ออตโต สเติร์น หรือออทโท ชแตร์น (Otto Stern, 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2431 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน-เยอรมัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี พ.ศ. 2486 รู้จักกันในฐานะผู้ร่วมสร้างสรรค์การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค ร่วมกับ
Otto Stern ออทโท ชแตร์น | |
---|---|
เกิด | 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2431 โซเรา ราชอาณาจักรปรัสเซีย (ชอรือ ประเทศโปแลนด์ในปัจจุบัน) |
เสียชีวิต | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2512 (81 ปี) , สหรัฐอเมริกา |
สัญชาติ | เยอรมัน |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | การทดลองของสเติร์น-เกอร์แลค การแบ่งส่วนของสปิน (Stern–Volmer relationship) |
รางวัล | รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (พ.ศ. 2486) |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ฟิสิกส์ |
สถาบันที่ทำงาน | มหาวิทยาลัยฮัมบวร์ค มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบิร์กลีย์ |
สเติร์นเกิดในครอบครัวชาวยิว เป็นบุตรของออสการ์ (Oskar Stern) ชแตร์น และยูเฌเนีย ชแตร์น (Eugenia Stern) (นามสกุลเดิม โรเซินทัล (Rosenthal)) ที่เมืองโซเรา ราชอาณาจักรปรัสเซีย (ปัจจุบันคือชอรือ ประเทศโปแลนด์) เขาศึกษาที่ไฟรบวร์คอิมไบรส์เกา และที่ โดยทำงานร่วมกับออทโท ซัคคัวร์ (Otto Sackur) ในหัวข้อทฤษฎีจลน์ของในสารละลายเข้มข้น ต่อมาสเติร์นทำงานร่วมกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (หรืออัลแบร์ท ไอน์ชไตน์) ที่มหาวิทยาลัยคาร์ลอวา (หรือชาลส์) ณ กรุงปราก ครั้นปี พ.ศ. 2456 สเติร์นย้ายไปทำงานที่เอเทฮา ซือริช ณ เมืองซือริช (หรือซูริก) เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเริ่มต้น สเติร์นทำงานด้านอุตุนิยมวิทยาในแนวหน้าติดรัสเซีย ในขณะที่ศึกษาต่อ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2458 เขาเข้าเป็นอาจารย์ประจำที่มหาวิทยาลัยฟรังค์ฟวร์ท (หรือแฟรงก์เฟิร์ต) หกปีต่อมา เขาได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยรอสตอคและทำงานเป็นเวลาสองปี ก่อนจะไปเป็นผู้อำนวยการสถาบันเคมีเชิงฟิสิกส์ ณ มหาวิทยาลัยฮัมบวร์ค
ชีวิตการงานของสเติร์นราบรื่นมาเป็นเวลาหลายปี ตราบจน พ.ศ. 2476 พรรคนาซีเข้ายึดอำนาจและพยายามสังหารชาวยิว เขาและไอน์สไตน์ได้ลี้ภัยออกนอกประเทศเยอรมนี โดยสเติร์นปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์สาขาฟิสิกส์ที่สถาบันเทคโนโลยีคาร์เนกี (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน เมืองพิตต์สเบิร์ก สหรัฐ) และได้มีโอกาสเป็นศาสตราภิชาน (อาจารย์รับเชิญ) ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบิร์กลีย์ด้วย ครั้นลาออกจากสถาบันเทคโนโลยีฯ แล้ว ได้ย้ายไปพำนักที่เมือง รัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อนถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2512 ด้วยโรคหัวใจล้มเหลว
สเติร์นเป็นนักฟิสิกส์สายทดลอง เข้าค้นพบการมีอยู่ของสปินโดยการทดลองซึ่งใช้แท่งแม่เหล็กรูปร่างไม่เหมือนกันเพื่อสร้างสนามแม่เหล็กไม่สม่ำเสมอ กล่าวคือ ทิศทางไม่เป็นไปในทางเดียวกัน เมื่อยิงลำอะตอมเงิน พบว่า อะตอมเงินชนกับฉากเป็นแนวเส้นสองเส้น เนื่องจากอะตอมมีสมบัติเป็นวงกระแสไฟฟ้าในตัว (นอกเหนือจากเป็นโมเมนตัมเชิงมุม) เมื่อมีสนามแม่เหล็กภายนอกมากระทำในทิศทางไม่ตั้งฉากกับวงกระแสไฟฟ้า ก็จะทำให้เกิดทอร์ก เบี่ยงทิศทางของการเอียงของอะตอมไป ฟิสิกส์แบบฉบับคาดการณ์ว่า อะตอมจะชนกับฉากในตำแหน่งใดก็ได้ แต่พบว่า อะตอมชนกับฉากเป็นสองเส้น ต่อมาจึงมีการกำหนดสมบัติความเป็นวงกระแสไฟฟ้าของอะตอมว่า สปิน โดยกำหนดให้ (ซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์มีค่าเท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับพื้นที่ของวงวนกระแส ทิศทางตามนิ้วหัวแม่มือขวาที่กำตามทิศของกระแส) ของอะตอม มีค่าเท่ากับ
อ้างอิง
- Stern, Otto (1943). "The Nobel Prize in Physics 1943". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ 2018-05-23.
