อัตราส่วนครูต่อนักเรียนเป็นจำนวนของนักเรียนที่เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยหารด้วยจำนวนครูในสถาบันการศึกษานั้น ๆ เช่นอัตราส่วน 1:10 ชี้ให้เห็นว่าครูทุก ๆ หนึ่งคนมีนักเรียนในความดูแล 10 คน ศัพท์คำนี้อาจใช้ว่าอัตราส่วนนักเรียนต่อครูก็ได้ อัตราส่วนดังกล่าวถูกใช้ในการกำหนด อย่างไรก็ตามมีปัจจัยจำนวนมากที่ทำให้ขนาดชั้นเรียนแตกต่างกันไป โดยไม่ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนครูต่อนักเรียน และในทางกลับกันอัตราส่วนครูต่อนักเรียนอาจไม่ได้ถูกกำหนดโดยขนาดห้องเรียนเช่นกัน โดยทั่วไปแล้ว อัตราส่วนครูต่อนักเรียนมักต่ำกว่าขนาดโดยเฉลี่ยของห้องเรียน
อัตราส่วนครูต่อนักเรียนมีความแตกต่างกันมากในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ในระดับประถมศึกษา อัตราส่วนนักเรียนต่อครูโดยเฉลี่ยของประเทศสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจต่ำกว่า 16 แต่พิสัยเริ่มจาก 40 ในบราซิล 28 ในเม็กซิโก จนถึง 11 ในฮังการีและลักเซมเบิร์ก
ความสัมพันธ์กับขนาดห้องเรียน
ตัวแปรที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ของอัตราส่วนครูต่อนักเรียนและขนาดห้องเรียนได้แก่ จำนวนครูที่ไม่มีหน้าที่สอน จำนวนชั้นเรียนต่อครูและจำนวนครูต่อชั้นเรียน นอกจากนี้ถ้ามีชั้นเรียนสำหรับนักเรียนกลุ่มเล็ก เช่น ห้องเรียนของผู้เรียนการศึกษาพิเศษหรือภาษาที่สอง อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในสถานศึกษานั้นอาจทำให้เข้าใจผิดได้ว่าต่ำ ทั้งที่ผู้เรียนคนอื่นโดยทั่วไปไม่ได้มีประสบการณ์ของการเรียนที่มีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนต่ำแบบนั้น ยกตัวอย่างเช่น ทั้งปาเลสไตน์และสหรัฐมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนโดยเฉลี่ยเท่ากับ 15 แต่ขนาดห้องเรียนทั้งสองประเทศต่างกัน โดยในสหรัฐขนาดห้องเรียนเท่ากับ 21 คน ส่วนปาเลสไตน์เท่ากับ 27 คน
ภูมิหลัง
อัตราส่วนครูต่อนักเรียนที่ต่ำมักเป็นจุดขายต่อผู้เรียนที่กำลังเลือกสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ในทางกลับกันอัตราส่วนครูต่อนักเรียนที่สูงมักถูกอ้างถึงในการวิจารณ์โรงเรียนที่ขาดแคลนงบประมาณ หรือใช้เป็นหลักฐานเพื่อแสดงความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงกฎหมายหรือเพิ่มงบประมาณสำหรับการจัดการศึกษา
บางรัฐในสหรัฐมีการตรากฎหมายกำหนดอัตราสูงสุดของครูต่อนักเรียนในระดับชั้นเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับ เมื่อมีการกำหนดตัวเลขสำหรับโรงเรียนขึ้น ตัวเลขดังกล่าวจะแทนถึงค่าเฉลี่ย (มัชฌิม) ซึ่งอาจก่อให้เกิดเกิดขึ้นได้ ยกตัวอย่างเช่น หากห้องเรียนที่หนึ่งมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียน 1:30 ส่วนอีกห้องมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนเท่ากับ 1:10 ดังนั้นอัตราส่วนครูต่อนักเรียนของโรงเรียนนี้จึงเท่ากับ 1:20 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความไม่ตรงไปตรงมาของตัวเลขได้ นอกจากนี้ในระดับโรงเรียนใช้อัตราส่วนดังกล่าวในการเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้สอนในโรงเรียน หากในโรงเรียนใดมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนเท่ากับ 1:50 แสดงว่าโรงเรียนนั้นควรเพิ่มจำนวนครูในโรงเรียน ในทางกลับกันหากอัตราส่วนต่ำ โรงเรียนอาจรวมห้องเรียนหรือปลดครูออกได้ และในกรณีที่อัตราส่วนต่ำที่สุด โรงเรียนอาจปิดตัวลงได้
