บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
วัดอัมพวัน เป็นวัดในตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
วัดอัมพวัน | |
---|---|
ที่ตั้ง | หมู่ที่ 1 ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี รหัสไปรษณีย์ 15000 |
ประเภท | วัดราษฏร์ |
นิกาย | ธรรมยุติกนิกาย |
ความพิเศษ | เป็นวัดเก่าที่ที่มีประวัติเกี่ยวกับชาวมอญ |
จุดสนใจ | มีหอระฆังเก่าที่สร้างโดยชาวมอญ และพระอุโบสถหลังเก่า |
ส่วนหนึ่งของ |
ประวัติ
วัดอัมพวัน ตั้งอยู่เลขที่ 91 หมู่ 1 ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย สร้างขึ้นในราวพุทธศักราช 2415 ได้รับพระราชทานวิสุง คามสีมาเมื่อปีพุทธศักราช 2420 ตามตำนานกล่าว กันว่ากรมช้างในพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ ได้ให้ควาญช้างนำช้าง ไปเลี้ยงยังป่าละเมาะใกล้คลองตาสา หรือวัดกลาง ในปัจจุบัน พื้นที่วัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำลพบุรีทางด้านทิศเหนือ และแวดล้อมด้วยหมู่บ้านชาวมอญมาแต่อดีต สันนิษฐานว่าเป็นชาวมอญที่สืบเชื้อสายกันมา ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา สืบเนื่องจากที่ชาวมอญจากเมืองมอญอพยพตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเข้ามา หลังประกาศเอกราช ณ เมืองแครง โดยมีพระมหาเถรคันฉ่องเป็นผู้ช่วยเหลือ ครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ปูนบำเหน็จแก่ขุนนางและพระสงฆ์มอญขนานใหญ่ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับชุมชนมอญบางขันหมาก จังหวัดลพบุรีนั้น น่าจะเห็นเด่นชัดในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ที่สร้างพระราชวังพระนารายณ์ราชนิเวศน์ที่ลพบุรี คงได้เกณฑ์ชาวมอญส่วนหนึ่งมาก่อเตาเผาอิฐสร้างพระราชวัง และอาราธนาพระสงฆ์มอญมาด้วย และยังสร้างวัด “ตองปุ” ให้พระสงฆ์มอญจำพรรษา นอกจากชื่อวัดอัมพวันแล้ว ยังมีชาวบ้านเรียกขานชื่อวัดไปต่าง ๆ กันอีกหลายชื่อ ได้แก่ “วัดค้างคาว” ด้วยเหตุที่สมัย ก่อนนั้นในเขตวัดอัมพวันมีค้างคาวแม่ไก่มาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก
ชื่อที่เคยใช้เรียก
วัดสุสาน เคยถูกใช้เรียกวัดอัมพวันอยู่ในสมัยหนึ่ง ด้วยเหตุที่ในยุคหนึ่งวัดอัมพวันปลูกสร้างกุฏิสงฆ์แยกออกเป็น 2 หลังอย่างชัดเจน เพราะอยู่ห่างไกลกันมีป่ารกทึบคั่นกลาง จึงดูเหมือนแยกกันเป็น 2 วัด คือ วัดนอก ริมแม่น้ำลพบุรี และ วัดใน อยู่ลึกเข้ามาจากริมแม่น้ำติดป่าช้า เนื่องจากสมัยนั้น วัดอัมพวันปกครองโดยหลวงปู่ทอกรัก เจ้าอาวาส และยังมี อาจารย์แจะ ซึ่งมีพรรษาใกล้เคียงกับหลวงปู่ทอกรัก วิสัยของอาจารย์แจะท่านชอบสันโดษ จึงปลีกวิเวกไปปลูกกุฏิอยู่ข้างป่าช้า ต่อมาภายหลังมีพระสงฆ์ย้ายไปอยู่กับท่านเพิ่มขึ้น
