 2: 3: ลำดับที่ 1 4: สเปอร์มาโทไซต์ลำดับที่ 2 5: 6: สเปอร์มาทิดที่สมบูรณ์ 7: เซลล์เซอร์โตลี 8: ไทต์จังก์ชัน (ตัวกั้นเลือด–อัณฑะ) | |
ภาพมิญชวิทยาของพาเรงไคมาอัณฑะของหมูป่า 1 ช่องภายในหลอดของส่วนขดของ 2 3 4 5 เซลล์เซอร์โตลี 6 7 เซลล์ไลดิชs 8 หลอดเลือดฝอย | |
รายละเอียด | |
ระบบ | ระบบสืบพันธุ์ |
ที่ตั้ง | อัณฑะ |
หน้าที่ | ช่วยในการสร้างตัวอสุจิ |
ตัวระบุ | |
MeSH | D012708 |
FMA | 72298 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
เซลล์นี้จะถูกปลุกฤทธิ์ขึ้นโดย (FSH) ซึ่งหลั่งออกมาโดย โดยเซลล์เซอร์โตลีนั้นมี อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ และพบเฉพาะอยู่ในหลอดขดของหลอดสร้างอสุจิ (เนื่องจากเป็นเพียงจุดเดียวในอัณฑะที่มีการสร้างตัวอสุจิขึ้น) การพัฒนาขึ้นของเซลล์เซอร์โตลีนั้นถูกควบคุมโดยโปรตีน
โครงสร้าง
เซลล์เซอร์โตลีอยู่บน
บนสไลด์ การใช้มาตรฐานอาจทำให้เกิดความสับสนระหว่างเซลล์เซอร์โตลีกับเซลล์อื่นของได้ ลักษณะที่โดดเด่นที่สุดของเซลล์เซอร์โตลี คือ นิวคลีโอลัสที่มีความทึบ
การพัฒนา
เซลล์เซอร์โตลีมีความจำเป็นต่อการพัฒนาทางเพศของเพศชาย ในระหว่างการพัฒนาของเพศชาย ยีน จะไปปลุกฤทธิ์ ขึ้น ซึ่งจากนั้นมันจะไปปลุกฤทธิ์และสร้างวงวนการป้อนด้วย โดยเซลล์เซอร์โตลีจะและโดยการกระตุ้นจาก FGF9 เป็นหลัก การขาด FGF9 จะทำให้มีแนวโน้มเป็นสาเหตุให้ลักษณะเพศหญิงพัฒนาขึ้น
เมื่อเปลี่ยนสภาพอย่างสมบูรณ์แล้ว เซลล์เซอร์โตลีจะถือได้ว่าได้เปลี่ยนสภาพขั้นสุดท้ายไปแล้ว และจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนขึ้นได้อีก ดังนั้น เมื่อการสร้างตัวอสุจิเริ่มต้นขึ้นแล้ว จะไม่มีการสร้างเซลล์เซอร์โตลีขึ้นอีก
อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้ นักวิทยาศาสตร์บางคนได้ค้นพบวิธีในการชักนำให้เซลล์เซอร์โตลีกลายเป็นฟีโนไทป์ที่เพิ่มจำนวนได้สมัยวัยเด็ก (juvenile proliferative phenotype) ด้านนอกร่างกาย สิ่งนี้ทำให้มีความเป็นไปได้ในการแก้ไขข้อบกพร่องบางประการ ที่อาจเป็นสาเหตุของความเป็นหมันในเพศชาย
มีการแนะนำว่าเซลล์เซอร์โตลีอาจเจริญมาจากของทารกในครรภ์
หน้าที่
เนื่องจากหน้าที่หลักของเซลล์นี้คือการเลี้ยงเซลล์อสุจิที่กำลังพัฒนาขึ้นผ่านระยะของการสร้างสเปิร์ม เซลล์เซอร์โตลีจึงยังถูกเรียกว่าเซลล์ "แม่" หรือเซลล์ "พยาบาล" ด้วย เซลล์เซอร์โตลียังทำหน้าที่เป็นเซลล์กลืนกิน ซึ่งจะทำหน้าที่กินไซโทพลาซึมที่ตกค้างระหว่างการสร้างอสุจิ การเคลื่อนย้ายเซลล์จากฐานของช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจิ ซึ่งเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างในขอบด้านข้างของเซลล์เซอร์โตลี
สิ่งคัดหลั่ง
เซลล์เซอร์โตลีจะหลั่งสารดังต่อไปนี้
- (anti-Müllerian hormone; AMH) — หลั่งออกมาในช่วงระยะแรกของชีวิต
- — หลั่งออกมาหลังจากวัยเริ่มเจริญพันธุ์ ทำงานร่วมกันเพื่อควบคุมการหลั่ง
- (หรืออาจเรียกว่า โกลบูลินจับเทสโทสเตอโรน) — เพิ่มความเข้มข้นของฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในหลอดสร้างอสุจิเพื่อกระตุ้นการสร้างตัวอสุจิได้เล็กน้อย
- (estradiol) — จากเซลล์เซอร์โทลี ทำหน้าที่แปลงเทสโทสเตอโรนเป็น 17 เบตา เอสตราดิออล เพื่อให้เกิดการสร้างสเปิร์มได้โดยตรง
- โมเลกุลเกี่ยวข้องกับอีทีเอส (ETS Related Molecule หรือ ERM) สารถอดรหัส ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับการบำรุงรักษาเซลล์ต้นกำเนิดในอัณฑะผู้ใหญ่
- (transferrin) — โปรตีนในน้ำเลือดสำหรับการขนส่งไอออนเหล็ก
- เซอรูโลพลาสมินของอัณฑะ (Testicular ceruloplasmin) — โปรตีนคล้ายเซอรูโลพลาสมิน ซึ่งมีภูมิคุ้มกันคล้ายกับเซอรูโลพลาสมิน
โครงสร้าง
จังก์ชันที่บดบังเซลล์เซอร์โตลีนั้นก่อตัวขึ้นเป็นตัวกั้นเลือด–อัณฑะ ซึ่งเป็นโครงสร้างที่แบ่งส่วนเลือดแทรกของอัณฑะออกจากส่วนที่อยู่ติดช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจิ เนื่องจากการพัฒนาขึ้นไปทางของ (เซลล์ต้นกำเนิดตัวอสุจิ) จังก์ชันที่บดบังจึงต้องได้รับการดัดแปลงและแตกออกแบบไดนามิก เพื่อให้สเปอร์มาโทโกเนียที่มีภูมิคุ้มกันเจาะจง (immunoidentical spermatogonia) สามารถข้ามผ่านตัวกั้นเลือด–อัณฑะได้ ทั้งนี้เพื่อให้เซลล์เหล่านั้นมีภูมิคุ้มกันเฉพาะตัว เซลล์เซอร์โตลีจะควบคุมการเข้าและออกของสารอาหาร ฮอร์โมน และ สารเคมีอื่น ๆ จากกลีบย่อยของอัณฑะ รวมทั้งทำให้ส่วนที่ติดกับช่องภายในหลอดเป็นบริเวณพิเศษทางภูมิคุ้มกันด้วย