อาจส่งผลเสียต่อการศึกษา เนื่องจากการมีนักเรียนจำนวนมากย่อมหมายถึงนักเรียนที่หลากหลายมากและมีศักยภาพในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน อันนำไปสู่การที่ผู้สอนต้องใช้เวลากับนักเรียนที่มีความสามารถทางวิชาการต่ำให้ซึมซับข้อมูล ทั้งที่สามารถนำเวลาไปใช้ในการเรียนเนื้อหาเพิ่มเติมต่อเนื่องตามที่หลักสูตรกำหนด ด้วยเหตุนี้อัตราส่วนครูต่อนักเรียนจึงกลายเป็นข้อโต้แย้งที่น่าใจสำหรับห้องเรียนระดับสูงหรือห้องเรียนแผนการเรียนเกียรตินิยม
ข้อถกเถียง
แหล่งข้อมูลจำนวนมากอภิปรายว่าอัตราส่วนครูต่อนักเรียนที่ต่ำมักเหมาะสมในการสอนนักเรียนในรายวิชาที่ซับซ้อนอย่าง ฟิสิกส์, คณิตศาสตร์และเคมีมากกว่าที่ที่มีอัตรา่สวนครูต่อนักเรียนที่สูง ในสหรัฐ โรงเรียนที่มีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนต่ำมีความเฉพาะตัวมากกว่า, มีนักเรียนผิวขาวจำนวนมากและตั้งอยู่นอกพื้นที่เมืองชั้นใน หรือเป็นสถาบันการศึกษาที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (สถานศึกษาเอกชน)
ข้อโต้แย้งและการโต้เถียงจำนวนมากเกี่ยวกับเงินสนับสนุนและอัตราส่วนครูต่อนักเรียนเป็นรากฐานของการศึกษาและอภิปรายจำนวนมาก มุมมองหนึ่งมองว่า
นักวิเคราะห์จำนวนมากค้นพบว่าทรัพยากรทางการศึกษาที่เพิ่มเข้ามาเป็นพิเศษมีบทบาทเล็กน้อยต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในขณะที่เด็กอยู่ในโรงเรียน ทว่านักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากได้รวบรวมข้อมูลแสดงถึงนักเรียนที่เข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพ เมื่อเติบโตขึ้นมาจะประสบความสำเร็จในตลาดงานมากกว่านักเรียนที่เข้าศึกษาในสถานศึกษาที่ทรัพยากรมีจำกัด ตัวอย่างเช่น เด็กที่เข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนต่ำและผู้สอนมีระดับการศึกษาที่สูงกว่า เด็กกลุ่มนั้นจะมีรายได้สูงกว่าเมื่อเป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็กที่ศึกษาในสถานศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์
ห้องเรียนขนาดเล็กกว่าถูกเชื่ออย่างกว้างขวางว่าจะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนทุกคน เนื่องจากการได้รับความสนใจจากผู้สอนเป็นรายบุคคล และอัตราส่วนครูต่อนักเรียนที่ต่ำจะให้ประโยชน์มากขึ้นในระดับมัธยมศึกษา จากการที่ระดับของเนื้อหามีความท้าทายมากยิ่งขึ้น นักเรียนในชั้นเรียนขนาดใหญ่กว่ามักหลุดลอยหรือลืมภาระงานนั้นไป เพราะครูจะเน้นจัดการเรียนการสอนให้กับทั้งชั้นเรียนมากกว่าที่จะให้ความสนใจเป็นรายบุคคล นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำจะได้ผลกระทบเป็นอย่างมากจากห้องเรียนลักษณะนี้
นักเรียนมีข้อได้เปรียบในระดับชั้นที่สูงขึ้นจากการเรียนในห้องเรียนขนาดเล็กในระดับชั้นต้น ๆ การอยู่ในห้องเรียนขนาดเล็กเป็นเวลานานกว่าส่งผลให้เพิ่มโอกาสประสบความสำเร็จทางวิชาการในระดับที่สูงขึ้น ในวิชาการอ่านและวิทยาศาสตร์ ผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำจะได้ประโยชน์มากกว่าจากการอยู่ในห้องเรียนขนาดเล็ก ประโยชน์ที่ได้จากขนาดห้องเรียนที่เล็กคือการช่วยลดช่องว่างของผลสัมฤทธิ์ทางด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นที่สูงขึ้น ในทางตรงกันข้าม ประเทศเอเชียตะวันออก เช่น ญี่ปุ่น ห้องเรียนขนาดใหญ่จะมีคุณค่าในแง่ที่ว่าเป็นโอกาสให้เด็กได้มีโอกาสใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์เป็นกลุ่มระหว่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับชั้นต้น ๆ และหากเจาะจงลงไปคือในระดับเตรียมอนุบาล
