บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) (อังกฤษ: National Astronomical Research Institute of Thailand; NARIT) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทยประเภทองค์การมหาชน สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ภาพรวมหน่วยงาน | |
---|---|
ก่อตั้ง | 1 มกราคม 2552 |
สำนักงานใหญ่ | อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ |
งบประมาณประจำปี | 576.1338 ล้านบาท (พ.ศ. 2563) |
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน |
|
ต้นสังกัดหน่วยงาน | กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม |
เว็บไซต์ | www เฟซบุ๊กสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) |
ประวัติ
20 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ปัจจุบันเป็นกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม) ดำเนินโครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ในรูปแบบองค์การมหาชน เพื่อรองรับนโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดจนการสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์พื้นฐานและการสร้างสังคมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่ประชาชนชาวไทย และนอกจากนี้ เพื่อเฉลิมฉลองในวาระ 200 ปี แห่งการพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์แห่งวิทยาศาสตร์ไทย พ.ศ. 2547 และเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) พระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
15 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติเข้าร่วมเป็นสมาชิกระดับประเทศ (National Membership) ของสหพันธ์ดาราศาสตร์นานาชาติ (International Astronomical Union)
22 ตุลาคม พ.ศ. 2551 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
27 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2551 ขึ้น และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 25 ตอนที่ 138 ก วันที่ 31 ธันวาคม 2551
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) มีผลใช้บังคับ ถือวันเป็นสถาปนา สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หน่วยงานดาราศาสตร์ของชาติ อย่างเป็นทางการ โดยได้เช่าอาคารศิริพานิชเป็นสำนักงานของสถาบัน ก่อนใหญ่มายังอุทยานดาราศาสตร์สิรินธรเมื่อปี พ.ศ. 2563
ผู้อำนวยการ
- รองศาสตรจารย์ (1 มกราคม พ.ศ. 2552 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560)
- ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา (30 มิถุนายน พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน)
สถานที่ในกำกับดูแล
จังหวัดเชียงใหม่
- อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร สำนักงานใหญ่ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (เปิดให้บริการประชาชนตั้งแต่ 27 มกราคม พ.ศ. 2563)
- ศูนย์บริการข้อมูลสารสนเทศ และฝึกอบรมทางดาราศาสตร์ ตั้งอยู่บริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ (กม.31) อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่จัดฝึกอบรมและจัดกิจกรรมทางดาราศาสตร์
- หอดูดาวแห่งชาติ ตั้งอยู่ที่สถานีทวนสัญญาณทีโอที อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ กม. 44.4 อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
- หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์พัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
สดร. ขยายการศึกษาและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งงานวิจัย เทคโนโลยีและวิศวกรรมด้านดาราศาสตร์วิทยุ ภายใต้โครงการพัฒนาเครือข่ายดาราศาสตร์วิทยุและยีออเดซี่ มีแผนดำเนินการสร้าง “หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ” ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถเชิงสังเกตการณ์ด้านคลื่นวิทยุ และกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร เพื่อสร้างงานวิจัยด้านยีออเดซี่และวิทยาศาสตร์บรรยากาศ และยังสามารถเข้าร่วมเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ทางไกล (Very Long Baseline Interferometer: VLBI) เพื่อเชื่อมต่อและร่วมสังเกตการณ์กับเครือข่าย VLBI ของโลก ซึ่งเป็นความร่วมมือกับหลายหน่วยงานในต่างประเทศ เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เยอรมัน อังกฤษ เป็นต้น
สดร. ดำเนินโครงการก่อสร้างหอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา สงขลา ขอนแก่น และพิษณุโลก มีเป้าหมายให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ดาราศาสตร์สำหรับประชาชนและสถานศึกษาในท้องถิ่น สนับสนุนการบริการวิชาการดาราศาสตร์แก่ชุมชน สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา รวมทั้งเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวิชาการที่สำคัญของภูมิภาค
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา นครราชสีมา (เปิดให้บริการตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2557)
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา (เปิดให้บริการตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2561)
