ในหรือกลศาสตร์ท้องฟ้า วิถีโคจรไฮเพอร์โบลา (hyperbolic trajectory) คือ วงโคจรการเคลื่อนที่ภายใต้ความโน้มถ่วงของวัตถุที่มีความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรมากกว่า 1 โดยปกติแล้ว วัตถุที่เคลื่อนที่บนวงโคจรนี้จะเคลื่อนที่ห่างจากวัตถุท้องฟ้าศูนย์กลางอย่างไปไม่สิ้นสุด
วิถีโคจรแบบนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับวิถีโคจรพาราโบลา อย่างไรก็ตาม ของวัตถุบนวิถีโคจรไฮเพอร์โบลามีค่ามากกว่า 0 (ในขณะที่วิถีโคจรพาราโบลาจะเป็น 0 พอดี) นั่นคือวัตถุจะมีพลังงานจลน์แม้ที่ระยะอนันต์ ต่างจากวิถีโคจรพาราโบลาที่จะสูญเสียพลังงานจลน์ที่ระยะอนันต์
สมการ
เส้นโค้งวิถีวงโคจรที่แสดงเป็นระบบพิกัดเชิงขั้ว () ของระยะห่าง และ มุมกวาดจริง โดยมีจุดโฟกัสเป็นจุดกำเนิดแสดงได้เป็น
โดย คือความเยื้องศูนย์กลาง ส่วน คือเลตัสเรกตัม สำหรับกรณีของไฮเพอร์โบลานั้นจะมีค่า ตัวส่วนจะเป็นศูนย์ที่ หรือ ดังนั้นที่ ระยะห่างจากจุดโฟกัสจะกลายเป็น
กึ่งแกนเอกของวิถีโคจรไฮเพอร์โบลาจะนิยามในลักษณะทำนองเดียวกับในได้เป็น
โดยในที่นี้
หรืออาจเลือกเปลี่ยนเครื่องหมาย เป็นบวก แล้วเขียนใหม่ได้เป็น
อย่างไรก็ตาม ในคำอธิบายต่อจากนี้ไปจะใช้นิยามแบบแรกเป็นหลัก
ระยะห่างจุดใกล้ที่สุดเมื่อมุมกวาดจริง จะเป็น
ความเร็วที่ระยะไกลเป็นอนันต์
ความเร็วที่ระยะไกลออกไปเป็นอนันต์จากศูนย์กลางของวัตถุในวิถีโคจรไฮเพอร์โบลา หาได้จากกฎการอนุรักษ์พลังงานเป็น
โดยในที่นี้
- คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงของวัตถุศูนย์กลาง
- คือกึ่งแกนเอกของวิถีโคจรไฮเพอร์โบลา
มีความสัมพันธ์กับค่า ดังนี้
ความเร็วในวิถีโคจร
ในวิถีโคจรไฮเพอร์โบลาอัตราเร็วในวงโคจร คำนวณได้เป็น:
โดยในที่นี้
- คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงของวัตถุศูนย์กลาง
- คือระยะห่างจากศูนย์กลางวัตถุศูนย์กลาง
- คือกึ่งแกนเอกของวิถีโคจรไฮเพอร์โบลา
อ้างอิง
- S.O., Kepler; Saraiva, Maria de Fátima (2014). Astronomia e Astrofísica. Porto Alegre: Department of Astronomy - Institute of Physics of Federal University of Rio Grande do Sul. pp. 97–106.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inhruxklsastrthxngfa withiokhcrihephxrobla hyperbolic trajectory khux wngokhcrkarekhluxnthiphayitkhwamonmthwngkhxngwtthuthimikhwameyuxngsunyklangkhxngwngokhcrmakkwa 1 odypktiaelw wtthuthiekhluxnthibnwngokhcrnicaekhluxnthihangcakwtthuthxngfasunyklangxyangipimsinsudesnsinaenginkhuxwithiokhcrihephxrobla cud F khuxcudofks aelaepntaaehnngkhxngdawsunyklang withiokhcraebbnikepnechnediywkbwithiokhcrpharaobla xyangirktam khxngwtthubnwithiokhcrihephxroblamikhamakkwa 0 inkhnathiwithiokhcrpharaoblacaepn 0 phxdi nnkhuxwtthucamiphlngnganclnaemthirayaxnnt tangcakwithiokhcrpharaoblathicasuyesiyphlngnganclnthirayaxnntsmkaresnokhngwithiwngokhcrthiaesdngepnrabbphikdechingkhw r ϕ displaystyle r phi khxngrayahang r displaystyle r aela mumkwadcring ϕ displaystyle phi odymicudofksepncudkaenidaesdngidepn r L1 ecos ϕ displaystyle r frac L 1 e cos phi ody e displaystyle e khuxkhwameyuxngsunyklang swn L displaystyle L khuxeltserktm sahrbkrnikhxngihephxroblanncamikha e gt 1 displaystyle e gt 1 twswncaepnsunythi cos ϕ 1 e displaystyle cos phi 1 e hrux tan ϕ e2 1 displaystyle tan phi pm sqrt e 2 1 dngnnthi ϕ arctan e2 1 displaystyle phi rightarrow pm arctan sqrt e 2 1 rayahangcakcudofkscaklayepn r displaystyle r rightarrow infty kungaeknexkkhxngwithiokhcrihephxroblacaniyaminlksnathanxngediywkbinidepn a L1 e2 displaystyle a frac L 1 e 2 odyinthini a lt 0 displaystyle a lt 0 hruxxaceluxkepliynekhruxnghmay a displaystyle a epnbwk aelwekhiynihmidepn a L1 e2 Le2 1 displaystyle a left frac L 1 e 2 right frac L e 2 1 xyangirktam inkhaxthibaytxcakniipcaichniyamaebbaerkepnhlk rayahangcudiklthisudemuxmumkwadcring ϕ 0 displaystyle phi 0 caepn rmin L1 e a e 1 a 1 e displaystyle r text min frac L 1 e a e 1 a 1 e khwamerwthirayaiklepnxnntkhwamerwthirayaiklxxkipepnxnntcaksunyklangkhxngwtthuinwithiokhcrihephxrobla v displaystyle v infty haidcakkdkarxnurksphlngnganepn v m a displaystyle v infty sqrt mu over a odyinthini m displaystyle mu khuxkhakhngtwkhwamonmthwngkhxngwtthusunyklang a displaystyle a khuxkungaeknexkkhxngwithiokhcrihephxrobla v displaystyle v infty mikhwamsmphnthkbkha ϵ displaystyle epsilon dngni 2ϵ v 2 displaystyle 2 epsilon v infty 2 khwamerwinwithiokhcrinwithiokhcrihephxroblaxtraerwinwngokhcr v displaystyle v khanwnidepn v m 2r 1a displaystyle v sqrt mu left 2 over r 1 over a right odyinthini m displaystyle mu khuxkhakhngtwkhwamonmthwngkhxngwtthusunyklang r displaystyle r khuxrayahangcaksunyklangwtthusunyklang a displaystyle a khuxkungaeknexkkhxngwithiokhcrihephxroblaxangxingS O Kepler Saraiva Maria de Fatima 2014 Astronomia e Astrofisica Porto Alegre Department of Astronomy Institute of Physics of Federal University of Rio Grande do Sul pp 97 106