ออกญากรมไวย เป็นหัวหน้าทหารอาสาญี่ปุ่นและขุนนาง ถูกประหารด้วยข้อหากบฏ ครั้นสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมขึ้นครองราชย์
ปูมหลัง
กบฎญี่ปุ่น เกิดขึ้นสมัยพระเจ้าทรงธรรม เมื่อ พ.ศ. 2155 มีชาวต่างชาติเข้ามาทำการค้าขายเป็นจำนวนมาก สมัยอยุธยาตอนต้นถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ปรากฏมีพ่อค้าชาวเอเชียเข้ามาตั้งร้านค้าขายอยู่ในกรุงศรีอยุธยา ทั้งจีน อินเดีย อาหรับ มลายู ขอม ลาว พม่า มอญ จาม ชวา
ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ชาวยุโรปเริ่มเข้ามาติดต่อสัมพันธ์ เป็นที่ทราบกันว่า ยุโรปชาติแรกที่เข้ามาคือ โปรตุเกส ตามมาด้วยฮอลันดาในสมัยสมเด็จพระนเรศวร และสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทำการเปิดสถานีการค้าเป็นครั้งแรก ก่อนจะปิดลงชั่วคราวในสมัยพระเจ้าทรงธรรม
โดยการเข้ามาของชาวต่างชาติเป็นจำนวนมาก นอกจากกรุงศรีอยุธยาจะได้ประโยชน์ทางพาณิชย์ และการค้าขายแลกเปลี่ยน อยุธยายังได้รับวิทยาการสมัยใหม่อีกมากมาย นอกจากนี้ อยุธยายังตั้งชาวต่างชาติเป็นขุนนางฝ่ายชำนาญการ ซึ่งจะทวีบทบาทในราชสำนัก นำสู่การเกิด “กบฏต่างชาติ” ในเวลาต่อมา รวมทั้งเกิดกองทหารอาสาจากชาติต่าง ๆ เช่น ทหารอาสาฝรั่งเศส ทหารอาสามอญ ทหารอาสาญี่ปุ่น เป็นต้น ญี่ปุ่นได้เข้ามาติดต่อทางการทูตกับอยุธยาอย่างเป็นทางการในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ แต่ก่อนหน้านี้เชื่อว่า คงมีกลุ่มพ่อค้าญี่ปุ่นเข้ามาทำการค้าขาย
พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ได้บันทึกช่วงแรกของการเป็นกษัตริย์ของพระเจ้าทรงธรรม ซึ่งเกิดความวุ่นวายจากเหตุการณ์กบฏญี่ปุ่นเอาไว้ว่า
“ครั้งนั้นญี่ปุ่นเข้ามาค้าขายหลายลำ ญี่ปุ่นโกรธว่าเสนาบดีมิได้เป็นธรรม คบคิดเข้าด้วยพระพิมลฆ่าพระมหากษัตริย์เสีย ญี่ปุ่นคุมกันได้ประมาณ 500 ยกเข้ามาในท้องสนามหลวง คอยจะกุมเอาพระเจ้าอยู่หัว อันเสด็จออกมาฟังพระสงฆ์บอกหนังสือ ณ พระที่นั่งจอมทองสามหลังขณะนั้นพอพระสงฆ์วัดประดู่โรงธรรมเข้ามา 8 รูป พาเอาพระองค์เสด็จออกมาต่อหน้านี้ญี่ปุ่น ครั้นพระสงฆ์พาเสด็จไปแล้วญี่ปุ่นร้องอื้ออึงขึ้นว่า จะกุมเอาพระองค์แล้วเป็นไรจึงนิ่งเสียเล่า ญี่ปุ่นทุ่มเถียงเป็นโกลาหล ฝ่ายพระมหาอำมาตย์คุมพลได้ แลไล่รบญี่ปุ่นล้มตายเป็นอันมาก ญี่ปุ่นแตกไปจากพระราชวังลงสำเภาหนี”
เหตุการณ์ประหาร
เอกสารของตุรแปง ระบุว่า
“ตอนปลายรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ ออกญากรมนายไวย ขุนนางท่านหนึ่งคิดก่อการกบฏ เมื่อสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมขึ้นครองราชย์จึงให้ประหารชีวิตออกญากรมนายไวย การประหารครั้งนั้นทำให้ชาวญี่ปุ่นภายใต้การบังคับบัญชาออกญากรมนายไวยจำนวน 280 คน ไม่พอใจจึงยกพวกพากันเข้าไปในพระราชวัง เข้าคุมตัวพระเจ้าทรงธรรมไว้ จากนั้นก็เรียกร้องให้ส่งตัวข้าราชการผู้ใหญ่ 4 คนที่มีส่วนประหารออกญากรมนายไวย ทางฝ่ายอยุธยายินยอม พวกญี่ปุ่นจึงนำตัวขุนนางทั้ง 4 ไปประหารชีวิต ภายหลังพระเจ้าทรงธรรมทรงเจรจากับพวกญี่ปุ่นเหล่านี้ได้ ทรงอนุญาตให้พวกญี่ปุ่นกลุ่มนี้ออกจากอยุธยา ส่วนพวกญี่ปุ่นขอนำพระสงฆ์จำนวน 3-4 รูปไปเป็นตัวประกันในการออกจากอยุธยา ระหว่างทางพวกญี่ปุ่นอาละวาดปล้นสะดมบ้านเรือนราษฎรฉวยทรัพย์สมบัติไปจำนวนมาก แถมยังกำเริบเข้ายึดเมืองเพชรบุรี แต่ในปีเดียวกัน พระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าฯ ให้ทัพอยุธยายกไปปราบ และขับไล่ชาวญี่ปุ่นออกจากเพชรบุรีได้สำเร็จ”
อ้างอิง
- ""กบฏต่างชาติ" ในกรุงศรีอยุธยา แขก-ญี่ปุ่น บุกรุกถึงวังหลวง". ศิลปวัฒนธรรม.