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา สงขลา (เปิดให้บริการตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2562)
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา ขอนแก่น (เปิดให้บริการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566)
- หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา พิษณุโลก (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
ต่างประเทศ
สดร. ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4-0.7 เมตร ในต่างประเทศ ณ พื้นที่มีทัศนวิสัยที่เหมาะสมต่อการสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า ควบคุมการทำงานจากระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของวัตถุท้องฟ้าได้ตลอดเวลาทั้งซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ นอกจากนี้ ยังสนับสนุนงานวิจัยระดับโรงเรียนโดย ครู อาจารย์ และนักเรียนอีกด้วย ปัจจุบัน ติดตั้งแล้วเสร็จ 4 แห่ง ได้แก่
- หอดูดาวเซอร์โรโทโลโล อินเตอร์อเมริกัน ประเทศชิลี
- หอดูดาวเกาเหมยกู่ มณฑลยูนนาน ประเทศจีน
- หอดูดาวเซียร่ารีโมท มลรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
- หอดูดาวสปริงบรู๊ค รีเซิร์ช ประเทศออสเตรเลีย
งานวิจัย
สดร. ดำเนินแนวทางการวิจัยใน 4 Key Science Areas ได้แก่ Space Weather and Earth’s Climate, Understanding Physics of the Universe, Exoplanets and Astrobiology, Understanding the Origin of the Cosmos และอื่นๆ ได้แก่ Optics, RF, Data Archive ภายใต้ 5 กลุ่มวิจัยหลัก ดังนี้
- กลุ่มทัศนศาสตร์และเครื่องมือทัศนศาสตร์ขั้นสูง - ศึกษาวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ และเครื่องมือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานกล้องโทรทรรศน์ รวมถึงพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์เชิงแสง ที่ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เที่ยงตรงยิ่งขึ้น เช่น การพัฒนาอุปกรณ์ลดระยะโฟกัส การพัฒนาสเปกโทรกราฟ การสร้างอุปกรณ์ถ่ายภาพดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดาวฤกษ์ และออกแบบพัฒนากล้องโทรทรรศน์ขนาดกลาง เป็นต้น
- กลุ่มดาราศาสตร์วิทยุ - ศึกษาวิจัย และสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นวิทยุ ใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุในการสังเกตการณ์และเก็บข้อมูล เพื่อศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพัลซาร์ หรือดาวนิวตรอนที่หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วสูงมากและแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเป็นจังหวะ
- กลุ่มวิทยาศาสตร์บรรยากาศ - ศึกษาผลกระทบของอวกาศที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเชื่อมโยงระหว่างการเกิดเมฆกับปริมาณรังสีคอสมิกที่วิ่งมาสู่โลก การเกิดละอองลอยปกคลุมท้องฟ้าที่ไม่ได้เกิดจากเผาชีวมวลที่มีผลกระทบต่อการศึกษาดาราศาสตร์ในขณะสังเกตการณ์บนท้องฟ้า ศึกษาถึงผลของสภาพอากาศและละอองลอยต่อชั้นบรรยากาศโลกและดาวเคราะห์
- กลุ่มจักรวาลวิทยาและดาราศาสตร์ทฤษฎี - ศึกษาวิจัยถึงกำหนดของจักรวาล กำเนิดและวิวัฒนาการของดาวดวงแรก การเกิดและวิวัฒนาการของกาแลกซีในยุคแรกของเอกภพ ทำความเข้าใจธรรมชาติของ สสารและปฏิสสาร หลุมดำ พลังงานมืด สสารมืด พัลซาร์ ดาวแปรแสง เควซาร์ และการปลดปล่อยรังสีแกมมาอย่างรุนแรง
- กลุ่มดาราศาสตร์แสง - ศึกษาวิจัย และสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ใช้กล้องโทรทรรศน์แสงในการสังเกตการณ์และเก็บข้อมูล เพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ศึกษาดาวแปรแสง ศึกษาดาวคู่ และวิวัฒนาการของดาว เป็นต้น
ปัจจุบัน มีนักวิจัย 19 คน ผู้ช่วยนักวิจัยของโครงการต่างๆ 23 คน รวมทั้งสิ้น 42 คน มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทั้งในและต่างประเทศจำนวนมาก ค่า Impact Factor เฉลี่ยอยู่ในระดับ 4-5 ในระหว่างปี พ.ศ. 2557-2562 มีนักวิจัย อาจารย์ และนักศึกษา ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ทั้งในและต่างประเทศของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติในการทำวิจัย มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มี Impact factor มากกว่า 4 ทั้งหมด 43 ผลงาน
ตัวอย่าง งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ดังกล่าว คือ “การค้นพบการเกิดดาวเคราะห์คล้ายโลกในระบบดาวฤกษ์ที่เพิ่งเกิดใหม่” ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และ ดร.วิภู รุโจปการ อาจารย์ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้กล้องโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติซีกฟ้าใต้สังเกตการณ์ระบบดาวฤกษ์เกิดใหม่ NGC2547-ID8 ร่วมกับกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ของนาซา ศึกษาพบการระเบิดของฝุ่นรอบดาวฤกษ์ดังกล่าว ที่เกิดจากการชนกันของดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่รอบดาวเคราะห์ การชนกันลักษณะนี้จะนำไปสู่การก่อตัวของดาวเคราะห์ดวงใหม่เช่นเดียวกับการเกิดดาวเคราะห์ในระบบสุริยะของเราในอดีต งานวิจัยนี้ถูกตีพิมพ์ ในวารสาร Science ที่มี Impact Factor สูงถึง 34.66