นอกจากนี้ เซลล์เซอร์โตลียังมีหน้าที่ในการสร้างและรักษาโพรงของเซลล์ต้นกำเนิดสเปอร์มาโทโกเนียด้วย ซึ่งจะทำให้แน่ใจว่ามีการเกิดใหม่ของเซลล์ต้นกำเนิดและการเปลี่ยนสภาพของสเปอร์มาโทโกเนียไปเป็นเซลล์ต้นกำเนิดที่เจริญเติมที่ ที่จะเจริญต่อไปในกระบวนการอันยาวนานของการสร้างอสุจิ ซึ่งจะสิ้นสุดลงด้วยการปล่อยหรือตัวอสุจิออกมา ซึ่งนี่เป็นกระบวนการการสร้างสเปิร์ม เซลล์เซอร์โตลีจะจับกับเซลล์สเปอร์มาโทโกเนียผ่าน และกาแลกโทซิลทรานสเฟอเรส (ผ่านคาร์โบไฮเดรตที่ตกค้างอยู่)
หน้าที่อื่น
ในระหว่าง(ระยะการเจริญเต็มที่ของการสร้างสเปิร์ม) เซลล์เซอร์โตลีจะกินส่วนที่ไม่จำเป็นสำหรับสเปอร์มาโทซัว
การซ่อมแซมดีเอ็นเอและการกลายพันธุ์
เซลล์เซอร์โตลีมีความสามารถในการซ่อมแซมได้ การซ่อมแซมนี้น่าจะใช้กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับโปรตีน และ ซึ่งปรากฏอยู่ในเซลล์เซอร์โตลี
เซลล์เซอร์โตลีมีความถี่ในการกลายพันธุ์มากกว่าเซลล์สร้างอสุจิ เมื่อเทียบกับ เซลล์เซอร์โตลีจะมีความถี่ในการกลายพันธุ์สูงกว่า 5 ถึง 10 เท่า ซึ่งอาจสะท้อนถึงความจำเป็นในการซ่อมแซมดีเอ็นเอ และการเลี่ยงการกลายพันธุ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าในเซลล์ร่างกาย
คุณสมบัติปรับปรุงภูมิคุ้มกันของเซลล์เซอร์โตลี
นอกจากการปรากฏของสารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเซลล์อสุจิแล้ว เซลล์เซอร์โตลียังสร้างโมเลกุลขึ้นหลายประเภท (ไม่ว่าจะบนพื้นผิวหรือสารละลายของเซลล์) ซี่งสามารถปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันได้ ความสามารถของเซลล์เซอร์โตลีในการเปลี่ยนแปลงการตอบสนองภูมิคุ้มกันในกลีบย่อยนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเจริญเติบโตของเซลล์อสุจิที่ประสบความสำเร็จ โดยเซลล์อสุจิจะแสดงนีโอเอพิโทป (neoepitopes) บนพื้นผิวของเซลล์ในระยะต่าง ๆ ของเจริญเติบโต พวกมันสามารถกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่รุนแรงได้ หากอยู่ในตำแหน่งอื่นของร่างกาย
โมเลกุลที่ผลิตโดยเซลล์เซอร์โตลีที่เกี่ยวข้องกับการกดภูมิคุ้มกันหรือการควบคุมภูมิคุ้มกัน
ระบบ – การปรากฏของฟาสลิแกนด์ (Fas-L) บนพื้นผิวของเซลล์เซอร์โตลีจะไปกระตุ้นการตายจากการอะพอพโทซิสของตัวรับฟาส เช่น ทีเซลล์ที่เป็นพิษต่อเซลล์
- FasL ละลายน้ำได้- เพิ่มประสิทธิภาพของระบบ
- Fas ละลายน้ำได้- การปิดกั้น FasL บนพื้นผิวของเซลล์อื่น (ไม่มีการชักนำการอะพอพโทซิสในเซลล์เซอร์โตลีโดยเซลล์ต่าง ๆ ของระบบภูมิคุ้มกัน)
B7/H1 – ลดการเพิ่มจำนวนของเซลล์ทีเอฟเฟคเตอร์
Jagged1 (JAG1) – การชักนำการแสดงสารการถอดรหัส Foxp3 ในเซลล์ที (การเพิ่มของจำนวนสัมพัทธ์ของ)
(PI-9) – สมาชิกของอินฮิบิเตอร์ในตระกูลเซอร์พิน (ซีรีนโปรตีเอสอินฮิบิเตอร์)
- การกระตุ้นการหลั่งโปรตีเอส, เซลล์ทีที่เป็นพิษต่อเซลล์ และ เซลล์เอ็นเค สามารถกระตุ้นการอะพอพโทซิสในเซลล์เป้าหมาย โดยเซลล์เซอร์โตลีจะสร้าง PI-9 ที่เข้าจับกับแกรนไซม์ บี และอินฮิบิเตอร์ของมันแบบย้อนกลับไม่ได้
สารก่อภูมิต้านทาน - โมเลกุลบนพื้นผิวของเซลล์เซอร์โตลี เป็นสมาชิกของ (CRP)
- การยับยั้งขั้นตอนสุดท้ายของ – การก่อตัวของ
คลัสเตอริน (Clusterin) – โมเลกุลที่ละลายน้ำได้ ทำหน้าที่คล้ายกับ CD59 ทำให้เกิดการรวมกลุ่มด้วยแกรนไซม์ บี และยับยั้งการกระตุ้นการอะพอสโทซิสโดยเซลล์เม็ดเลือดขาวทีหรือเซลล์เอ็นเค
-เบตา – การเปลี่ยนแปลงสารการเจริญเติบโตเบตา (การผลิตขึ้นโดยตรงจากเซลล์เซอร์โตลียังคงเป็นที่ถกเถียง)
- เหนี่ยวนำการควบคุมเซลล์ทีในส่วนรอบนอก
โมเลกุลอื่นที่เกี่ยวข้อง
- โมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เดนไดรต์
- เซลล์เซอร์โตลีสามารถควบคุมการปรากฏของ CD40 บนพื้นผิวของเซลล์เดนไดรต์ได้ (ไม่ทราบกลไก)
- การปรับลดของ CD40 เป็นผลให้ความสามารถของเซลล์เดนไดรต์ในการกระตุ้นการตอบสนองของเซลล์ทีลดลง
เซลล์เซอร์โตลียังสามารถยับยั้งการเคลื่อนย้ายของเซลล์ภูมิคุ้มกันด้วย – ทำให้มีการแทรกของเซลล์ภูมิคุ้มกันไปยังจุดที่มีการอักเสบลดลง
นัยสำคัญทางคลินิก
เป็นส่วนหนึ่งของในกลุ่มของมะเร็งรังไข่ เนื้องอกเหล่านี้จะสร้างทั้งเซลล์เซอร์โตลีและเซลล์ไลดิช นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในรังไข่และอัณฑะ
สัตว์อื่น