ดูเพิ่ม
งานอ้างอิง
- OECD (2014). Education at a Glance: OECD Economic Indicators. ISBN .
อ้างอิง
- Henshaw, John M. (2006). Does Measurement Measure Up?: How Numbers Reveal and Conceal the Truth. pp. 45–46. ISBN .
- Smith, Robert B (2011). Multilevel Modeling of Social Problems: A Causal Perspective. p. 37. ISBN .
- OECD 2014, p. 447.
- Henshaw 2006, p. 46.
- ; (1996). "School Quality and the Return to Education". ใน (บ.ก.). Does money matter?: the effect of school resources on student achievement and adult success. Washington, D.C.: . pp. 118–119. ISBN .
- Blatchford, Peter; Bassett, Paul; Brown, Penelope (2011). "Examining the effect of class size on classroom engagement and teacher—pupil interaction: Differences in relation to pupil prior attainment and primary vs. secondary schools" (PDF). Learning and Instruction. 21 (6): 715–30. doi:10.1016/j.learninstruc.2011.04.001.
- Konstantopoulos, Spyros; Chung, Vicki (2009). "What Are the Long-Term Effects of Small Classes on the Achievement Gap? Evidence from the Lasting Benefits Study" (PDF). American Journal of Education. 116 (1): 125–54. 10.1.1.526.7513. doi:10.1086/605103.
- Tobin, Joseph J., Yeh Hsueh, Mayumi Karasawa (2009). Preschool in three cultures revisited: China, Japan, and the United States, pp. 95-156. Chicago: University of Chicago Press
แหล่งข้อมูลอื่น
- UNESCO Institute of Statistics (teacher-student ratio information by age group for approximately 175 countries)
- Fact Sheets on Class Size from classsizematters.org
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xtraswnkhrutxnkeriynepncanwnkhxngnkeriynthiekharbkarsuksainorngeriynhruxmhawithyalyhardwycanwnkhruinsthabnkarsuksann echnxtraswn 1 10 chiihehnwakhruthuk hnungkhnminkeriyninkhwamduael 10 khn sphthkhanixacichwaxtraswnnkeriyntxkhrukid xtraswndngklawthukichinkarkahnd xyangirktammipccycanwnmakthithaihkhnadchneriynaetktangknip odyimkhunxyukbxtraswnkhrutxnkeriyn aelainthangklbknxtraswnkhrutxnkeriynxacimidthukkahndodykhnadhxngeriynechnkn odythwipaelw xtraswnkhrutxnkeriynmktakwakhnadodyechliykhxnghxngeriyn xtraswnkhrutxnkeriynmikhwamaetktangknmakinklumpraethsphthnaaelw inradbprathmsuksa xtraswnnkeriyntxkhruodyechliykhxngpraethssmachikxngkhkarephuxkhwamrwmmuxaelakarphthnathangesrsthkictakwa 16 aetphisyerimcak 40 inbrasil 28 inemksiok cnthung 11 inhngkariaelalkesmebirkkhwamsmphnthkbkhnadhxngeriyntwaeprthisngphltxkhwamsmphnthkhxngxtraswnkhrutxnkeriynaelakhnadhxngeriynidaek