อีกหนึ่งงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คือการศึกษาชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบ GJ3470b นำโดย ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์ นักวิจัยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ทำการสังเกตการณ์การผ่านหน้าของดาวเคราะห์ GJ3470b ด้วยกล้องโทรทรรศน์ 2.4 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา และกล้องโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติซีกฟ้าใต้ ผลการศึกษาพบว่าชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ GJ3470b มีสีฟ้า และมีธาตุมีเทนเจือปนในชั้นบรรยากาศ นับเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ค้นพบธาตุมีเทนในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบดังกล่าว งานวิจัยนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Monthly Notices of the Royal Astronomical Society มี Impact factor 4.961 นอกจากนี้ผลของงานวิจัยนี้ ร่วมกับงานวิจัยอื่นด้านดาวเคราะห์นอกระบบในระหว่างศึกษาระดับปริญญาเอก ของ ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์ ได้รับการคัดเลือกให้ตีพิมพ์เป็นหนังสือในโครงการ Springer Theses ของสำนักพิมพ์ Springer
การเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก
สดร. ได้รับการยอมรับให้เข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตร์ระดับโลกหลายโครงการ แสดงถึงการยอมรับและศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยในเวทีโลก เข้าร่วมโครงการขนาดใหญ่นี้ของประเทศไทย เป็นการเปิดโอกาสให้คนไทยได้พัฒนาศักยภาพ และสามารถศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร์ระดับแนวหน้าได้ทัดเทียมกับประเทศที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ระดับโลก และมีโอกาสพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงที่ยังไม่เคยมีในประเทศไทย
ตัวอย่าง โครงการวิทยาศาสตร์ระดับโลกที่ สดร. เข้าร่วม มีดังนี้
- การเข้าร่วมโครงการหมู่กล้องโทรทรรศน์รังสีเชเรนคอฟ (Cherenkov Telescope Array: CTA) เป็นความร่วมมือของ 25 ประเทศ มูลค่ารวม 400 ล้านยูโร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา High Energy Astroparticles จะติดตั้งหมู่กล้องโทรทรรศน์รังสีเชเรนคอฟ ณ ประเทศสเปน และชิลี สดร. เข้าร่วมโครงการ CTA ในส่วนการพัฒนาเครื่องเคลือบกระจกสะท้อนแสงของกล้องโทรทรรศน์ จำนวน 6,400 บาน โดยความร่วมมือกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- การเข้าร่วมโครงการ Jiangmen Underground Neutrino Observatory : JUNO ภายใต้สถาบันฟิสิกส์พลังงานสูง สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อสร้างห้องปฏิบัติการศึกษาอนุภาคนิวตริโน มีหน่วยงานร่วมดำเนินการมากกว่า 70 สถาบัน จาก 16 ประเทศทั่วโลก มูลค่ารวม 300 ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศไทยเข้าร่วมในลักษณะการเป็น Consortium ของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับผิดชอบการออกแบบคอยล์แม่เหล็ก เพื่อป้องกันอุปกรณ์รับสัญญาณจากสนามแม่เหล็กโลก
- สดร. เข้าร่วมโครงการ Gravitational-Wave Optical Transient Observer : GOTO ร่วมกับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรและออสเตรเลีย เพื่อติดตั้งกล้องโทรทรรศน์มุมกว้าง ที่สามารถถ่ายภาพวัตถุทั่วท้องฟ้าตลอดเวลาทั้งซีกฟ้าเหนือและซีกฟ้าใต้ เพื่อติดตามวัตถุที่อาจเป็นต้นกำเนิดของคลื่นความโน้มถ่วง เมื่อมีการตรวจวัดเหตุการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยหอสังเกตการณ์ LIGO รวมถึงสามารถใช้ในการสำรวจท้องฟ้า เพื่อค้นหาวัตถุในระบบสุริยะที่ยังไม่เคยมีการค้นพบมาก่อน
ความร่วมมือทางดาราศาสตร์กับหน่วยงานภายในประเทศและต่างประเทศ
สดร. มีบทบาทสำคัญในระดับนานาชาติที่ใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน สร้างความตระหนักและความตื่นตัวทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดโลกการเรียนรู้ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัยได้รับการยอมรับให้เป็นศูนย์ดาราศาสตร์เพื่อการพัฒนาในระดับนานาชาติ 2 ศูนย์ ได้แก่ International Training Center in Astronomy under the Auspices of UNESCO (ITCA) และ Southeast Asia - Regional Office of Astronomy for Development (SEAROAD)
ปัจจุบัน (ปี 2563) มีความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวม 67 ฉบับ (ในประเทศ 33 ฉบับ และต่างประเทศ 34 ฉบับ)
ตัวอย่าง ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เป็นดังนี้
- Max Planck Institute for Radio Astronomy (Germany) ในการสร้างเครื่องรับสัญญาณวิทยุในช่วงคลื่น L-band และ K-band
- Jodrell Bank Center for Astrophysics, University of Manchester (UK) ในการสร้าง Universal backend ซึ่งจะใช้ GPU เป็นตัวประมวลผลแทนแบบเดิม
- Institut d’Optique Graduate School (France) ในการพัฒนาเครื่องมือขั้นสูงทางทัศนศาสตร์
- National Astronomical Observatory of Japan (Japan) ในการทดสอบเพื่อการตรวจรับงานสร้างกล้องโทรทรรศน์วิทยุ
- Polar Research Institute of China, Chinese Academy of Sciences (China) ในการวิจัยดาราศาสตร์ที่ขั้วโลกใต้