หน้าที่ของเซลล์เซอร์โตลีในแอมนิโอตาและแอนแอมนิโอตานั้นเหมือนกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับแล้วจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันเล็กน้อย โดยแอนแอมนิโอตา (พวกปลาและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก) จะใช้การสร้างสเปิร์มถุงเพื่อสร้างเซลล์อสุจิ ส่วนแอมนิโอตา เซลล์เซอร์โตลีจะถือว่าเป็นเซลล์ที่มีการเปลี่ยนสภาพเป็นขั้นสุดท้าย และไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้ โดยในเซลล์เซอร์โตลีของแอนแอมนิโอตาจะผ่านขั้นตอนสองขั้นตอนในการเพิ่มจำนวน ขั้นแรกของการเพิ่มจำนวนจะเกิดขึ้นในระหว่างสร้างถุง ซึ่งทำให้มีการย้ายเซลล์สืบพันธุ์เข้าไป ขั้นสองคือการขยายของถุงและการสร้างพื้นที่สำหรับการเพิ่มจำนวนของเซลล์สืบพันธุ์
ข้อเท็จจริงที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเซลล์เซอร์โตลีเป็นการเปลี่ยนสภาพขั้นสุดท้ายเพิ่งจะมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากภายหลังการปลูกถ่ายซีโนจีนิก เซลล์เซอร์โตลีจะสามารถเพิ่มจำนวนได้
ประวัติ
เซลล์เซอร์โตลีตั้งชื่อตาม นักสรีรวิทยาชาวอิตาลี ซึ่งเป็นผู้ค้นพบเซลล์ขี้ในระหว่างการศึกษาด้านแพทย์ศาสตร์ในมหาวิทยาลัยปาเวีย
เขาตีพิมพ์คำอธิบายของเซลล์ขี้ในปี ค.ศ. 1865 ซึ่งเซอร์โตลีพบเซลล์นี้ด้วยกล้องจุลทรรศน์เบธเล ซึ่งเขาซื้นในปี ค.ศ. 1862 ขณะเรียนแพทย์
ในการตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ. 1865 คำอธิบายแรกของเขาใช้คำว่า "เซลล์คล้ายต้นไม้" หรือ "เซลล์ที่มีลักษณะเป็นเส้น" และที่สำคัญที่สุด เขาเรียกสิ่งนี้ว่า "เซลล์แม่" ต่อมานักวิทยาศาสตร์คนอื่นจึงได้ใช้นามสกุลของเอนริโกเป็นชื่อของเซลล์นี้ซึ่งเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1888 โดย ณ ค.ศ. 2006 มีหนังสือเรียนสองเล่มที่ถูกแต่งขึ้นมาโดยเฉพาะสำหรับเซลล์เซอร์โตลี
การวิจัย
ในปี ค.ศ. 2016 แบบจำลองโรคการอักเสบของภาวะภูมิต้านตนเอง รวมไปถึง เบาหวาน ได้กระตุ้นให้เซลล์เซอร์โตลีสามารถปลูกถ่ายได้ เนื่องจากสมบัติการกดภูมิคุ้มกันและการต้านการอักเสบ
การวิจัยนำเซลล์เซอร์โตลีมาใช้ในการรักษาเบาหวานชนิดที่ 1 โดยขณะนี้อยู่ในขั้นตอนที่ลึกที่สุด ซึ่งมีกลยุทธ์คือการปลูกถ่ายร่วมกันของเซลล์เบตาและเซลล์เซอร์โตลีไปสู่ผู้รับ ในกรณีของหนูตัวผู้ หนูและรวมถึงมนุษย์ การปรากฏของเซลล์เหล่านี้ซึ่งเก็บกลูโคสในภาวะสมดุลไปพร้อมกับความต้องการอินซูลินภายนอกที่ต่ำ ซึ่งในทุกกรณีนั้นไม่มีการใช้ยากดภูมิ ทำให้บทบาทของยานี้ถูกนำไปใช้และจัดหาโดยเซลล์เซอร์โตลี
จีโอวานนี และคณะ ได้รักษาหนูที่เป็นเบาหวานและโรคอ้วนตามธรรมชาติ โดยการปลูกถ่ายเซลล์เซอร์โตลีที่ถูกหุ้มด้วยแคปซูลเข้าไปยังพืดไขมันหน้าท้อง โดยแสดงให้เห็นว่า มากกว่าครึ่งของหนูที่ได้รับการรักษามีระดับน้ำตาลในเลือดที่ดีขึ้น งานทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดยังให้คำมั่นว่าจะรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2ให้ดีขึ้นผ่านการใช้เซลล์บำบัดในอนาคตด้วย
เซลล์เซอร์โตลีส่งเสริมการยอมรับการปลูกถ่ายผิวหนังโดยผู้รับด้วย และการมีอยู่ของเซลล์นี้ยังช่วยเพิ่มจำนวนเซลล์ประสาทสั่งการในไขสันหลัง SOD1 ของหนูตัวผู้ด้วย
ระเบียบภาพ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Charlotte Ownby. . Oklahoma State University College of Veterinary Medicine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ธันวาคม 2006.
- Rosana Rodríguez-Casuriaga; Adriana Geisinger (กุมภาพันธ์ 2021). "Contributions of Flow Cytometry to the Molecular Study of Spermatogenesis in Mammals". International Journal of Molecular Sciences. 22 (3): 1151. doi:10.3390/ijms22031151. PMC 7865295. PMID 33503798.
- Kim Y, Kobayashi A, Sekido R, DiNapoli L, Brennan J, Chaboissier MC, Poulat F, Behringer RR, Lovell-Badge R, Capel B (มิถุนายน 2006). "Fgf9 and Wnt4 act as antagonistic signals to regulate mammalian sex determination". PLOS Biology. 4 (6): e187. doi:10.1371/journal.pbio.0040187. PMC 1463023. PMID 16700629.
- Moniot B, Declosmenil F, Barrionuevo F, Scherer G, Aritake K, Malki S, Marzi L, Cohen-Solal A, Georg I, Klattig J, Englert C, Kim Y, Capel B, Eguchi N, Urade Y, Boizet-Bonhoure B, Poulat F (มิถุนายน 2009). "The PGD2 pathway, independently of FGF9, amplifies SOX9 activity in Sertoli cells during male sexual differentiation". Development. 136 (11): 1813–21. doi:10.1242/dev.032631. PMC 4075598. PMID 19429785.
