นกเงือก ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: -ปัจจุบัน, 45–0Ma | |
---|---|
ส่วนหัวของนกกก (Buceros bicornis) | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Aves |
อันดับ: | Coraciiformes |
วงศ์: | Bucerotidae , 1815 |
สกุล | |
| |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของนกเงือก (ทั่วโลก) | |
ชื่อพ้อง | |
|
นกเงือก เป็นนกขนาดใหญ่ ที่อยู่ในวงศ์ Bucerotidae ในอันดับนกตะขาบ (Coraciiformes) (บางข้อมูลซึ่งเป็นข้อมูลเก่าจะจัดให้อยู่ในอันดับ Bucerotiformes ซึ่งเป็นอันดับเฉพาะของนกเงือกเอง แต่ปัจจุบันนับเป็นชื่อพ้อง โดยนับรวมนกเงือกดินเข้าไปด้วย) เป็นนกที่เชื่อว่าถือกำเนิดมานานกว่า 45 ล้านปีมาแล้ว
ลักษณะ
นกเงือก เป็นนกป่าขนาดใหญ่ ที่มีจุดเด่น คือ จะงอยปากหนาที่ใหญ่และมีโหนกทางด้านบนเป็นโพรง ภายในโพรงมีเนื้อเยื่อคล้ายฟองน้ำ ส่วนใหญ่ลำตัวมีสีขาวดำหางยาว ปีกกว้างใหญ่ บินได้แข็งแรง เวลาบินจะโบกปีกช้า ๆ กินผลไม้เป็นอาหารหลัก และสัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ เป็นอาหารเสริม ทำรังในโพรงไม้ ตัวเมียจะเข้าไปกกไข่ในโพรงโดยใช้โคลนและมูลปิดปากโพรงไว้ เหลือเพียงช่องพอให้ตัวผู้ยื่นส่งอาหารเข้าไปได้ เมื่อลูกนกโตพอแล้ว จึงเจาะโพรงออกมา
และจากจะงอยปากและส่วนหัวที่ใหญ่เหมือนโหนกหรือหงอนนั้น ทำให้นกเงือกถูกใช้ในเชิงสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมมาแต่โบราณ โดยใช้ทำเป็นเครื่องประดับของชนเผ่าต่าง ๆ
ชนิด
พบทั่วโลกมี 55 ชนิดใน 14 สกุล (ดูในตาราง) มีการแพร่กระจายอยู่ในแถบเขตร้อน ของทวีปแอฟริกา และเอเชีย
การทำรัง
นกเงือก มีลักษณะการทำรังที่แปลกจากนกอื่น คือ เมื่อถึงฤดูกาลทำรัง นกคู่ผัวเมียจะพากันหารัง ซึ่งได้แก่ โพรงไม้ตามต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นยาง ที่อยู่ในที่ลับตา เมื่อตัวเมียเข้าไปอยู่ในโพรง จะทำความสะอาดแล้วเริ่มปิดปากโพรง ด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น ดิน เปลือกไม้ ตัวเมียจะขังตัวเองอยู่ภายในเพื่อออกไข่และเลี้ยงลูก
แสดงความสมบูรณ์ของป่า
นกเงือก เป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติได้ประการหนึ่ง เนื่องจากจะอาศัยอยู่ในป่าหรือพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เท่านั้น เนื่องจากนกเงือกเป็นนกขนาดใหญ่ถึงใหญ่มาก กินทั้งผลไม้และสัตว์เป็นอาหาร อีกทั้งธรรมชาติในการหากินต้องอาศัยพื้นที่ป่าที่กว้าง และยังเป็นตัวแพร่กระจายพันธุ์พืชชนิดต่าง ๆ ในป่าได้อย่างดีอีกด้วย เนื่องจากเป็นนกที่กินผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้ถึง 300 ชนิด และทิ้งไว้ตามที่ต่าง ๆ
นกเงือกในประเทศไทย
ประเทศไทยมีนกเงือก 13 ชนิด ด้วยกัน โดยในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่งมีอาณาเขตส่วนหนึ่งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา มี 4 ชนิด ได้แก่ นกกก หรือ นกกะวะ หรือ นกกาฮัง นกเงือกสีน้ำตาล นกเงือกกรามช้าง หรือ นกกู่กี๋ และนกแก๊ก หรือนกแกง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา พบ 9 ใน 12 ชนิดของนกเงือกที่พบในไทย ได้แก่ นกเงือกปากย่น นกเงือกชนหิน นกแก๊ก นกกก นกเงือกหัวหงอก นกเงือกปากดำ นกเงือกหัวแรด นกเงือกดำ นกเงือกกรามช้าง
ความแตกต่างของนกเงือก กับนกทูแคน
คนไทยจำนวนไม่น้อย สับสนระหว่าง นกเงือก กับนกทูแคน (Toucan) เนื่องจากทั้ง 2 ชนิด เป็นนกขนาดใหญ่ มีปากใหญ่คล้ายกัน
นกทูแคน (Toucan) เป็นนกพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ไม่พบในประเทศไทย
ความแตกต่างที่ชัดเจน คือ นกเงือกมีโหนก นกทูแคน ไม่มีโหนก
รายชื่อนกเงือกและที่ชนิดนกเงือกที่พบในประเทศไทย