- Centre for Astrophysics and Space Science (CASS), CSIRO (Australia) ในความร่วมมือด้านดาราศาสตร์วิทยุ
ภาคีความร่วมมือพัฒนาความสามารถเทคโนโลยีอวกาศไทย
ภาคีความร่วมมือพัฒนาความสามารถเทคโนโลยีอวกาศไทย (Thai Space Consortium) สดร. ริเริ่มและผลักดันให้เกิดความร่วมมือสำคัญของ 3 หน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ - สดร. สำนักงานเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ - สทอภ. และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน- สซ. ในการพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็กเพื่อใช้ในการวิจัย ดาวเทียมดังกล่าว จะถูกออกแบบและสร้างโดยทีมวิศวกรและบุคลากรของ 3 หน่วยงาน เป็นการสร้างประสบการณ์การพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในประเทศไทย และอนาคตจะเป็นพื้นฐานให้เกิดอุตสาหกรรมอวกาศ คาดว่าจะสามารถส่งขึ้นสู่อวกาศได้ภายในปี 2567 ดาวเทียมดวงนี้ มีน้ำหนักประมาณ 100 กิโลกรัม มี Payload หลัก ได้แก่ กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 ซม. ซึ่งออกแบบและสร้างโดย สดร. มี Payload รอง ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจวัดที่ศึกษาสภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และจะถูกส่งไปที่วงโคจร 500-800 กิโลเมตร
การสร้างความตระหนักและความตื่นตัวด้านดาราศาสตร์สู่สังคมไทย
สดร. สร้างความตระหนัก และสื่อสารดาราศาสตร์ไปสู่สาธารณชนในหลากหลายรูปแบบ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ ทั้งเด็กและเยาวชน ครูอาจารย์ ประชาชนทั่วไป และนักดาราศาสตร์สมัครเล่น เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความสนใจ ยกระดับและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ละกิจกรรมที่จัดขึ้น ได้คำนึงถึงเนื้อหาที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมมากกว่า 200,000 คน ต่อปี
โครงการกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ “77 จังหวัดเปิดฟ้าส่องโลกดาราศาสตร์ เปิดโอกาสเรียนรู้ทั่วหล้า”
สดร. ได้ริเริ่ม โครงการกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ “77 จังหวัดเปิดฟ้าส่องโลกดาราศาสตร์ เปิดโอกาสเรียนรู้ทั่วหล้า” ตั้งแต่ปี 2558 ทำการคัดเลือกโรงเรียนจากทั่วประเทศเพื่อรับมอบกล้องโทรทรรศน์ และสื่อการเรียนรู้ดาราศาสตร์ชุดใหญ่ สำหรับจัดการเรียนการสอน กิจกรรมทางดาราศาสตร์ และสังเกตการณ์ท้องฟ้า ภายในโรงเรียนและชุมชนรอบข้าง มุ่งสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และพัฒนาองค์ความรู้ดาราศาสตร์ให้ทั่วถึงและทัดเทียมกันทั่วประเทศ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “60 พรรษา เจ้าฟ้านักดาราศาสตร์”
ปัจจุบัน ได้ส่งมอบไปแล้วทั้งสิ้น 410 โรงเรียน 72 จังหวัด โรงเรียนที่ได้รับมอบกล้องโทรทรรศน์และสื่อการเรียนรู้ดาราศาสตร์ ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งจัดกิจกรรมดาราศาสตร์ทั้งในโรงเรียน และชุมชนใกล้เคียงอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการตื่นตัวทางดาราศาสตร์ในวงกว้างที่ผ่านมาในปี 2558-2561 เกิดกิจกรรมดาราศาสตร์รวมมากกว่า 4,500 กิจกรรม และยังสนับสนุนสื่อเรียนรู้ให้แก่โรงเรียน สถานศึกษา หน่วยงาน หรือชุมชนนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน ปีละมากกว่า 500 หน่วยงาน นอกจากนี้ ได้ขยายผลโครงการ เกิดเป็นโครงการ “มุมดาราศาสตร์ดาราศาสตรในโรงเรียน (Astro Corner)” มอบสื่อการเรียนรู้ดาราศาสตร์เพื่อให้โรงเรียนหรือสถานศึกษานำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน หรือกิจกรรมทางดาราศาสตร์ เสริมสร้างทักษะ กระตุ้นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และหวังว่าจะก่อให้เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางดาราศาสตร์ที่เข้มแข็ง นำดาราศาสตร์ให้เข้าถึงเยาวชนและประชาชนในทุกภูมิภาคอย่างเท่าถึงและทัดเทียมกัน
การสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย
สดร. ให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อ “การสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย” มีการสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ หลากหลายรูปแบบ เช่น การส่งข่าวแจกเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนแขนงต่างๆ แถลงข่าวกรณีมีปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์น่าสนใจ ในแต่ละปีมีการส่งข่าวแจกมากกว่า 90 ครั้ง มีเวปไซต์สำหรับเผยแพร่ข้อมูลและกิจกรรม มีผู้เข้าชมเว็ปไซต์มากกว่า 100,000 คนต่อเดือน มีช่องทางสื่อสังคมออนไลน์เพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารระหว่าง สดร. กับประชาชน มีการอัปเดตข้อมูลข่าวสารผ่านเฟซบุ๊ค www.facebook.com/NARITpage มากกว่า 1,000 ครั้งต่อปี ปัจจุบันมีสมาชิกแฟนเพจที่ติดตาม มากกว่า 350,000 คน ฯลฯ นอกจากนี้ในช่วงต้นปี มีการจัดแถลงข่าว 10 เรื่อง ดาราศาสตร์ที่น่าติดตาม เพื่อให้ประชาชนทราบข้อมูลล่วงหน้า