- Sharpe RM, McKinnell C, Kivlin C, Fisher JS (มิถุนายน 2003). "Proliferation and functional maturation of Sertoli cells, and their relevance to disorders of testis function in adulthood". Reproduction. 125 (6): 769–84. doi:10.1530/reprod/125.6.769. PMID 12773099.
- Nicholls PK, Stanton PG, Chen JL, Olcorn JS, Haverfield JT, Qian H, Walton KL, Gregorevic P, Harrison CA (ธันวาคม 2012). "Activin signaling regulates Sertoli cell differentiation and function". Endocrinology. 153 (12): 6065–77. doi:10.1210/en.2012-1821. PMID 23117933.
- Vize, Peter D.; Woolf, Adrian S.; Bard, Jonathan (2003). The kidney: from normal development to congenital disease. Academic Press. pp. 82–. ISBN . สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2010.
- Rato L, Alves MG, Socorro S, Duarte AI, Cavaco JE, Oliveira PF (พฤษภาคม 2012). "Metabolic regulation is important for spermatogenesis". Nature Reviews. Urology. 9 (6): 330–8. doi:10.1038/nrurol.2012.77. PMID 22549313. S2CID 7385545.
- Xiong X, Wang A, Liu G, Liu H, Wang C, Xia T, Chen X, Yang K (กรกฎาคม 2006). "Effects of p,p'-dichlorodiphenyldichloroethylene on the expressions of transferrin and androgen-binding protein in rat Sertoli cells". Environmental Research. 101 (3): 334–9. Bibcode:2006ER....101..334X. doi:10.1016/j.envres.2005.11.003. PMID 16380112.
- Skinner MK, Griswold MD (มิถุนายน 1983). "Sertoli cells synthesize and secrete a ceruloplasmin-like protein". Biology of Reproduction. 28 (5): 1225–1229. doi:10.1095/biolreprod28.5.1225. PMID 6871315.
- O'Donnell L, Nicholls PK, O'Bryan MK, McLachlan RI, Stanton PG (มกราคม 2011). "Spermiation: The process of sperm release". Spermatogenesis. 1 (1): 14–35. doi:10.4161/spmg.1.1.14525. PMC 3158646. PMID 21866274.
- Ahmed EA, Barten-van Rijbroek AD, Kal HB, Sadri-Ardekani H, Mizrak SC, van Pelt AM, de Rooij DG (มิถุนายน 2009). "Proliferative activity in vitro and DNA repair indicate that adult mouse and human Sertoli cells are not terminally differentiated, quiescent cells". Biology of Reproduction. 80 (6): 1084–91. doi:10.1095/biolreprod.108.071662. PMID 19164176.
- Walter CA, Intano GW, McCarrey JR, McMahan CA, Walter RB (สิงหาคม 1998). "Mutation frequency declines during spermatogenesis in young mice but increases in old mice". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 95 (17): 10015–9. Bibcode:1998PNAS...9510015W. doi:10.1073/pnas.95.17.10015. PMC 21453. PMID 9707592.
- Dal Secco V, Riccioli A, Padula F, Ziparo E, Filippini A (กุมภาพันธ์ 2008). "Mouse Sertoli cells display phenotypical and functional traits of antigen-presenting cells in response to interferon gamma". Biology of Reproduction. 78 (2): 234–42. doi:10.1095/biolreprod.107.063578. PMID 17989360.
- Kaur G, Thompson LA, Dufour JM (มิถุนายน 2014). "Sertoli cells--immunological sentinels of spermatogenesis". Seminars in Cell & Developmental Biology. 30: 36–44. doi:10.1016/j.semcdb.2014.02.011. PMC 4043859. PMID 24603046.
- Campese AF, Grazioli P, de Cesaris P, Riccioli A, Bellavia D, Pelullo M, Padula F, Noce C, Verkhovskaia S, Filippini A, Latella G, Screpanti I, Ziparo E, Starace D (มีนาคม 2014). "Mouse Sertoli cells sustain de novo generation of regulatory T cells by triggering the notch pathway through soluble JAGGED1". Biology of Reproduction. 90 (3): 53. doi:10.1095/biolreprod.113.113803. PMID 24478388.
- Potempa J, Korzus E, Travis J (มิถุนายน 1994). "The serpin superfamily of proteinase inhibitors: structure, function, and regulation". The Journal of Biological Chemistry. 269 (23): 15957–60. doi:10.1016/S0021-9258(17)33954-6. PMID 8206889.
- Lee HM, Oh BC, Lim DP, Lee DS, Lim HG, Park CS, Lee JR (มิถุนายน 2008). "Mechanism of humoral and cellular immune modulation provided by porcine sertoli cells". Journal of Korean Medical Science. 23 (3): 514–20. doi:10.3346/jkms.2008.23.3.514. PMC 2526533. PMID 18583891.
- Iliadou PK, Tsametis C, Kaprara A, Papadimas I, Goulis DG (ตุลาคม 2015). "The Sertoli cell: Novel clinical potentiality". Hormones. 14 (4): 504–14. doi:10.14310/horm.2002.1648. PMID 26859601.
- Schulz RW, de França LR, Lareyre JJ, Le Gac F, LeGac F, Chiarini-Garcia H, Nobrega RH, Miura T (กุมภาพันธ์ 2010). "Spermatogenesis in fish". General and Comparative Endocrinology. 165 (3): 390–411. doi:10.1016/j.ygcen.2009.02.013. PMID 19348807.
- Morais RD, Nóbrega RH, Gómez-González NE, Schmidt R, Bogerd J, França LR, Schulz RW (พฤศจิกายน 2013). "Thyroid hormone stimulates the proliferation of Sertoli cells and single type A spermatogonia in adult zebrafish (Danio rerio) testis". Endocrinology. 154 (11): 4365–76. doi:10.1210/en.2013-1308. PMID 24002037.
- Lacerda SM, Costa GM, Campos-Junior PH, Segatelli TM, Yazawa R, Takeuchi Y, Morita T, Yoshizaki G, França LR (กุมภาพันธ์ 2013). "Germ cell transplantation as a potential biotechnological approach to fish reproduction". Fish Physiology and Biochemistry. 39 (1): 3–11. doi:10.1007/s10695-012-9606-4. PMID 22290474. S2CID 10134737.
- Almeida FF, Kristoffersen C, Taranger GL, Schulz RW (มกราคม 2008). "Spermatogenesis in Atlantic cod (Gadus morhua): a novel model of cystic germ cell development". Biology of Reproduction. 78 (1): 27–34. doi:10.1095/biolreprod.107.063669. PMID 17881768.
- Mital P, Kaur G, Bowlin B, Paniagua NJ, Korbutt GS, Dufour JM (มกราคม 2014). "Nondividing, postpubertal rat sertoli cells resumed proliferation after transplantation". Biology of Reproduction. 90 (1): 13. doi:10.1095/biolreprod.113.110197. PMC 4076399. PMID 24285718.