- นกกก หรือ นกกะวะ หรือ นกกาฮัง (ชื่อภาษาอังกฤษ: Great hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Buceros bicornis)
- นกเงือกหัวแรด (ชื่อภาษาอังกฤษ: Rhinoceros hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Buceros rhinoceros)
- นกเงือกหัวหงอก (ชื่อภาษาอังกฤษ: White-crowned hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Berenicornis comatus)
- นกชนหิน (ชื่อภาษาอังกฤษ: Helmeted hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinoplax vigil)
- นกแก๊ก หรือ นกแกง (ชื่อภาษาอังกฤษ: Oriental pied hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anthracoceros albirostris)
- นกเงือกดำ (ชื่อภาษาอังกฤษ: Black hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anthracoceros malayanus)
- นกเงือกคอแดง (ชื่อภาษาอังกฤษ: Rufous-necked hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Aceros nipalensis)
- นกเงือกสีน้ำตาลคอขาว (ชื่อภาษาอังกฤษ: Austen's brown hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anorrhinus austeni)
- นกเงือกสีน้ำตาล (ชื่อภาษาอังกฤษ: Tickell's brown hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anorrhinus tickelli)
- นกเงือกปากดำ (ชื่อภาษาอังกฤษ: Bushy-crested hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Anorrhinus galeritus)
- นกเงือกปากย่น (ชื่อภาษาอังกฤษ: Wrinkled hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Aceros corrugatus)
- นกเงือกกรามช้าง หรือ นกกู่กี๋ (ชื่อภาษาอังกฤษ: Wreathed hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhyticeros undulatus)
- นกเงือกกรามช้างปากเรียบ (ชื่อภาษาอังกฤษ: Plain-pouched hornbill; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhyticeros subruficollis)
โดยนกเงือกทุกชนิดในประเทศ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง และมีการศึกษา วิจัย และอนุรักษ์นกเงือกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 มีการจัดตั้งเป็นศึกษาวิจัยนกเงือก โดยทางคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้กำหนดให้วันที่ 13 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันรักนกเงือก” เพื่อเป็นการรณรงค์และสร้างความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการอนุรักษ์นกเงือกอย่างจริงจัง
นักวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกับนกเงือกโดยเฉพาะ จนได้รับฉายาว่า "มารดาแห่งนกเงือก" คือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.พิไล พูลสวัสดิ์
รูปภาพ
- ชาวเผ่า ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของรัฐอรุณาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย สวมเครื่องประดับศีรษะที่ทำจากโหนกของนกกก
- ธงของรัฐชีน ประเทศพม่า ที่มีสัญลักษณ์รูปนกกก
- นกแก๊ก ที่รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย
- นกเงือกหัวแรด ที่สวนสัตว์แนชวิลล์ สหรัฐอเมริกา
- นกเงือกที่สวนสัตว์พาต้า
- สัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิล
อ้างอิง
- "Bucerotidae". .
- Walters, Michael P. (1980). Complete Birds of the World. David & Charles PLC. .
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2012-11-15.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-02-23. สืบค้นเมื่อ 2012-11-13.
- Hodgson,BH (1833). "Description of the Buceros Homrai of the Himalaya". Asiat. Res. 18 (ฉบับที่ 2): 169–188.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-06. สืบค้นเมื่อ 2007-11-09.