ปัจจุบันมีประชาชนให้ความสนใจและเปิดรับข้อมูลข่าวสารดาราศาสตร์เพิ่มมากขึ้น แสดงให้เห็นว่าดาราศาสตร์มีส่วนทำให้เกิดกระแสความสนใจ สร้างความตระหนัก ความตื่นตัว สร้างแรงบันดาลใจ สร้างการรับรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างแพร่หลาย สดร. คาดหวังว่าจะใช้ดาราศาสตร์จะเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคนให้มีกระบวนการคิดอย่างเป็นเหตุและผลเพื่อเป็นรากฐานการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ต่อไป
- NARIT Facebook fanpage เป็น 1 ใน 100 ครีเอเตอร์ไทยที่มีผลงานโดดเด่นในรอบปี 2019 จากการจัดอันดับของ Rainmaker
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
- มติครม. 14 มีนาคม 2566
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng bthkhwamnitxngkarsrupenuxhabthkhwamiwinyxhnaaerksudbthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena sthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn sdr xngkvs National Astronomical Research Institute of Thailand NARIT epnhnwyngankhxngrthbalithypraephthxngkhkarmhachn sngkdkrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm epnhnwynganhlkdankarphthnaethkhonolyidarasastrkhxngpraeths kxtngemuxwnthi 1 mkrakhm ph s 2552 misanknganihytngxyu n xuthyandarasastrsirinthr tabldxnaekw xaephxaemrim cnghwdechiyngihmsthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn phaphrwmhnwyngankxtng1 mkrakhm 2552sanknganihyxuthyandarasastrsirinthr tabldxnaekw xaephxaemrim cnghwdechiyngihmngbpramanpracapi576 1338 lanbath ph s 2563 faybriharhnwyngansuwithy emsinthriy prathankrrmkardr srny opsyacinda phuxanwykarthna thnaecriyphr rxngphuxanwykardr wiphu ruocpkar rxngphuxanwykarcullda khawsaxad rxngphuxanwykartnsngkdhnwyngankrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrmewbistwww wbr narit wbr or wbr th efsbuksthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn prawti20 krkdakhm ph s 2547 khnarthmntrimimtixnumtiihkrathrwngwithyasastraelaethkhonolyi pccubnepnkrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm daeninokhrngkarcdtngsthabnwicydarasastraehngchati inrupaebbxngkhkarmhachn ephuxrxngrbnoybaykhxngrthbalinkarsnbsnunkarephimkhidkhwamsamarthkarwicythangwithyasastr ethkhonolyi aelanwtkrrm tlxdcnkarsnbsnunkarsrangkhwamekhmaekhngdankarwicywithyasastrphunthanaelakarsrangsngkhmkareriynruthangwithyasastraelaethkhonolyiihaekprachachnchawithy aelanxkcakni ephuxechlimchlxnginwara 200 pi aehngkarphrarachsmphphphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw rchkalthi 4 phrabidaaehngwithyasastraehngwithyasastrithy ph s 2547 aelaechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr rchkalthi 9 phrabidaaehngethkhonolyiithy enuxnginoxkasphrarachphithimhamngkhlechlimphrachnmphrrsa 80 phrrsa 5 thnwakhm 2550 15 singhakhm ph s 2549 sthabnwicydarasastraehngchatiekharwmepnsmachikradbpraeths National Membership khxngshphnthdarasastrnanachati International Astronomical Union 22 tulakhm ph s 2551 khnarthmntriehnchxbrangphrarachkvsdikacdtngsthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn 27 thnwakhm ph s 2551 phrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr rchkalthi 9 thrngphrakrunaoprdeklaihtraphrarachkvsdikacdtngsthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn ph s 2551 khun aelaprakasinphrarachkiccanuebksa elm 25 txnthi 138 k wnthi 31 thnwakhm 2551 wnthi 1 mkrakhm ph s 2552 phrarachkvsdikacdtngsthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn miphlichbngkhb thuxwnepnsthapna sthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn hnwyngandarasastrkhxngchati xyangepnthangkar odyidechaxakharsiriphanichepnsankngankhxngsthabn kxnihymayngxuthyandarasastrsirinthremuxpi ph s 2563phuxanwykarrxngsastrcary 1 mkrakhm ph s 2552 29 mithunayn ph s 2560 dr srny opsyacinda 30 mithunayn ph s 2560 pccubn sthanthiinkakbduaelxuthyandarasastrsirinthrcnghwdechiyngihm xuthyandarasastrsirinthr sanknganihykhxngsthabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn epidihbrikarprachachntngaet 27 mkrakhm ph s 2563 sunybrikarkhxmulsarsneths aelafukxbrmthangdarasastr tngxyubriewnthithakarxuthyanaehngchatidxyxinthnnth km 31 xaephxcxmthxng cnghwdechiyngihm epnsthanthicdfukxbrmaelacdkickrrmthangdarasastr hxdudawaehngchati tngxyuthisthanithwnsyyanthioxthi xuthyanaehngchatidxyxinthnnth km 44 4 xaephxcxmthxng cnghwdechiyngihm hxsngektkarndarasastrwithyuaehngchati tngxyuinbriewnsunyphthnahwyhxngikhrxnenuxngmacakphrarachdari xaephxdxysaekd cnghwdechiyngihm sdr khyaykarsuksaaelaphthnaokhrngsrangphunthanthngnganwicy ethkhonolyiaelawiswkrrmdandarasastrwithyu phayitokhrngkarphthnaekhruxkhaydarasastrwithyuaelayixxedsi miaephndaeninkarsrang hxsngektkarndarasastrwithyuaehngchati tidtngklxngothrthrrsnwithyuaehngchati khnadesnphansunyklang 40 emtr