- "Otto Stern" (PDF). National Academy of Sciences. สืบค้นเมื่อ 16 October 2017.
- Stern-Gerlach Experiment
- & Otto Stern, "Das magnetische Moment des Silberatoms", Zeitschrift für Physik, V9, N1, pp. 353–355 (1922).
- Friedrich, Bretislav; Herschbach Dudley (December 2003). . Physics Today. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2007. สืบค้นเมื่อ 7 October 2007.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xxtot setirn hruxxxthoth chaetrn Otto Stern 17 kumphaphnth ph s 2431 17 singhakhm ph s 2512 epnnkfisikschawxemrikn eyxrmn phuidrbrangwloneblsakhafisikspracapi ph s 2486 ruckkninthanaphurwmsrangsrrkhkarthdlxngkhxngsetirn ekxraelkh rwmkbOtto Stern xxthoth chaetrnekid17 kumphaphnth ph s 2431 osera rachxanackrprsesiy chxrux praethsopaelndinpccubn esiychiwit17 singhakhm ph s 2512 81 pi shrthxemrikasychatieyxrmnsisyekamichuxesiyngcakkarthdlxngkhxngsetirn ekxraelkh karaebngswnkhxngspin Stern Volmer relationship rangwlrangwloneblsakhafisiks ph s 2486 xachiphthangwithyasastrsakhafisikssthabnthithanganmhawithyalyhmbwrkh mhawithyalykharenkiemllxn mhawithyalyaekhlifxreniyebirkliy setirnekidinkhrxbkhrwchawyiw epnbutrkhxngxxskar Oskar Stern chaetrn aelayuecheniy chaetrn Eugenia Stern namskuledim oresinthl Rosenthal thiemuxngosera rachxanackrprsesiy pccubnkhuxchxrux praethsopaelnd ekhasuksathiifrbwrkhximibrseka aelathi odythanganrwmkbxxthoth skhkhwr Otto Sackur inhwkhxthvsdiclnkhxnginsarlalayekhmkhn txmasetirnthanganrwmkbxlebirt ixnsitn hruxxlaebrth ixnchitn thimhawithyalykharlxwa hruxchals n krungprak khrnpi ph s 2456 setirnyayipthanganthiexethha suxrich n emuxngsuxrich hruxsurik emuxsngkhramolkkhrngthihnungerimtn setirnthangandanxutuniymwithyainaenwhnatidrsesiy inkhnathisuksatx cnkrathnginpi ph s 2458 ekhaekhaepnxacarypracathimhawithyalyfrngkhfwrth hruxaefrngkefirt hkpitxma ekhaidrbtaaehnngsastracarythimhawithyalyrxstxkhaelathanganepnewlasxngpi kxncaipepnphuxanwykarsthabnekhmiechingfisiks n mhawithyalyhmbwrkh chiwitkarngankhxngsetirnrabrunmaepnewlahlaypi trabcn ph s 2476 phrrkhnasiekhayudxanacaelaphyayamsngharchawyiw ekhaaelaixnsitnidliphyxxknxkpraethseyxrmni odysetirnptibtihnathiepnxacarysakhafisiksthisthabnethkhonolyikharenki pccubnkhux mhawithyalykharenkiemllxn emuxngphittsebirk shrth aelaidmioxkasepnsastraphichan xacaryrbechiy thimhawithyalyaekhlifxreniyebirkliydwy khrnlaxxkcaksthabnethkhonolyi aelw idyayipphankthiemuxng rthaekhlifxreniy kxnthungaekkrrminpi ph s 2512 dwyorkhhwiclmehlw setirnepnnkfisikssaythdlxng ekhakhnphbkarmixyukhxngspinodykarthdlxngsungichaethngaemehlkruprangimehmuxnknephuxsrangsnamaemehlkimsmaesmx klawkhux thisthangimepnipinthangediywkn emuxyinglaxatxmengin phbwa xatxmenginchnkbchakepnaenwesnsxngesn enuxngcakxatxmmismbtiepnwngkraaesiffaintw nxkehnuxcakepnomemntmechingmum emuxmisnamaemehlkphaynxkmakrathainthisthangimtngchakkbwngkraaesiffa kcathaihekidthxrk ebiyngthisthangkhxngkarexiyngkhxngxatxmip fisiksaebbchbbkhadkarnwa xatxmcachnkbchakintaaehnngidkid aetphbwa xatxmchnkbchakepnsxngesn txmacungmikarkahndsmbtikhwamepnwngkraaesiffakhxngxatxmwa spin odykahndih sungepnprimanewketxrmikhaethakbphlkhunkhxngkraaesiffakbphunthikhxngwngwnkraaes thisthangtamniwhwaemmuxkhwathikatamthiskhxngkraaes khxngxatxm mikhaethakbxangxingStern Otto 1943 The Nobel Prize in Physics 1943 Nobelprize org subkhnemux 2018 05 23 Otto Stern PDF National Academy of Sciences subkhnemux 16 October 2017 Stern Gerlach Experiment amp Otto Stern Das magnetische Moment des Silberatoms Zeitschrift fur Physik V9 N1 pp 353 355 1922 Friedrich Bretislav Herschbach Dudley December 2003 Physics Today khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 29 September 2007 subkhnemux 7 October 2007