- วันรัก"นกเงือก" สัตว์ที่เป็น "ดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ของป่าและธรรมชาติ" จากมติชน
- https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=40&chap=3&page=t40-3-infodetail02.html
- ไทยโพสต์: 13 กุมภาพันธ์ 'วันรักนกเงือก' สัญลักษณ์ของรักแท้
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-07. สืบค้นเมื่อ 2012-11-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
- มูลนิธิศึกษาวิจัยนกเงือก 2012-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nkenguxk chwngewlathimichiwitxyu pccubn 45 0Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg Nswnhwkhxngnkkk Buceros bicornis karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Coraciiformeswngs Bucerotidae 1815skulAceros Hodgson 1844 Anorrhinus Reichenbach 1849 Anthracoceros Reichenbach 1849 Berenicornis Bonaparte 1850 Buceros Linnaeus 1758 Bucorvus Lesson 1830 Cabanis amp Heine 1860 Bonaparte 1854 Hume 1873 Reichenbach 1849 Rhinoplax Gloger 1841 Rhyticeros Reichenbach 1849 Lesson 1830 W L Sclater 1922aephnthiaesdngkarkracayphnthukhxngnkenguxk thwolk chuxphxngBucerotiformes Bucerotes nkenguxk epnnkkhnadihy thixyuinwngs Bucerotidae inxndbnktakhab Coraciiformes bangkhxmulsungepnkhxmulekacacdihxyuinxndb Bucerotiformes sungepnxndbechphaakhxngnkenguxkexng aetpccubnnbepnchuxphxng odynbrwmnkenguxkdinekhaipdwy epnnkthiechuxwathuxkaenidmanankwa 45 lanpimaaelwlksnankenguxk epnnkpakhnadihy thimicudedn khux cangxypakhnathiihyaelamiohnkthangdanbnepnophrng phayinophrngmienuxeyuxkhlayfxngna swnihylatwmisikhawdahangyaw pikkwangihy binidaekhngaerng ewlabincaobkpikcha kinphlimepnxaharhlk aelastweluxykhlanelk epnxaharesrim tharnginophrngim twemiycaekhaipkkikhinophrngodyichokhlnaelamulpidpakophrngiw ehluxephiyngchxngphxihtwphuyunsngxaharekhaipid emuxluknkotphxaelw cungecaaophrngxxkma aelacakcangxypakaelaswnhwthiihyehmuxnohnkhruxhngxnnn thaihnkenguxkthukichinechingsylksnthangwthnthrrmmaaetobran odyichthaepnekhruxngpradbkhxngchnephatang chnidphbthwolkmi 55 chnidin 14 skul duintarang mikaraephrkracayxyuinaethbekhtrxn khxngthwipaexfrika aelaexechiykartharngnkenguxk milksnakartharngthiaeplkcaknkxun khux emuxthungvdukaltharng nkkhuphwemiycaphaknharng sungidaek ophrngimtamtnimihy echn tnyang thixyuinthilbta emuxtwemiyekhaipxyuinophrng cathakhwamsaxadaelwerimpidpakophrng dwywsdutang echn din epluxkim twemiycakhngtwexngxyuphayinephuxxxkikhaelaeliynglukaesdngkhwamsmburnkhxngpankenguxk epndchnichiwdkhwamxudmsmburnkhxngthrrmchatiidprakarhnung enuxngcakcaxasyxyuinpahruxphunthithimikhwamxudmsmburnethann enuxngcaknkenguxkepnnkkhnadihythungihymak kinthngphlimaelastwepnxahar xikthngthrrmchatiinkarhakintxngxasyphunthipathikwang aelayngepntwaephrkracayphnthuphuchchnidtang inpaidxyangdixikdwy enuxngcakepnnkthikinphlimchnidtang idthung 300 chnid aelathingiwtamthitang nkenguxkinpraethsithypraethsithyminkenguxk 13 chnid dwykn odyinxuthyanaehngchatiekhaihy sungmixanaekhtswnhnungxyuincnghwdnkhrrachsima mi 4 chnid idaek nkkk hrux nkkawa hrux nkkahng nkenguxksinatal nkenguxkkramchang hrux nkkuki aelankaekk hruxnkaekng aelaekhtrksaphnthustwpahala bala phb 9 in 12 chnidkhxngnkenguxkthiphbinithy idaek nkenguxkpakyn nkenguxkchnhin nkaekk nkkk nkenguxkhwhngxk nkenguxkpakda nkenguxkhwaerd nkenguxkda nkenguxkkramchangkhwamaetktangkhxngnkenguxk