ephuxephimkhidkhwamsamarthechingsngektkarndankhlunwithyu aelaklxngothrthrrsnwithyukhnadesnphansunyklang 13 emtr ephuxsrangnganwicydanyixxedsiaelawithyasastrbrryakas aelayngsamarthekharwmekhruxkhayklxngothrthrrsnthangikl Very Long Baseline Interferometer VLBI ephuxechuxmtxaelarwmsngektkarnkbekhruxkhay VLBI khxngolk sungepnkhwamrwmmuxkbhlayhnwynganintangpraeths echn cin ekahli yipun xxsetreliy niwsiaelnd eyxrmn xngkvs epntn hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa phumiphakh hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxb phrachnmphrrsa chaechingethra sdr daeninokhrngkarkxsranghxdudawphumiphakhsahrbprachachn canwn 5 aehng idaek nkhrrachsima chaechingethra sngkhla khxnaekn aelaphisnuolk miepahmayihepnsunykareriynrudarasastrsahrbprachachnaelasthansuksainthxngthin snbsnunkarbrikarwichakardarasastraekchumchn snbsnunkarcdkareriynkarsxnkhxngsthabnkarsuksa rwmthngepnaehlngthxngethiywthangwichakarthisakhykhxngphumiphakh hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa nkhrrachsima epidihbrikartngaet 14 phvscikayn 2557 hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa chaechingethra epidihbrikartngaet 2 kumphaphnth 2561 hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa sngkhla epidihbrikartngaet 25 krkdakhm 2562 hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa khxnaekn epidihbrikartngaet 1 phvscikayn 2566 hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa phisnuolk xyurahwangdaeninkar tangpraeths klxngothrthrrsnthangiklxtonmti n Cerro Tololo Inter american Observatory Chile sdr tidtngklxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 0 4 0 7 emtr intangpraeths n phunthimithsnwisythiehmaasmtxkarsngektkarnwtthuthxngfa khwbkhumkarthangancakrayaiklphanekhruxkhayxinethxrent thaihsamarthtidtamkarepliynaeplngkhxngwtthuthxngfaidtlxdewlathngsikfaehnuxaelasikfait nxkcakni yngsnbsnunnganwicyradborngeriynody khru xacary aelankeriynxikdwy pccubn tidtngaelwesrc 4 aehng idaek hxdudawesxrorotholol xinetxrxemrikn praethschili hxdudawekaehmyku mnthlyunnan praethscin hxdudawesiyrariomth mlrthaekhlifxreniy shrthxemrika hxdudawspringbrukh riesirch praethsxxsetreliynganwicysdr daeninaenwthangkarwicyin 4 Key Science Areas idaek Space Weather and Earth s Climate Understanding Physics of the Universe Exoplanets and Astrobiology Understanding the Origin of the Cosmos aelaxun idaek Optics RF Data Archive phayit 5 klumwicyhlk dngni klumthsnsastraelaekhruxngmuxthsnsastrkhnsung suksawicyaelaphthnaxupkrn aelaekhruxngmuxephuxephimprasiththiphaphkarthanganklxngothrthrrsn rwmthungphthnaekhruxngmuxwiekhraahechingaesng thichwyihidkhxmulthithuktxng ethiyngtrngyingkhun echn karphthnaxupkrnldrayaofks karphthnasepkothrkraf karsrangxupkrnthayphaphdawekhraahthixyuikldawvks aelaxxkaebbphthnaklxngothrthrrsnkhnadklang epntn klumdarasastrwithyu suksawicy aelasngektkarndarasastrinchwngkhlunwithyu ichklxngothrthrrsnwithyuinkarsngektkarnaelaekbkhxmul ephuxsuksawicyekiywkbphlsar hruxdawniwtrxnthihmunrxbtwexngdwykhwamerwsungmakaelaaephrngsikhlunaemehlkiffaxxkmaepncnghwa klumwithyasastrbrryakas suksaphlkrathbkhxngxwkasthimitxkarepliynaeplngsphaphphumixakas karechuxmoyngrahwangkarekidemkhkbprimanrngsikhxsmikthiwingmasuolk karekidlaxxnglxypkkhlumthxngfathiimidekidcakephachiwmwlthimiphlkrathbtxkarsuksadarasastrinkhnasngektkarnbnthxngfa suksathungphlkhxngsphaphxakasaelalaxxnglxytxchnbrryakasolkaeladawekhraah klumckrwalwithyaaeladarasastrthvsdi suksawicythungkahndkhxngckrwal kaenidaelawiwthnakarkhxngdawdwngaerk karekidaelawiwthnakarkhxngkaaelksiinyukhaerkkhxngexkphph thakhwamekhaicthrrmchatikhxng ssaraelaptissar hlumda phlngnganmud ssarmud phlsar dawaepraesng ekhwsar aelakarpldplxyrngsiaekmmaxyangrunaerng klumdarasastraesng suksawicy aelasngektkarndarasastrinchwngkhlunthitamxngehn ichklxngothrthrrsnaesnginkarsngektkarnaelaekbkhxmul ephuxkhnhadawekhraahnxkrabbsuriya suksadawaepraesng suksadawkhu aelawiwthnakarkhxngdaw epntn pccubn minkwicy 19 khn phuchwynkwicykhxngokhrngkartang 23 khn rwmthngsin 42 khn miphlnganwicytiphimphinwarsarwichakarthnginaelatangpraethscanwnmak kha Impact Factor echliyxyuinradb 4 5 inrahwangpi ph s 2557 2562 minkwicy xacary aelanksuksa idichklxngothrthrrsnthnginaelatangpraethskhxngsthabnwicydarasastraehngchatiinkarthawicy miphlngantiphimphinwarsarwichakarradbnanachatithimi Impact factor makkwa 4 thnghmd 43 phlngan twxyang nganwicythiidrbkartiphimphdngklaw khux karkhnphbkarekiddawekhraahkhlayolkinrabbdawvksthiephingekidihm dr srny opsyacinda