- synd/518 ใน Who Named It?
- Luca G, Arato I, Mancuso F, Calvitti M, Falabella G, Murdolo G, Basta G, Cameron DF, Hansen BC, Fallarino F, Baroni T, Aglietti MC, Tortoioli C, Bodo M, Calafiore R (พฤศจิกายน 2016). "Xenograft of microencapsulated Sertoli cells restores glucose homeostasis in db/db mice with spontaneous diabetes mellitus". Xenotransplantation. 23 (6): 429–439. doi:10.1111/xen.12274. PMID 27678013. S2CID 46744082.
- Valdés-González RA, Dorantes LM, Garibay GN, Bracho-Blanchet E, Mendez AJ, Dávila-Pérez R, Elliott RB, Terán L, White DJ (กันยายน 2005). "Xenotransplantation of porcine neonatal islets of Langerhans and Sertoli cells: a 4-year study". European Journal of Endocrinology. 153 (3): 419–27. doi:10.1530/eje.1.01982. PMID 16131605.
- Korbutt GS, Elliott JF, Rajotte RV (กุมภาพันธ์ 1997). "Cotransplantation of allogeneic islets with allogeneic testicular cell aggregates allows long-term graft survival without systemic immunosuppression". Diabetes. 46 (2): 317–22. doi:10.2337/diab.46.2.317. PMID 9000711.
- Li Y, Xue W, Liu H, Fan P, Wang X, Ding X, Tian X, Feng X, Pan X, Zheng J, Tian P, Ding C, Fan X (20 กุมภาพันธ์ 2013). "Combined strategy of endothelial cells coating, Sertoli cells coculture and infusion improves vascularization and rejection protection of islet graft". PLOS ONE. 8 (2): e56696. Bibcode:2013PLoSO...856696L. doi:10.1371/journal.pone.0056696. PMC 3577699. PMID 23437215.
- Bistoni G, Calvitti M, Mancuso F, Arato I, Falabella G, Cucchia R, Fallarino F, Becchetti A, Baroni T, Mazzitelli S, Nastruzzi C, Bodo M, Becchetti E, Cameron DF, Luca G, Calafiore R (กรกฎาคม 2012). "Prolongation of skin allograft survival in rats by the transplantation of microencapsulated xenogeneic neonatal porcine Sertoli cells". Biomaterials. 33 (21): 5333–40. doi:10.1016/j.biomaterials.2012.04.020. PMID 22560198.
- Hemendinger, Richelle; Wang, Jay; Malik, Saafan; Persinski, Rafal; Copeland, Jane; Emerich, Dwaine; Gores, Paul; Halberstadt, Craig; Rosenfeld, Jeffrey (2005). "Sertoli cells improve survival of motor neurons in SOD1 transgenic mice, a model of amyotrophic lateral sclerosis". Experimental Neurology. 196 (2): 235–243. doi:10.1016/j.expneurol.2005.07.025. PMID 16242126. S2CID 352751.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาพเนื้อเยื่อจาก 17805loa (อังกฤษ)
- ภาพเนื้อเยื่อจาก 17806loa (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esllesxrotli esllphyungpraephthhnung epnesll phyabal khxngxnthathiepnswnhnungkhxng aelachwyinkrabwnkarkarsrangsepirmsungepnkrabwnkarsrangtwxsuciesllesxrotlieyuxbuphiwtnkaenidkhxngxntha 1 2 3 ladbthi 1 4 sepxrmaothistladbthi 2 5 6 sepxrmathidthismburn 7 esllesxrotli 8 ithtcngkchn twkneluxd xntha phaphmiychwithyakhxngphaerngikhmaxnthakhxnghmupa 1 chxngphayinhlxdkhxngswnkhdkhxng 2 3 4 5 esllesxrotli 6 7 esllildichs 8 hlxdeluxdfxyraylaexiydrabbrabbsubphnthuthitngxnthahnathichwyinkarsrangtwxsucitwrabuMeSHD012708FMA72298 aekikhbnwikisneths esllnicathukplukvththikhunody FSH sunghlngxxkmaody odyesllesxrotlinnmi xyubneyuxhumesll aelaphbechphaaxyuinhlxdkhdkhxnghlxdsrangxsuci enuxngcakepnephiyngcudediywinxnthathimikarsrangtwxsucikhun karphthnakhunkhxngesllesxrotlinnthukkhwbkhumodyoprtinokhrngsrangesllesxrotlixyubn bnsild karichmatrthanxacthaihekidkhwamsbsnrahwangesllesxrotlikbesllxunkhxngid lksnathioddednthisudkhxngesllesxrotli khux niwkhlioxlsthimikhwamthubkarphthnaesllesxrotlimikhwamcaepntxkarphthnathangephskhxngephschay inrahwangkarphthnakhxngephschay yin caipplukvththi khun sungcaknnmncaipplukvththiaelasrangwngwnkarpxndwy odyesllesxrotlicaaelaodykarkratuncak FGF9 epnhlk karkhad FGF9 cathaihmiaenwonmepnsaehtuihlksnaephshyingphthnakhun emuxepliynsphaphxyangsmburnaelw esllesxrotlicathuxidwaidepliynsphaphkhnsudthayipaelw aelacaimsamarthephimcanwnkhunidxik dngnn emuxkarsrangtwxsucierimtnkhunaelw caimmikarsrangesllesxrotlikhunxik xyangirktam emuximnanmani nkwithyasastrbangkhnidkhnphbwithiinkarchknaihesllesxrotliklayepnfionithpthiephimcanwnidsmywyedk juvenile proliferative phenotype dannxkrangkay singnithaihmikhwamepnipidinkaraekikhkhxbkphrxngbangprakar thixacepnsaehtukhxngkhwamepnhmninephschay mikaraenanawaesllesxrotlixacecriymacakkhxngtharkinkhrrphhnathienuxngcakhnathihlkkhxngesllnikhuxkareliyngesllxsucithikalngphthnakhunphanrayakhxngkarsrangsepirm esllesxrotlicungyngthukeriykwaesll aem hruxesll phyabal dwy esllesxrotliyngthahnathiepnesllklunkin sungcathahnathikinisothphlasumthitkkhangrahwangkarsrangxsuci karekhluxnyayesllcakthankhxngchxngphayinhlxdkhxnghlxdsrangxsuci sungekidkhuncakkarepliynaeplngthangokhrngsranginkhxbdankhangkhxngesllesxrotli singkhdhlng esllesxrotlicahlngsardngtxipni anti Mullerian hormone AMH hlngxxkmainchwngrayaaerkkhxngchiwit hlngxxkmahlngcakwyerimecriyphnthu thanganrwmknephuxkhwbkhumkarhlng hruxxaceriykwa oklbulincbethsothsetxorn ephimkhwamekhmkhnkhxnghxromnethsothsetxorninhlxdsrangxsuciephuxkratunkarsrangtwxsuciidelknxy estradiol cakesllesxrothli thahnathiaeplngethsothsetxornepn 17 ebta exstradixxl ephuxihekidkarsrangsepirmidodytrng