canwnkhruthiimmihnathisxn canwnchneriyntxkhruaelacanwnkhrutxchneriyn nxkcaknithamichneriynsahrbnkeriynklumelk echn hxngeriynkhxngphueriynkarsuksaphiesshruxphasathisxng xtraswnkhrutxnkeriyninsthansuksannxacthaihekhaicphididwata thngthiphueriynkhnxunodythwipimidmiprasbkarnkhxngkareriynthimixtraswnkhrutxnkeriyntaaebbnn yktwxyangechn thngpaelsitnaelashrthmixtraswnkhrutxnkeriynodyechliyethakb 15 aetkhnadhxngeriynthngsxngpraethstangkn odyinshrthkhnadhxngeriynethakb 21 khn swnpaelsitnethakb 27 khnphumihlngxtraswnkhrutxnkeriynthitamkepncudkhaytxphueriynthikalngeluxksthansuksaradbxudmsuksa inthangklbknxtraswnkhrutxnkeriynthisungmkthukxangthunginkarwicarnorngeriynthikhadaekhlnngbpraman hruxichepnhlkthanephuxaesdngkhwamcaepnkhxngkarepliynaeplngkdhmayhruxephimngbpramansahrbkarcdkarsuksa bangrthinshrthmikartrakdhmaykahndxtrasungsudkhxngkhrutxnkeriyninradbchnechphaa odyechphaaxyangyinginradb emuxmikarkahndtwelkhsahrborngeriynkhun twelkhdngklawcaaethnthungkhaechliy mchchim sungxackxihekidekidkhunid yktwxyangechn hakhxngeriynthihnungmixtraswnkhrutxnkeriyn 1 30 swnxikhxngmixtraswnkhrutxnkeriynethakb 1 10 dngnnxtraswnkhrutxnkeriynkhxngorngeriynnicungethakb 1 20 sungaesdngihehnthungkhwamimtrngiptrngmakhxngtwelkhid nxkcakniinradborngeriynichxtraswndngklawinkarepliynaeplngcanwnphusxninorngeriyn hakinorngeriynidmixtraswnkhrutxnkeriynethakb 1 50 aesdngwaorngeriynnnkhwrephimcanwnkhruinorngeriyn inthangklbknhakxtraswnta orngeriynxacrwmhxngeriynhruxpldkhruxxkid aelainkrnithixtraswntathisud orngeriynxacpidtwlngid xacsngphlesiytxkarsuksa enuxngcakkarminkeriyncanwnmakyxmhmaythungnkeriynthihlakhlaymakaelamiskyphaphinkareriynruthiaetktangkn xnnaipsukarthiphusxntxngichewlakbnkeriynthimikhwamsamarththangwichakartaihsumsbkhxmul thngthisamarthnaewlaipichinkareriynenuxhaephimetimtxenuxngtamthihlksutrkahnd dwyehtunixtraswnkhrutxnkeriyncungklayepnkhxotaeyngthinaicsahrbhxngeriynradbsunghruxhxngeriynaephnkareriynekiyrtiniymkhxthkethiyngaehlngkhxmulcanwnmakxphipraywaxtraswnkhrutxnkeriynthitamkehmaasminkarsxnnkeriyninraywichathisbsxnxyang fisiks khnitsastraelaekhmimakkwathithimixtraswnkhrutxnkeriynthisung inshrth orngeriynthimixtraswnkhrutxnkeriyntamikhwamechphaatwmakkwa minkeriynphiwkhawcanwnmakaelatngxyunxkphunthiemuxngchnin hruxepnsthabnkarsuksathitxngesiykhaichcay sthansuksaexkchn khxotaeyngaelakarotethiyngcanwnmakekiywkbenginsnbsnunaelaxtraswnkhrutxnkeriynepnrakthankhxngkarsuksaaelaxphipraycanwnmak mummxnghnungmxngwa nkwiekhraahcanwnmakkhnphbwathrphyakrthangkarsuksathiephimekhamaepnphiessmibthbathelknxytxkarphthnaphlsmvththithangkareriyninkhnathiedkxyuinorngeriyn thwankesrsthsastrcanwnmakidrwbrwmkhxmulaesdngthungnkeriynthiekhaeriyninsthansuksathimikhunphaph emuxetibotkhunmacaprasbkhwamsaercintladnganmakkwankeriynthiekhasuksainsthansuksathithrphyakrmicakd twxyangechn