อัญรูป (อังกฤษ: allotropy หรือ allotropism;กรีก: αλλος (allos), หรือ τροπος (tropos)) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธาตุเคมี ในธาตุหนึ่ง ๆ สามารถมีรูปแบบสองรูปแบบหรือมากกว่า หรือที่รู้จักกันในชื่อ อัญรูป ของธาตุนั้น ๆ ในแต่ละอัญรูป อะตอมของธาตุมีพันธะเคมีเชื่อมต่อกันในรูปแบบที่ต่างกัน มีโครงสร้างต่างกันไป อัญรูปนั้นไม่ใช่ไอโซเมอร์ที่เป็น สารประกอบ ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน
ตัวอย่างเช่น, คาร์บอนมี 2 อัญรูป: เพชรที่คาร์บอนอะตอมเชื่อมกันในรูปหกเหลี่ยมทรงสี่หน้าและแกรไฟต์ที่คาร์บอนอะตอมเชื่อมกันในรูปแผ่นตาข่ายหกเหลี่ยม
อัญรูปหมายถึงความแตกต่างทางโครงสร้างในสถานะเดียวกันเท่านั้น (คือรูปแบบของแข็ง, ของเหลว หรือ แก๊ส) - การเปลี่ยนสถานะไม่ถือเป็นอัญรูป สำหรับในบางธาตุอัญรูปมีสูตรโมเลกุลต่างกันนั้น สามารถคงอัญรูปได้เมื่อเปลี่ยนสถานะ เช่น อัญรูป 2 อัญรูปของออกซิเจน (ไดออกซิเจน, O2 และโอโซน, O3), ทั้งคู่มีสูตรโมเลกุลเหมือนเดิมทั้งในสภาวะของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ตรงกันข้าม ในบางธาตุไม่สามารถคงอัญรูปได้เมื่อเปลี่ยนสถานะ เช่น ฟอสฟอรัสมีอัญรูปมากมายในสถานะของแข็ง แต่จะกลายเป็นรูปแบบ P4 เหมือนกันทั้งหมดเมื่อละลายกลายเป็นของเหลว และยังมีอัญรูปที่สำคัญคือ อัญรูปของกำมะถันซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็นS8 แบ่งออกเป็น กำมะถันรอมบิก และกำมะถันมอนอคลินิก
อ้างอิง
- Allotrope in IUPAC Compendium of Chemical Terminology, Electronic/ version, http://goldbook.iupac.org/A00243.html. Accessed March 2007.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xyrup xngkvs allotropy hrux allotropism krik allos allos hrux tropos tropos epnsingthimixyuinthatuekhmi inthatuhnung samarthmirupaebbsxngrupaebbhruxmakkwa hruxthiruckkninchux xyrup khxngthatunn inaetlaxyrup xatxmkhxngthatumiphnthaekhmiechuxmtxkninrupaebbthitangkn miokhrngsrangtangknip xyrupnnimichixosemxrthiepn sarprakxb thimisutromelkulehmuxnkn aetmisutrokhrngsrangtangknephchraelaaekriftepnxyrupkhxngkharbxn sungepnthatuediywknaetokhrngsrangtangkn twxyangechn kharbxnmi 2 xyrup ephchrthikharbxnxatxmechuxmkninruphkehliymthrngsihnaaelaaekriftthikharbxnxatxmechuxmkninrupaephntakhayhkehliym xyruphmaythungkhwamaetktangthangokhrngsranginsthanaediywknethann khuxrupaebbkhxngaekhng khxngehlw hrux aeks karepliynsthanaimthuxepnxyrup sahrbinbangthatuxyrupmisutromelkultangknnn samarthkhngxyrupidemuxepliynsthana echn xyrup 2 xyrupkhxngxxksiecn idxxksiecn O2 aelaoxosn O3 thngkhumisutromelkulehmuxnedimthnginsphawakhxngaekhng khxngehlw hruxaeks trngknkham inbangthatuimsamarthkhngxyrupidemuxepliynsthana echn fxsfxrsmixyrupmakmayinsthanakhxngaekhng aetcaklayepnrupaebb P4 ehmuxnknthnghmdemuxlalayklayepnkhxngehlw aelayngmixyrupthisakhykhux xyrupkhxngkamathnsungmisutromelkulepnS8 aebngxxkepn kamathnrxmbik aelakamathnmxnxkhlinikxangxingAllotrope in IUPAC Compendium of Chemical Terminology Electronic version http goldbook iupac org A00243 html Accessed March 2007 aehlngkhxmulxunhttp www physics uoguelph ca summer scor articles scor40 htm 2009 04 12 thi ewyaebkaemchchin