phuxanwykarsthabnwicydarasastraehngchati aela dr wiphu ruocpkar xacarypracaculalngkrnmhawithyaly ichklxngothrthrrsnthangiklxtonmtisikfaitsngektkarnrabbdawvksekidihm NGC2547 ID8 rwmkbklxngothrthrrsnxwkasspitesxrkhxngnasa suksaphbkarraebidkhxngfunrxbdawvksdngklaw thiekidcakkarchnknkhxngdawekhraahnxykhnadihyrxbdawekhraah karchnknlksnanicanaipsukarkxtwkhxngdawekhraahdwngihmechnediywkbkarekiddawekhraahinrabbsuriyakhxngerainxdit nganwicynithuktiphimph inwarsar Science thimi Impact Factor sungthung 34 66 xikhnungnganwicythiidrbkartiphimphephyaephr khuxkarsuksachnbrryakasdawekhraahnxkrabb GJ3470b naody dr suphchy xawiphnthu nkwicysthabnwicydarasastr thakarsngektkarnkarphanhnakhxngdawekhraah GJ3470b dwyklxngothrthrrsn 2 4 emtr n hxdudawechlimphraekiyrti 7 rxbphrachnmphrrsa aelaklxngothrthrrsnthangiklxtonmtisikfait phlkarsuksaphbwachnbrryakaskhxngdawekhraah GJ3470b misifa aelamithatumiethnecuxpninchnbrryakas nbepnnganwicychinaerkthikhnphbthatumiethninchnbrryakaskhxngdawekhraahnxkrabbdngklaw nganwicynithuktiphimphinwarsar Monthly Notices of the Royal Astronomical Society mi Impact factor 4 961 nxkcakniphlkhxngnganwicyni rwmkbnganwicyxundandawekhraahnxkrabbinrahwangsuksaradbpriyyaexk khxng dr suphchy xawiphnthu idrbkarkhdeluxkihtiphimphepnhnngsuxinokhrngkar Springer Theses khxngsankphimph Springerkarekharwmokhrngkarwithyasastrradbolkkrackklxngothrthrrsninokhrngkarhmuklxngothrthrrsnrngsiechernkhxftnaebbxupkrnchdechysnamaemehlkolk n sthabnfisiksphlngngansung praethscin sdr idrbkaryxmrbihekharwmokhrngkarwithyasastrradbolkhlayokhrngkar aesdngthungkaryxmrbaelaskyphaphdanwithyasastraelaethkhonolyikhxngithyinewthiolk ekharwmokhrngkarkhnadihynikhxngpraethsithy epnkarepidoxkasihkhnithyidphthnaskyphaph aelasamarthsuksawicywithyasastrradbaenwhnaidthdethiymkbpraethsthimikhwamkawhnathangwithyasastrradbolk aelamioxkasphthnaethkhonolyikhnsungthiyngimekhymiinpraethsithy twxyang okhrngkarwithyasastrradbolkthi sdr ekharwm midngni karekharwmokhrngkarhmuklxngothrthrrsnrngsiechernkhxf Cherenkov Telescope Array CTA epnkhwamrwmmuxkhxng 25 praeths mulkharwm 400 lanyuor miwtthuprasngkhephuxsuksa High Energy Astroparticles catidtnghmuklxngothrthrrsnrngsiechernkhxf n praethssepn aelachili sdr ekharwmokhrngkar CTA inswnkarphthnaekhruxngekhluxbkracksathxnaesngkhxngklxngothrthrrsn canwn 6 400 ban odykhwamrwmmuxkbsthabnwicyaesngsinokhrtrxn culalngkrnmhawithyaly aelamhawithyalyethkhonolyisurnari karekharwmokhrngkar Jiangmen Underground Neutrino Observatory JUNO phayitsthabnfisiksphlngngansung satharnrthprachachncin ephuxsranghxngptibtikarsuksaxnuphakhniwtrion mihnwynganrwmdaeninkarmakkwa 70 sthabn cak 16 praethsthwolk mulkharwm 300 lanehriyyshrth praethsithyekharwminlksnakarepn Consortium khxng 3 hnwyngan idaek sthabnwicydarasastraehngchati mhawithyalyethkhonolyisurnari aelaculalngkrnmhawithyaly rbphidchxbkarxxkaebbkhxylaemehlk ephuxpxngknxupkrnrbsyyancaksnamaemehlkolk sdr ekharwmokhrngkar Gravitational Wave Optical Transient Observer GOTO rwmkbmhawithyalyinshrachxanackraelaxxsetreliy ephuxtidtngklxngothrthrrsnmumkwang thisamarththayphaphwtthuthwthxngfatlxdewlathngsikfaehnuxaelasikfait ephuxtidtamwtthuthixacepntnkaenidkhxngkhlunkhwamonmthwng emuxmikartrwcwdehtukarnkhlunkhwamonmthwngodyhxsngektkarn LIGO rwmthungsamarthichinkarsarwcthxngfa ephuxkhnhawtthuinrabbsuriyathiyngimekhymikarkhnphbmakxnkhwamrwmmuxthangdarasastrkbhnwynganphayinpraethsaelatangpraethssdr mibthbathsakhyinradbnanachatithiichdarasastrepnekhruxngmuxinkarphthnapraethsxyangyngyun srangkhwamtrahnkaelakhwamtuntwthangwithyasastraelaethkhonolyi epidolkkareriynruihprachachnthukephs thukwyidrbkaryxmrbihepnsunydarasastrephuxkarphthnainradbnanachati 2 suny idaek International Training Center in Astronomy under the Auspices of UNESCO ITCA aela Southeast Asia Regional Office of Astronomy for Development SEAROAD pccubn pi 2563 mikhwamrwmmuxkbhnwyngantang thnginpraeths aelatangpraeths rwm 67 chbb inpraeths 33 chbb aelatangpraeths 34 chbb twxyang khwamrwmmuxkbhnwyngantang thnginpraeths aelatangpraeths epndngni Max Planck Institute for Radio Astronomy Germany inkarsrangekhruxngrbsyyanwithyuinchwngkhlun L band aela K band Jodrell Bank Center for Astrophysics University of Manchester UK inkarsrang Universal backend sungcaich GPU epntwpramwlphlaethnaebbedim Institut d Optique Graduate School France inkarphthnaekhruxngmuxkhnsungthangthsnsastr National Astronomical Observatory of Japan Japan inkarthdsxbephuxkartrwcrbngansrangklxngothrthrrsnwithyu