omelkulekiywkhxngkbxithiexs ETS Related Molecule hrux ERM sarthxdrhs sungmikhwamcaepnsahrbkarbarungrksaeslltnkaenidinxnthaphuihy transferrin oprtininnaeluxdsahrbkarkhnsngixxxnehlk esxruolphlasminkhxngxntha Testicular ceruloplasmin oprtinkhlayesxruolphlasmin sungmiphumikhumknkhlaykbesxruolphlasminokhrngsrang cngkchnthibdbngesllesxrotlinnkxtwkhunepntwkneluxd xntha sungepnokhrngsrangthiaebngswneluxdaethrkkhxngxnthaxxkcakswnthixyutidchxngphayinhlxdkhxnghlxdsrangxsuci enuxngcakkarphthnakhunipthangkhxng eslltnkaenidtwxsuci cngkchnthibdbngcungtxngidrbkarddaeplngaelaaetkxxkaebbidnamik ephuxihsepxrmaothokeniythimiphumikhumknecaacng immunoidentical spermatogonia samarthkhamphantwkneluxd xnthaid thngniephuxihesllehlannmiphumikhumknechphaatw esllesxrotlicakhwbkhumkarekhaaelaxxkkhxngsarxahar hxromn aela sarekhmixun cakklibyxykhxngxntha rwmthngthaihswnthitidkbchxngphayinhlxdepnbriewnphiessthangphumikhumkndwy nxkcakni esllesxrotliyngmihnathiinkarsrangaelarksaophrngkhxngeslltnkaenidsepxrmaothokeniydwy sungcathaihaenicwamikarekidihmkhxngeslltnkaenidaelakarepliynsphaphkhxngsepxrmaothokeniyipepneslltnkaenidthiecriyetimthi thicaecriytxipinkrabwnkarxnyawnankhxngkarsrangxsuci sungcasinsudlngdwykarplxyhruxtwxsucixxkma sungniepnkrabwnkarkarsrangsepirm esllesxrotlicacbkbesllsepxrmaothokeniyphan aelakaaelkothsilthransefxers phankharobihedrtthitkkhangxyu hnathixun inrahwangrayakarecriyetmthikhxngkarsrangsepirm esllesxrotlicakinswnthiimcaepnsahrbsepxrmaothsw karsxmaesmdiexnexaelakarklayphnthu esllesxrotlimikhwamsamarthinkarsxmaesmid karsxmaesmninacaichkrabwnkarthiekiywkhxngkboprtin aela sungpraktxyuinesllesxrotli esllesxrotlimikhwamthiinkarklayphnthumakkwaesllsrangxsuci emuxethiybkb esllesxrotlicamikhwamthiinkarklayphnthusungkwa 5 thung 10 etha sungxacsathxnthungkhwamcaepninkarsxmaesmdiexnex aelakareliyngkarklayphnthuidxyangmiprasiththiphaphmakkwainesllrangkay khunsmbtiprbprungphumikhumknkhxngesllesxrotli nxkcakkarpraktkhxngsarthimikhwamsakhytxkarecriyetibotkhxngesllxsuciaelw esllesxrotliyngsrangomelkulkhunhlaypraephth imwacabnphunphiwhruxsarlalaykhxngesll singsamarthprbprungrabbphumikhumknid khwamsamarthkhxngesllesxrotliinkarepliynaeplngkartxbsnxngphumikhumkninklibyxynn mikhwamcaepnxyangyingsahrbkarecriyetibotkhxngesllxsucithiprasbkhwamsaerc odyesllxsucicaaesdngnioxexphiothp neoepitopes bnphunphiwkhxngesllinrayatang khxngecriyetibot phwkmnsamarthkratunkartxbsnxngthangphumikhumknthirunaerngid hakxyuintaaehnngxunkhxngrangkay omelkulthiphlitodyesllesxrotlithiekiywkhxngkbkarkdphumikhumknhruxkarkhwbkhumphumikhumkn rabb karpraktkhxngfasliaeknd Fas L bnphunphiwkhxngesllesxrotlicaipkratunkartaycakkarxaphxphothsiskhxngtwrbfas echn thiesllthiepnphistxesll FasL lalaynaid ephimprasiththiphaphkhxngrabb Fas lalaynaid karpidkn FasL bnphunphiwkhxngesllxun immikarchknakarxaphxphothsisinesllesxrotliodyeslltang khxngrabbphumikhumkn B7 H1 ldkarephimcanwnkhxngesllthiexfefkhetxr Jagged1 JAG1 karchknakaraesdngsarkarthxdrhs Foxp3 inesllthi karephimkhxngcanwnsmphththkhxng PI 9 smachikkhxngxinhibietxrintrakulesxrphin sirinoprtiexsxinhibietxr karkratunkarhlngoprtiexs esllthithiepnphistxesll aela esllexnekh samarthkratunkarxaphxphothsisinesllepahmay odyesllesxrotlicasrang PI 9 thiekhacbkbaekrnism bi aelaxinhibietxrkhxngmnaebbyxnklbimid sarkxphumitanthan omelkulbnphunphiwkhxngesllesxrotli epnsmachikkhxng CRP karybyngkhntxnsudthaykhxng karkxtwkhxng khlsetxrin Clusterin omelkulthilalaynaid thahnathikhlaykb CD59 thaihekidkarrwmklumdwyaekrnism bi aelaybyngkarkratunkarxaphxsothsisodyesllemdeluxdkhawthihruxesllexnekh ebta karepliynaeplngsarkarecriyetibotebta karphlitkhunodytrngcakesllesxrotliyngkhngepnthithkethiyng ehniywnakarkhwbkhumesllthiinswnrxbnxk omelkulxunthiekiywkhxng omelkulthiekiywkhxngkbesllednidrt esllesxrotlisamarthkhwbkhumkarpraktkhxng CD40 bnphunphiwkhxngesllednidrtid imthrabklik karprbldkhxng CD40 epnphlihkhwamsamarthkhxngesllednidrtinkarkratunkartxbsnxngkhxngesllthildlng esllesxrotliyngsamarthybyngkarekhluxnyaykhxngesllphumikhumkndwy thaihmikaraethrkkhxngesllphumikhumknipyngcudthimikarxkesbldlngnysakhythangkhlinikepnswnhnungkhxnginklumkhxngmaerngrngikh enuxngxkehlanicasrangthngesllesxrotliaelaesllildich naipsukarephimkhunkhxnghxromnethsothsetxorninrngikhaelaxnthastwxunhnathikhxngesllesxrotliinaexmnioxtaaelaaexnaexmnioxtannehmuxnkn aetemuxepriybethiybkbaelwcamikhunsmbtiaetktangknelknxy odyaexnaexmnioxta phwkplaaelastwsaethinnasaethinbk caichkarsrangsepirmthungephuxsrangesllxsuci swnaexmnioxta esllesxrotlicathuxwaepnesllthimikarepliynsphaphepnkhnsudthay aelaimsamarthephimcanwnid odyinesllesxrotlikhxngaexnaexmnioxtacaphankhntxnsxngkhntxninkarephimcanwn khnaerkkhxngkarephimcanwncaekidkhuninrahwangsrangthung sungthaihmikaryayesllsubphnthuekhaip khnsxngkhuxkarkhyaykhxngthungaelakarsrangphunthisahrbkarephimcanwnkhxngesllsubphnthu khxethccringthiyxmrbknodythwipwaesllesxrotliepnkarepliynsphaphkhnsudthayephingcamikarepliynaeplng enuxngcakphayhlngkarplukthaysioncinik esllesxrotlicasamarthephimcanwnidprawtiesllesxrotlitngchuxtam