วัดสุด ก็เป็นอีกชื่อหนึ่งที่หมายถึงวัดอัมพวัน ด้วยเหตุที่ชุมชนมอญบางขันหมากมีชาวมอญอาศัยกันอยู่อย่างหนา แน่น ประกอบกับชาวมอญเป็นผู้ที่มีจิตเป็นกุศลยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า นิยมสร้างวัดไว้ในบวรพุทธศาสนา และใช้เป็นสถานที่ทำพิธีกรรมทางศาสนา เป็นที่ศึกษาเล่าเรียนของบุตรหลานชาวมอญบางขันหมากจึงได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้น ในชุมชนถึง 4 แห่งด้วยกัน คือ วัดโพธิ์ระหัต วัดกลาง วัดอัพวัน และวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ซึ่งวัดอัมพวันอยู่ใต้สุดของตำบลบางขันหมากใต้ ติดกับตำบลพรหมมาสตร์ ชาวบ้านจึงนิยมเรียกวัดอัมพวันตามสำเนียงมอญว่า “เภี่ยฮะโม” ส่วนในภาษา ไทยเรียกว่า “วัดสุด” ตามภูมิประเทศนั่นเอง
ถาวรวัตถุภายในวัด
พระอุโบสถ
อุโบสถวัดอัมพวันยังคงสภาพเดิมของอุโบสถที่สร้างขึ้นในรุ่นแรกๆ ของวัดมอญในชุมชนมอญบ้านบางขันหมากแห่งนี้ได้ดีที่สุด ลักษณะของอุโบสถวัดอัมพวันเป็นอุโบสถขนาดเล็ก ก่ออิฐถือปูน ฐานยกพื้นสูงจากพื้นดินเล็กน้อยเป็นฐานบัว หน้าบันเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว กรอบหน้าบันหยักเป็นรูปสามเหลี่ยมฟันปลา ไม่มีลวดลายแบบง่ายๆ ตัวอาคารก่อด้วยผนังทึบทั้ง 4 ช่อง มีประตูทางเข้าด้านหน้า 2 ประตู ไม่มีการประดับเช่นกัน แต่มีบันไดนาคปูนปั้นที่ประตูทางขึ้น หลังคาทรงจั่วมีชั้นลด 2 ชั้นมุงด้วยกระเบื้องเกล็ดประดับด้วยช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ มีกำแพงแก้วเตี้ยๆ ส่วนซุ้มประตูทางเข้ากำแพงแก้วด้านข้างคงเป็นซุ้มประตูแบบเดิม คือเป็นซุ้มประตูขนาดเล็กล้อมรอบและมีซุ้มประตูทางเข้าที่ด้านหน้า 1 ประตู และด้านซ้ายมืออีก 1 ประตู ซุ้มประตูทางที่กำแพงแก้วด้านหน้าคงจะทำขึ้นใหม่ในคราวหลัง แต่เมื่อได้ทำการบูรณะซ่อมแซมอุโบสถในราวปี พ.ศ. 2493 จึงได้เปลี่ยนใบเสมาไม้เป็นเสมาปูนปั้นตามแบบที่นิยมทั่วไป ปัจจุบันมีเสมาไม้สักของวัดอัมพวันเหลืออยู่เพียงชิ้นเดียวเท่านั้น
ศาลาการเปรียญ
ศาลาการเปรียญวัดอัมพวันสร้างขึ้นในราวปีพุทธศักราช 2466 รูปทรงคล้ายกับศาลาการเปรียญเครื่องไม้ ที่นิยมสร้างขึ้นตามวัดที่เห็นได้ทั่วไปในภาคกลาง เป็นศาลาการเปรียญเครื่องไม้ขนาด 13 ห้อง เป็นศาลาแบบโล่งไม่มีฝา ยกพื้นสูง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ด เป็นศาลาที่สร้างด้วยเครื่องไม้ทั้งหลังแม้แต่ช่อฟ้า ใบมะกา หางหงษ์ และหน้าบันก็ทำด้วยเครื่องไม้ทั้งสิ้นมีบันไดก่ออิฐถือปูนเป็นทางขึ้นที่ด้านหลังและด้านข้าง
ลำดับเจ้าอาวาสที่ปกครองวัดมีดังนี้
- พระอาจารย์เชียง ชนูปถัมภ์
- พระอาจารย์ทอโหนด ไม่ทราบปีเริ่ม - พ.ศ. 2445
- พระอุปัชฌาย์ทอกรัก สุวณฺณสาโร (ท่อทอง) พ.ศ. 2445-2485
- พระครูอมรสมณคุณ (สว่าง หมอบอก) พ.ศ. 2485-2520
- พระครูอมรสมณคุณ (สมควร รุมรามัญ) พ.ศ. 2520 - ปัจจุบัน
กิจกรรมที่สำคัญ