edkthiekhaeriyninsthansuksathimixtraswnkhrutxnkeriyntaaelaphusxnmiradbkarsuksathisungkwa edkklumnncamirayidsungkwaemuxepnphuihymakkwaedkthisuksainsthansuksathikhadaekhlnthunthrphy khwamsmphnthrahwangkhnadhxngeriynaelakhwamsamarthinkarxancakaebbthdsxbkarxankhxngnkeriynekrd 4 aela 8 inshrth hxngeriynkhnadelkkwathukechuxxyangkwangkhwangwacaepnpraoychnaeknkeriynthukkhn enuxngcakkaridrbkhwamsniccakphusxnepnraybukhkhl aelaxtraswnkhrutxnkeriynthitacaihpraoychnmakkhuninradbmthymsuksa cakkarthiradbkhxngenuxhamikhwamthathaymakyingkhun nkeriyninchneriynkhnadihykwamkhludlxyhruxlumpharangannnip ephraakhrucaenncdkareriynkarsxnihkbthngchneriynmakkwathicaihkhwamsnicepnraybukhkhl nkeriynthimiphlsmvththitacaidphlkrathbepnxyangmakcakhxngeriynlksnani nkeriynmikhxidepriybinradbchnthisungkhuncakkareriyninhxngeriynkhnadelkinradbchntn karxyuinhxngeriynkhnadelkepnewlanankwasngphlihephimoxkasprasbkhwamsaercthangwichakarinradbthisungkhun inwichakarxanaelawithyasastr phuthimiphlsmvththitacaidpraoychnmakkwacakkarxyuinhxngeriynkhnadelk praoychnthiidcakkhnadhxngeriynthielkkhuxkarchwyldchxngwangkhxngphlsmvththithangdankarxanaelawithyasastrinradbchnthisungkhun inthangtrngknkham praethsexechiytawnxxk echn yipun hxngeriynkhnadihycamikhunkhainaengthiwaepnoxkasihedkidmioxkasiklchidaelamiptismphnthepnklumrahwangkn odyechphaaxyangyinginradbchntn aelahakecaacnglngipkhuxinradbetriymxnubalduephimnganxangxingOECD 2014 Education at a Glance OECD Economic Indicators ISBN 9789264215054 xangxingHenshaw John M 2006 Does Measurement Measure Up How Numbers Reveal and Conceal the Truth pp 45 46 ISBN 9780801883750 Smith Robert B 2011 Multilevel Modeling of Social Problems A Causal Perspective p 37 ISBN 9789048198559 OECD 2014 p 447 Henshaw 2006 p 46 1996 School Quality and the Return to Education in b k Does money matter the effect of school resources on student achievement and adult success Washington D C pp 118 119 ISBN 978 0 8157 1274 9 Blatchford Peter Bassett Paul Brown Penelope 2011 Examining the effect of class size on classroom engagement and teacher pupil interaction Differences in relation to pupil prior attainment and primary vs secondary schools PDF Learning and Instruction 21 6 715 30 doi 10 1016 j learninstruc 2011 04 001 Konstantopoulos Spyros Chung Vicki 2009 What Are the Long Term Effects of Small Classes on the Achievement Gap Evidence from the Lasting Benefits Study PDF American Journal of Education 116 1 125 54 10 1 1 526 7513 doi 10 1086 605103 Tobin Joseph J Yeh Hsueh Mayumi Karasawa 2009 Preschool in three cultures revisited China Japan and the United States pp 95 156 Chicago University of Chicago PressaehlngkhxmulxunUNESCO Institute of Statistics teacher student ratio information by age group for approximately 175 countries Fact Sheets on Class Size from classsizematters org