nksrirwithyachawxitali sungepnphukhnphbesllkhiinrahwangkarsuksadanaephthysastrinmhawithyalypaewiy ekhatiphimphkhaxthibaykhxngesllkhiinpi kh s 1865 sungesxrotliphbesllnidwyklxngculthrrsnebthel sungekhasuninpi kh s 1862 khnaeriynaephthy inkartiphimphemuxpi kh s 1865 khaxthibayaerkkhxngekhaichkhawa esllkhlaytnim hrux esllthimilksnaepnesn aelathisakhythisud ekhaeriyksingniwa esllaem txmankwithyasastrkhnxuncungidichnamskulkhxngexnriokepnchuxkhxngesllnisungerimtninpi kh s 1888 ody n kh s 2006 mihnngsuxeriynsxngelmthithukaetngkhunmaodyechphaasahrbesllesxrotlikarwicyinpi kh s 2016 aebbcalxngorkhkarxkesbkhxngphawaphumitantnexng rwmipthung ebahwan idkratunihesllesxrotlisamarthplukthayid enuxngcaksmbtikarkdphumikhumknaelakartankarxkesb karwicynaesllesxrotlimaichinkarrksaebahwanchnidthi 1 odykhnanixyuinkhntxnthilukthisud sungmiklyuththkhuxkarplukthayrwmknkhxngesllebtaaelaesllesxrotliipsuphurb inkrnikhxnghnutwphu hnuaelarwmthungmnusy karpraktkhxngesllehlanisungekbkluokhsinphawasmdulipphrxmkbkhwamtxngkarxinsulinphaynxkthita sunginthukkrninnimmikarichyakdphumi thaihbthbathkhxngyanithuknaipichaelacdhaodyesllesxrotli cioxwanni aelakhna idrksahnuthiepnebahwanaelaorkhxwntamthrrmchati odykarplukthayesllesxrotlithithukhumdwyaekhpsulekhaipyngphudikhmnhnathxng odyaesdngihehnwa makkwakhrungkhxnghnuthiidrbkarrksamiradbnatalineluxdthidikhun nganthangwithyasastrlasudyngihkhamnwacarksaphupwyebahwanchnidthi 2ihdikhunphankarichesllbabdinxnakhtdwy esllesxrotlisngesrimkaryxmrbkarplukthayphiwhnngodyphurbdwy aelakarmixyukhxngesllniyngchwyephimcanwnesllprasathsngkarinikhsnhlng SOD1 khxnghnutwphudwyraebiybphaphphaphtdkhwangklibyxykhxngxnthakhxnghnu 250 ethaduephimxangxingCharlotte Ownby Oklahoma State University College of Veterinary Medicine khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 9 thnwakhm 2006 Rosana Rodriguez Casuriaga Adriana Geisinger kumphaphnth 2021 Contributions of Flow Cytometry to the Molecular Study of Spermatogenesis in Mammals International Journal of Molecular Sciences 22 3 1151 doi 10 3390 ijms22031151 PMC 7865295 PMID 33503798 Kim Y Kobayashi A Sekido R DiNapoli L Brennan J Chaboissier MC Poulat F Behringer RR Lovell Badge R Capel B mithunayn 2006 Fgf9 and Wnt4 act as antagonistic signals to regulate mammalian sex determination PLOS Biology 4 6 e187 doi 10 1371 journal pbio 0040187 PMC 1463023 PMID 16700629 Moniot B Declosmenil F Barrionuevo F Scherer G Aritake K Malki S Marzi L Cohen Solal A Georg I Klattig J Englert C Kim Y Capel B Eguchi N Urade Y Boizet Bonhoure B Poulat F mithunayn 2009 The PGD2 pathway independently of FGF9 amplifies SOX9 activity in Sertoli cells during male sexual differentiation Development 136 11 1813 21 doi 10 1242 dev 032631 PMC 4075598 PMID 19429785 Sharpe RM McKinnell C Kivlin C Fisher JS mithunayn 2003 Proliferation and functional maturation of Sertoli cells and their relevance to disorders of testis function in adulthood Reproduction 125 6 769 84 doi 10 1530 reprod 125 6 769 PMID 12773099 Nicholls PK Stanton PG Chen JL Olcorn JS Haverfield JT Qian H Walton KL Gregorevic P Harrison CA thnwakhm 2012 Activin signaling regulates Sertoli cell differentiation and function Endocrinology 153 12 6065 77 doi 10 1210 en 2012 1821 PMID 23117933 Vize Peter D Woolf Adrian S Bard Jonathan 2003 The kidney from normal development to congenital disease Academic Press pp 82 ISBN 978 0 12 722441 1 subkhnemux 18 phvscikayn 2010 Rato L Alves MG Socorro S Duarte AI Cavaco JE Oliveira PF phvsphakhm 2012 Metabolic regulation is important for spermatogenesis Nature Reviews Urology 9 6 330 8 doi 10 1038 nrurol 2012 77 PMID 22549313 S2CID 7385545 Xiong X Wang A Liu G Liu H Wang C Xia T Chen X Yang K krkdakhm 2006 Effects of p p dichlorodiphenyldichloroethylene on the expressions of transferrin and androgen binding protein in rat Sertoli cells Environmental Research 101 3 334 9 Bibcode 2006ER 101 334X doi 10 1016 j envres 2005 11 003 PMID 16380112 Skinner MK Griswold MD mithunayn 1983 Sertoli cells synthesize and secrete a ceruloplasmin like protein Biology of Reproduction 28 5 1225 1229 doi 10 1095 biolreprod28 5 1225 PMID 6871315 O Donnell L Nicholls PK O Bryan MK McLachlan RI Stanton PG mkrakhm 2011 Spermiation The process of sperm release Spermatogenesis 1 1 14 35 doi 10 4161 spmg 1 1 14525 PMC 3158646 PMID 21866274 Ahmed EA Barten van Rijbroek AD Kal HB Sadri Ardekani H Mizrak SC van Pelt AM de Rooij DG mithunayn 2009 Proliferative activity in vitro and DNA repair indicate that adult mouse and human Sertoli cells are not terminally differentiated quiescent cells Biology of Reproduction 80 6 1084 91 doi 10 1095 biolreprod 108 071662 PMID 19164176 Walter CA Intano GW McCarrey JR McMahan CA Walter RB singhakhm 1998 Mutation frequency declines during spermatogenesis in young mice but increases in old mice Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 95 17 10015 9 Bibcode 1998PNAS 9510015W doi 10 1073 pnas 95 17 10015 PMC 21453 PMID 9707592 Dal Secco V Riccioli A Padula F Ziparo E