จัดโครงการสืบสานประเพณีไทยรามัญ บางขันหมาก ภายในงาน มีกิจกรรมชักพระรูปเหมือนหลวงปู่ทอกรัก สุวณณสาโร การแข่งขันเซปักตระกร้อ ประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง การแข่งขันเรือพื้นบ้านและ ประกวดเรือสวยงาม เป็นต้น
อ้างอิง
- วัดอัมพวัน ลพบุรี[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena wdxmphwn epnwdintablbangkhnhmak xaephxemuxnglphburi cnghwdlphburiwdxmphwnthitnghmuthi 1 tablbangkhnhmak xaephxemuxnglphburi cnghwdlphburi rhsiprsniy 15000praephthwdrastrnikaythrrmyutiknikaykhwamphiessepnwdekathithimiprawtiekiywkbchawmxycudsnicmihxrakhngekathisrangodychawmxy aelaphraxuobsthhlngekaswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprawtiwdxmphwn tngxyuelkhthi 91 hmu 1 tablbangkhnhmak xaephxemuxng cnghwdlphburi sngkdkhnasngkhthrrmyutinikay srangkhuninrawphuththskrach 2415 idrbphrarachthanwisung khamsimaemuxpiphuththskrach 2420 tamtananklaw knwakrmchanginphrarachwngnaraynrachniewsn idihkhwaychangnachang ipeliyngyngpalaemaaiklkhlxngtasa hruxwdklang inpccubn phunthiwdtngxyurimaemnalphburithangdanthisehnux aelaaewdlxmdwyhmubanchawmxymaaetxdit snnisthanwaepnchawmxythisubechuxsayknma tngaetkhrngkrungsrixyuthya subenuxngcakthichawmxycakemuxngmxyxphyphtamsmedcphranerswrmharachekhama hlngprakasexkrach n emuxngaekhrng odymiphramhaethrkhnchxngepnphuchwyehlux khrngnnsmedcphranerswridpunbaehncaekkhunnangaelaphrasngkhmxykhnanihy swnthiekiywkhxngkbchumchnmxybangkhnhmak cnghwdlphburinn nacaehnednchdinsmysmedcphranarayn thisrangphrarachwngphranaraynrachniewsnthilphburi khngideknthchawmxyswnhnungmakxetaephaxithsrangphrarachwng aelaxarathnaphrasngkhmxymadwy aelayngsrangwd txngpu ihphrasngkhmxycaphrrsa nxkcakchuxwdxmphwnaelw yngmichawbaneriykkhanchuxwdiptang knxikhlaychux idaek wdkhangkhaw dwyehtuthismy kxnnninekhtwdxmphwnmikhangkhawaemikmaxasyxyuepncanwnmakchuxthiekhyicheriykwdsusan ekhythukicheriykwdxmphwnxyuinsmyhnung dwyehtuthiinyukhhnungwdxmphwnpluksrangkutisngkhaeykxxkepn 2 hlngxyangchdecn ephraaxyuhangiklknmiparkthubkhnklang cungduehmuxnaeykknepn 2 wd khux wdnxk rimaemnalphburi aela wdin xyulukekhamacakrimaemnatidpacha enuxngcaksmynn wdxmphwnpkkhrxngodyhlwngputhxkrk ecaxawas aelayngmi xacaryaeca sungmiphrrsaiklekhiyngkbhlwngputhxkrk wisykhxngxacaryaecathanchxbsnods cungplikwiewkipplukkutixyukhangpacha txmaphayhlngmiphrasngkhyayipxyukbthanephimkhun wdsud kepnxikchuxhnungthihmaythungwdxmphwn