Polar Research Institute of China Chinese Academy of Sciences China inkarwicydarasastrthikhwolkit Centre for Astrophysics and Space Science CASS CSIRO Australia inkhwamrwmmuxdandarasastrwithyuphakhikhwamrwmmuxphthnakhwamsamarthethkhonolyixwkasithyphakhikhwamrwmmuxphthnakhwamsamarthethkhonolyixwkasithy Thai Space Consortium sdr rierimaelaphlkdnihekidkhwamrwmmuxsakhykhxng 3 hnwynganphayitsngkdkrathrwngwithyasastraelaethkhonolyi idaek sthabnwicydarasastraehngchati sdr sanknganethkhonolyixwkasaelaphumisarsnethsaehngchati sthxph aelasthabnwicyaesngsinokhrtrxn ss inkarphthnadawethiymkhnadelkephuxichinkarwicy dawethiymdngklaw cathukxxkaebbaelasrangodythimwiswkraelabukhlakrkhxng 3 hnwyngan epnkarsrangprasbkarnkarphthnaethkhonolyikhnsunginpraethsithy aelaxnakhtcaepnphunthanihekidxutsahkrrmxwkas khadwacasamarthsngkhunsuxwkasidphayinpi 2567 dawethiymdwngni minahnkpraman 100 kiolkrm mi Payload hlk idaek klxngothrthrrsnkhnadesnphansunyklang 20 sm sungxxkaebbaelasrangody sdr mi Payload rxng idaek xupkrntrwcwdthisuksasphawakarepliynaeplngphumixakas aelacathuksngipthiwngokhcr 500 800 kiolemtrkarsrangkhwamtrahnkaelakhwamtuntwdandarasastrsusngkhmithykickrrmdarasastrsahrbprachachn sdr srangkhwamtrahnk aelasuxsardarasastripsusatharnchninhlakhlayrupaebb khrxbkhlumklumepahmaythukradb thngedkaelaeyawchn khruxacary prachachnthwip aelankdarasastrsmkhreln ephuxsrangaerngbndalic kratunkhwamsnic ykradbaelasrangsngkhmaehngkareriynrudanwithyasastraelaethkhonolyi aetlakickrrmthicdkhun idkhanungthungenuxhathiehmaasm aelasxdkhlxngkbkhwamtxngkarkhxngklumepahmay miphuekharwmkickrrmrwmmakkwa 200 000 khn txpi okhrngkarkracayoxkaskareriynrudarasastr 77 cnghwdepidfasxngolkdarasastr epidoxkaseriynruthwhla karfukptibtikarichklxngothrthrrsndxposeniyn sdr idrierim okhrngkarkracayoxkaskareriynrudarasastr 77 cnghwdepidfasxngolkdarasastr epidoxkaseriynruthwhla tngaetpi 2558 thakarkhdeluxkorngeriyncakthwpraethsephuxrbmxbklxngothrthrrsn aelasuxkareriynrudarasastrchudihy sahrbcdkareriynkarsxn kickrrmthangdarasastr aelasngektkarnthxngfa phayinorngeriynaelachumchnrxbkhang mungsrangekhruxkhaykareriynruaelaphthnaxngkhkhwamrudarasastrihthwthungaelathdethiymknthwpraeths ephuxethidphraekiyrtismedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari 60 phrrsa ecafankdarasastr pccubn idsngmxbipaelwthngsin 410 orngeriyn 72 cnghwd orngeriynthiidrbmxbklxngothrthrrsnaelasuxkareriynrudarasastr idnaipichinkarcdkareriynkarsxn rwmthngcdkickrrmdarasastrthnginorngeriyn aelachumchniklekhiyngxyangtxenuxng kxihekidkartuntwthangdarasastrinwngkwangthiphanmainpi 2558 2561 ekidkickrrmdarasastrrwmmakkwa 4 500 kickrrm aelayngsnbsnunsuxeriynruihaekorngeriyn sthansuksa hnwyngan hruxchumchnnaipichpraoychninkarcdkareriynkarsxn pilamakkwa 500 hnwyngan nxkcakni idkhyayphlokhrngkar ekidepnokhrngkar mumdarasastrdarasastrinorngeriyn Astro Corner mxbsuxkareriynrudarasastrephuxihorngeriynhruxsthansuksanaipichpraoychninkarcdkareriynkarsxn hruxkickrrmthangdarasastr esrimsrangthksa kratunkareriynruwithyasastr aelahwngwacakxihekidekhruxkhayaelkepliyneriynruthangdarasastrthiekhmaekhng nadarasastrihekhathungeyawchnaelaprachachninthukphumiphakhxyangethathungaelathdethiymkn karsuxsardarasastrsusngkhmithy sdr ihkhwamsakhyxyangyingtx karsuxsardarasastrsusngkhmithy mikarsuxsarphanchxngthangtang hlakhlayrupaebb echn karsngkhawaeckephyaephrphansuxmwlchnaekhnngtang aethlngkhawkrnimipraktkarnhruxehtukarnnasnic inaetlapimikarsngkhawaeckmakkwa 90 khrng miewpistsahrbephyaephrkhxmulaelakickrrm miphuekhachmewpistmakkwa 100 000 khntxeduxn michxngthangsuxsngkhmxxnilnephuxepnchxngthangkarsuxsarrahwang sdr kbprachachn mikarxpedtkhxmulkhawsarphanefsbukh www facebook com NARITpage makkwa 1 000 khrngtxpi pccubnmismachikaefnephcthitidtam makkwa 350 000 khn l nxkcakniinchwngtnpi mikarcdaethlngkhaw 10 eruxng darasastrthinatidtam ephuxihprachachnthrabkhxmullwnghna pccubnmiprachachnihkhwamsnicaelaepidrbkhxmulkhawsardarasastrephimmakkhun aesdngihehnwadarasastrmiswnthaihekidkraaeskhwamsnic srangkhwamtrahnk khwamtuntw srangaerngbndalic srangkarrbruthangwithyasastraelaethkhonolyiihekidkhuninsngkhmithyxyangaephrhlay sdr khadhwngwacaichdarasastrcaepnekhruxngmuxinkarphthnakhnihmikrabwnkarkhidxyangepnehtuaelaphlephuxepnrakthankarsrangsngkhmithyihepnsngkhmaehngkareriynrutxip NARIT Facebook fanpage epn 1 in 100 khriexetxrithythimiphlnganoddedninrxbpi 2019 cakkarcdxndbkhxng Rainmakeraehlngkhxmulxunewbiststhabnwicydarasastraehngchati xngkhkarmhachn mtikhrm 14 minakhm 2566