Filippini A kumphaphnth 2008 Mouse Sertoli cells display phenotypical and functional traits of antigen presenting cells in response to interferon gamma Biology of Reproduction 78 2 234 42 doi 10 1095 biolreprod 107 063578 PMID 17989360 Kaur G Thompson LA Dufour JM mithunayn 2014 Sertoli cells immunological sentinels of spermatogenesis Seminars in Cell amp Developmental Biology 30 36 44 doi 10 1016 j semcdb 2014 02 011 PMC 4043859 PMID 24603046 Campese AF Grazioli P de Cesaris P Riccioli A Bellavia D Pelullo M Padula F Noce C Verkhovskaia S Filippini A Latella G Screpanti I Ziparo E Starace D minakhm 2014 Mouse Sertoli cells sustain de novo generation of regulatory T cells by triggering the notch pathway through soluble JAGGED1 Biology of Reproduction 90 3 53 doi 10 1095 biolreprod 113 113803 PMID 24478388 Potempa J Korzus E Travis J mithunayn 1994 The serpin superfamily of proteinase inhibitors structure function and regulation The Journal of Biological Chemistry 269 23 15957 60 doi 10 1016 S0021 9258 17 33954 6 PMID 8206889 Lee HM Oh BC Lim DP Lee DS Lim HG Park CS Lee JR mithunayn 2008 Mechanism of humoral and cellular immune modulation provided by porcine sertoli cells Journal of Korean Medical Science 23 3 514 20 doi 10 3346 jkms 2008 23 3 514 PMC 2526533 PMID 18583891 Iliadou PK Tsametis C Kaprara A Papadimas I Goulis DG tulakhm 2015 The Sertoli cell Novel clinical potentiality Hormones 14 4 504 14 doi 10 14310 horm 2002 1648 PMID 26859601 Schulz RW de Franca LR Lareyre JJ Le Gac F LeGac F Chiarini Garcia H Nobrega RH Miura T kumphaphnth 2010 Spermatogenesis in fish General and Comparative Endocrinology 165 3 390 411 doi 10 1016 j ygcen 2009 02 013 PMID 19348807 Morais RD Nobrega RH Gomez Gonzalez NE Schmidt R Bogerd J Franca LR Schulz RW phvscikayn 2013 Thyroid hormone stimulates the proliferation of Sertoli cells and single type A spermatogonia in adult zebrafish Danio rerio testis Endocrinology 154 11 4365 76 doi 10 1210 en 2013 1308 PMID 24002037 Lacerda SM Costa GM Campos Junior PH Segatelli TM Yazawa R Takeuchi Y Morita T Yoshizaki G Franca LR kumphaphnth 2013 Germ cell transplantation as a potential biotechnological approach to fish reproduction Fish Physiology and Biochemistry 39 1 3 11 doi 10 1007 s10695 012 9606 4 PMID 22290474 S2CID 10134737 Almeida FF Kristoffersen C Taranger GL Schulz RW mkrakhm 2008 Spermatogenesis in Atlantic cod Gadus morhua a novel model of cystic germ cell development Biology of Reproduction 78 1 27 34 doi 10 1095 biolreprod 107 063669 PMID 17881768 Mital P Kaur G Bowlin B Paniagua NJ Korbutt GS Dufour JM mkrakhm 2014 Nondividing postpubertal rat sertoli cells resumed proliferation after transplantation Biology of Reproduction 90 1 13 doi 10 1095 biolreprod 113 110197 PMC 4076399 PMID 24285718 synd 518 in Who Named It Luca G Arato I Mancuso F Calvitti M Falabella G Murdolo G Basta G Cameron DF Hansen BC Fallarino F Baroni T Aglietti MC Tortoioli C Bodo M Calafiore R phvscikayn 2016 Xenograft of microencapsulated Sertoli cells restores glucose homeostasis in db db mice with spontaneous diabetes mellitus Xenotransplantation 23 6 429 439 doi 10 1111 xen 12274 PMID 27678013 S2CID 46744082 Valdes Gonzalez RA Dorantes LM Garibay GN Bracho Blanchet E Mendez AJ Davila Perez R Elliott RB Teran L White DJ knyayn 2005 Xenotransplantation of porcine neonatal islets of Langerhans and Sertoli cells a 4 year study European Journal of Endocrinology 153 3 419 27 doi 10 1530 eje 1 01982 PMID 16131605 Korbutt GS Elliott JF Rajotte RV kumphaphnth 1997 Cotransplantation of allogeneic islets with allogeneic testicular cell aggregates allows long term graft survival without systemic immunosuppression Diabetes 46 2 317 22 doi 10 2337 diab 46 2 317 PMID 9000711 Li Y Xue W Liu H Fan P Wang X Ding X Tian X Feng X Pan X Zheng J Tian P Ding C Fan X 20 kumphaphnth 2013 Combined strategy of endothelial cells coating Sertoli cells coculture and infusion improves vascularization and rejection protection of islet graft PLOS ONE 8 2 e56696 Bibcode 2013PLoSO 856696L doi 10 1371 journal pone 0056696 PMC 3577699 PMID 23437215 Bistoni G Calvitti M Mancuso F Arato I Falabella G Cucchia R Fallarino F Becchetti A Baroni T Mazzitelli S Nastruzzi C Bodo M Becchetti E Cameron DF Luca G Calafiore R krkdakhm 2012 Prolongation of skin allograft survival in rats by the transplantation of microencapsulated xenogeneic neonatal porcine Sertoli cells Biomaterials 33 21 5333 40 doi 10 1016 j biomaterials 2012 04 020 PMID 22560198 Hemendinger Richelle Wang Jay Malik Saafan Persinski Rafal Copeland Jane Emerich Dwaine Gores Paul Halberstadt Craig Rosenfeld Jeffrey 2005 Sertoli cells improve survival of motor neurons in SOD1 transgenic mice a model of amyotrophic lateral sclerosis Experimental Neurology 196 2 235 243 doi 10 1016 j expneurol 2005 07 025 PMID 16242126 S2CID 352751 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb esllesxrotli phaphenuxeyuxcak 17805loa xngkvs phaphenuxeyuxcak 17806loa xngkvs