kbnkthuaekhnkhnithycanwnimnxy sbsnrahwang nkenguxk kbnkthuaekhn Toucan enuxngcakthng 2 chnid epnnkkhnadihy mipakihykhlaykn nkthuaekhn Toucan epnnkphunemuxngkhxngthwipxemrikait imphbinpraethsithy khwamaetktangthichdecn khux nkenguxkmiohnk nkthuaekhn immiohnk raychuxnkenguxkaelathichnidnkenguxkthiphbinpraethsithy nkkk hrux nkkawa hrux nkkahng chuxphasaxngkvs Great hornbill chuxwithyasastr Buceros bicornis nkenguxkhwaerd chuxphasaxngkvs Rhinoceros hornbill chuxwithyasastr Buceros rhinoceros nkenguxkhwhngxk chuxphasaxngkvs White crowned hornbill chuxwithyasastr Berenicornis comatus nkchnhin chuxphasaxngkvs Helmeted hornbill chuxwithyasastr Rhinoplax vigil nkaekk hrux nkaekng chuxphasaxngkvs Oriental pied hornbill chuxwithyasastr Anthracoceros albirostris nkenguxkda chuxphasaxngkvs Black hornbill chuxwithyasastr Anthracoceros malayanus nkenguxkkhxaedng chuxphasaxngkvs Rufous necked hornbill chuxwithyasastr Aceros nipalensis nkenguxksinatalkhxkhaw chuxphasaxngkvs Austen s brown hornbill chuxwithyasastr Anorrhinus austeni nkenguxksinatal chuxphasaxngkvs Tickell s brown hornbill chuxwithyasastr Anorrhinus tickelli nkenguxkpakda chuxphasaxngkvs Bushy crested hornbill chuxwithyasastr Anorrhinus galeritus nkenguxkpakyn chuxphasaxngkvs Wrinkled hornbill chuxwithyasastr Aceros corrugatus nkenguxkkramchang hrux nkkuki chuxphasaxngkvs Wreathed hornbill chuxwithyasastr Rhyticeros undulatus nkenguxkkramchangpakeriyb chuxphasaxngkvs Plain pouched hornbill chuxwithyasastr Rhyticeros subruficollis odynkenguxkthukchnidinpraeths cdepnstwpakhumkhrxng aelamikarsuksa wicy aelaxnurksnkenguxkmatngaetpi ph s 2521 mikarcdtngepnsuksawicynkenguxk odythangkhnawithyasastr mhawithyalymhidl sungidkahndihwnthi 13 kumphaphnth khxngthukpi epn wnrknkenguxk ephuxepnkarrnrngkhaelasrangkhwamekhaicihthukphakhswntrahnkthungkarxnurksnkenguxkxyangcringcng nkwichakarthisuksaekiywkbnkenguxkodyechphaa cnidrbchayawa mardaaehngnkenguxk khux sastracaryekiyrtikhun dr phiil phulswsdirupphaphchawepha sungepnchnphunemuxngkhxngrthxrunaclpraeths praethsxinediy swmekhruxngpradbsirsathithacakohnkkhxngnkkk thngkhxngrthchin praethsphma thimisylksnrupnkkk nkaekk thirthxssm praethsxinediy nkenguxkhwaerd thiswnstwaenchwill shrthxemrika nkenguxkthiswnstwphata sylksnkhxngsomsrfutbxlchynath hxrnbilxangxing Bucerotidae Walters Michael P 1980 Complete Birds of the World David amp Charles PLC ISBN 0715376667 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 05 subkhnemux 2012 11 15 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 02 23 subkhnemux 2012 11 13 Hodgson BH 1833 Description of the Buceros Homrai of the Himalaya Asiat Res 18 chbbthi 2 169 188 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 11 06 subkhnemux 2007 11 09 wnrk nkenguxk stwthiepn dchnichiwdkhwamsmburnkhxngpaaelathrrmchati cakmtichn https www saranukromthai or th sub book book php book 40 amp chap 3 amp page t40 3 infodetail02 html ithyophst 13 kumphaphnth wnrknkenguxk sylksnkhxngrkaeth khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 06 07 subkhnemux 2012 11 13 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb nkenguxk wikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Bucerotidae mulnithisuksawicynkenguxk 2012 01 27 thi ewyaebkaemchchin