บรรณานุกรม
- จิตรสิงห์ ปิยะชาติ. กบฏกรุงศรีอยุธยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2562
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xxkyakrmiwy epnhwhnathharxasayipunaelakhunnang thukprahardwykhxhakbt khrnsmedcphraecathrngthrrmkhunkhrxngrachypumhlngkbdyipun ekidkhunsmyphraecathrngthrrm emux ph s 2155 michawtangchatiekhamathakarkhakhayepncanwnmak smyxyuthyatxntnthungsmysmedcphraramathibdithi 2 praktmiphxkhachawexechiyekhamatngrankhakhayxyuinkrungsrixyuthya thngcin xinediy xahrb mlayu khxm law phma mxy cam chwa insmysmedcphraramathibdithi 2 chawyuorperimekhamatidtxsmphnth epnthithrabknwa yuorpchatiaerkthiekhamakhux oprtueks tammadwyhxlndainsmysmedcphranerswr aelasmysmedcphraexkathsrthidthakarepidsthanikarkhaepnkhrngaerk kxncapidlngchwkhrawinsmyphraecathrngthrrm odykarekhamakhxngchawtangchatiepncanwnmak nxkcakkrungsrixyuthyacaidpraoychnthangphanichy aelakarkhakhayaelkepliyn xyuthyayngidrbwithyakarsmyihmxikmakmay nxkcakni xyuthyayngtngchawtangchatiepnkhunnangfaychanaykar sungcathwibthbathinrachsank nasukarekid kbttangchati inewlatxma rwmthngekidkxngthharxasacakchatitang echn thharxasafrngess thharxasamxy thharxasayipun epntn yipunidekhamatidtxthangkarthutkbxyuthyaxyangepnthangkarinsmysmedcphraexkathsrth aetkxnhnaniechuxwa khngmiklumphxkhayipunekhamathakarkhakhay phrarachphngsawdar chbbphncnthnumas ecim idbnthukchwngaerkkhxngkarepnkstriykhxngphraecathrngthrrm sungekidkhwamwunwaycakehtukarnkbtyipunexaiwwa khrngnnyipunekhamakhakhayhlayla yipunokrthwaesnabdimiidepnthrrm khbkhidekhadwyphraphimlkhaphramhakstriyesiy yipunkhumknidpraman 500 ykekhamainthxngsnamhlwng khxycakumexaphraecaxyuhw xnesdcxxkmafngphrasngkhbxkhnngsux n phrathinngcxmthxngsamhlngkhnannphxphrasngkhwdpraduorngthrrmekhama 8 rup phaexaphraxngkhesdcxxkmatxhnaniyipun khrnphrasngkhphaesdcipaelwyipunrxngxuxxungkhunwa cakumexaphraxngkhaelwepnircungningesiyela yipunthumethiyngepnoklahl fayphramhaxamatykhumphlid aelilrbyipunlmtayepnxnmak yipunaetkipcakphrarachwnglngsaephahni ehtukarnpraharexksarkhxngturaepng rabuwa txnplayrchsmysmedcphraexkathsrth xxkyakrmnayiwy khunnangthanhnungkhidkxkarkbt emuxsmedcphraecathrngthrrmkhunkhrxngrachycungihpraharchiwitxxkyakrmnayiwy karpraharkhrngnnthaihchawyipunphayitkarbngkhbbychaxxkyakrmnayiwycanwn 280 khn imphxiccungykphwkphaknekhaipinphrarachwng ekhakhumtwphraecathrngthrrmiw caknnkeriykrxngihsngtwkharachkarphuihy 4 khnthimiswnpraharxxkyakrmnayiwy thangfayxyuthyayinyxm phwkyipuncungnatwkhunnangthng 4 ippraharchiwit phayhlngphraecathrngthrrmthrngecrcakbphwkyipunehlaniid thrngxnuyatihphwkyipunklumnixxkcakxyuthya swnphwkyipunkhxnaphrasngkhcanwn 3 4 rupipepntwprakninkarxxkcakxyuthya rahwangthangphwkyipunxalawadplnsadmbaneruxnrasdrchwythrphysmbtiipcanwnmak aethmyngkaeribekhayudemuxngephchrburi aetinpiediywkn phraecathrngthrrmoprdekla ihthphxyuthyaykipprab aelakhbilchawyipunxxkcakephchrburiidsaerc xangxing kbttangchati inkrungsrixyuthya aekhk yipun bukrukthungwnghlwng silpwthnthrrm brrnanukrmcitrsingh piyachati kbtkrungsrixyuthya phimphkhrngthi 3 nnthburi sripyya 2562