dwyehtuthichumchnmxybangkhnhmakmichawmxyxasyknxyuxyanghna aenn prakxbkbchawmxyepnphuthimicitepnkuslyudmninphraphuththsasnaxyangaerngkla niymsrangwdiwinbwrphuththsasna aelaichepnsthanthithaphithikrrmthangsasna epnthisuksaelaeriynkhxngbutrhlanchawmxybangkhnhmakcungidrwmknsrangwdkhun inchumchnthung 4 aehngdwykn khux wdophthiraht wdklang wdxphwn aelawdrasdrsrththathrrm sungwdxmphwnxyuitsudkhxngtablbangkhnhmakit tidkbtablphrhmmastr chawbancungniymeriykwdxmphwntamsaeniyngmxywa ephiyhaom swninphasa ithyeriykwa wdsud tamphumipraethsnnexngthawrwtthuphayinwdphraxuobsth xuobsthwdxmphwnyngkhngsphaphedimkhxngxuobsththisrangkhuninrunaerk khxngwdmxyinchumchnmxybanbangkhnhmakaehngniiddithisud lksnakhxngxuobsthwdxmphwnepnxuobsthkhnadelk kxxiththuxpun thanykphunsungcakphundinelknxyepnthanbw hnabnepnrupsamehliymhnacw krxbhnabnhykepnrupsamehliymfnpla immilwdlayaebbngay twxakharkxdwyphnngthubthng 4 chxng mipratuthangekhadanhna 2 pratu immikarpradbechnkn aetmibnidnakhpunpnthipratuthangkhun hlngkhathrngcwmichnld 2 chnmungdwykraebuxngekldpradbdwychxfaibraka hanghngs mikaaephngaekwetiy swnsumpratuthangekhakaaephngaekwdankhangkhngepnsumpratuaebbedim khuxepnsumpratukhnadelklxmrxbaelamisumpratuthangekhathidanhna 1 pratu aeladansaymuxxik 1 pratu sumpratuthangthikaaephngaekwdanhnakhngcathakhunihminkhrawhlng aetemuxidthakarburnasxmaesmxuobsthinrawpi ph s 2493 cungidepliynibesmaimepnesmapunpntamaebbthiniymthwip pccubnmiesmaimskkhxngwdxmphwnehluxxyuephiyngchinediywethann salakarepriyy salakarepriyywdxmphwnsrangkhuninrawpiphuththskrach 2466 rupthrngkhlaykbsalakarepriyyekhruxngim thiniymsrangkhuntamwdthiehnidthwipinphakhklang epnsalakarepriyyekhruxngimkhnad 13 hxng epnsalaaebbolngimmifa ykphunsung hlngkhamungdwykraebuxngekld epnsalathisrangdwyekhruxngimthnghlngaemaetchxfa ibmaka hanghngs aelahnabnkthadwyekhruxngimthngsinmibnidkxxiththuxpunepnthangkhunthidanhlngaeladankhangladbecaxawasthipkkhrxngwdmidngniphraxacaryechiyng chnupthmph phraxacarythxohnd imthrabpierim ph s 2445 phraxupchchaythxkrk suwn nsaor thxthxng ph s 2445 2485 phrakhruxmrsmnkhun swang hmxbxk ph s 2485 2520 phrakhruxmrsmnkhun smkhwr rumramy ph s 2520 pccubnkickrrmthisakhycdokhrngkarsubsanpraephniithyramy bangkhnhmak phayinngan mikickrrmchkphrarupehmuxnhlwngputhxkrk suwnnsaor karaekhngkhnespktrakrx prakwdrxngephlnglukthung karaekhngkhneruxphunbanaela prakwderuxswyngam epntnxangxingwdxmphwn lphburi lingkesiy