ลัทธิประทับใจยุคหลัง (อังกฤษ: post-impressionism) เป็นคำที่คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1910 โดย (Roger Fry) ศิลปินและชาวอังกฤษ เพื่อบรรยายศิลปะที่วิวัฒนาการขึ้นในฝรั่งเศสหลังสมัยเอดัวร์ มาแน จิตรกรลัทธิประทับใจยุคหลังยังคงสร้างงานศิลปะลัทธิประทับใจ แต่ไม่ยอมรับความจำกัดของศิลปะลัทธิประทับใจ จิตรกรสมัยหลังจะเลือกใช้สีจัด เขียนสีหนา ฝีแปรงที่เด่นชัดและวาดภาพจากของจริง และมักจะเน้นรูปทรงเชิงเรขาคณิตเพื่อจะบิดเบือนจากการแสดงออก นอกจากนั้นการใช้สีก็จะเป็นสีที่ไม่เป็นธรรมชาติและจะขึ้นอยู่กับสีที่จิตรกรต้องการจะใช้
ลักษณะทั่วไป
จิตรกรลัทธิประทับใจยุคหลังมีความไม่พึงพอใจต่อความจำกัดของหัวเรื่องที่วาดของศิลปะลัทธิประทับใจ และแนวความคิดของปรัชญาที่เริ่มจะสูญหายไปของขบวนการเขียนของลัทธิประทับใจ แต่จิตรกรกลุ่มนี้ก็มิได้มีความเห็นพ้องกันถึงทิศทางใหม่ที่ควรจะดำเนินต่อไปข้างหน้า ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอราและผู้ติดตามนิยมการเขียนโดยวิธีผสานจุดสี (pointillism) ซึ่งเป็นการเขียนที่ใช้จุดสีเล็ก ๆ ในการสร้างภาพเขียน ปอล เซซานพยายามสร้างกฎเกณฑ์และความมีระเบียบของศิลปะลัทธิประทับใจให้เป็นรูปเป็นทรงขึ้นเพื่อจะทำให้ "ศิลปะลัทธิประทับใจเป็นศิลปะที่มั่งคงและคงยืนตลอดไป เช่นเดียวกับศิลปะที่แสดงในพิพิธภัณฑ์" การสร้างกฎเกณฑ์การเขียนของเซซานทำด้วยการลดจำนวนสิ่งของในภาพลงไป จนเหลือแต่รูปทรงที่เป็นแก่นสำคัญแต่ยังเซซานยังคงรักษาความจัดของสีที่ใช้แบบศิลปะลัทธิประทับใจ กามีย์ ปีซาโร ทดลองการเขียนแบบใหม่โดยการวาดในลัทธิประทับใจใหม่ระหว่างกลางคริสต์ทศวรรษ 1880 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1890 เมื่อไม่พอใจที่ถูกเรียกว่าเป็นจิตรกรลัทธิประทับใจแบบจินตนิยม ปีซาโรก็หันไปหาการเขียนไปเป็นแบบซึ่งปีซาโรเรียกว่าเป็นศิลปะลัทธิประทับใจแบบวิทยาศาสตร์ ก่อนที่กลับไปเขียนภาพแบบลัทธิประทับใจแท้ตามเดิมในช่วงสิบปีสุดท้ายก่อนที่จะเสียชีวิตฟินเซนต์ ฟัน โคค ใช้สีเข้มสดและฝีแปรงที่ขดม้วนอย่างมีชีวิตจิตใจเพื่อสื่อความรู้สึกและสถานะภาพทางจิตใจของตนเอง แม้ว่าจิตรกรลัทธิประทับใจยุคหลังมักจะแสดงงานร่วมกันแต่ก็ยังไม่มีความคิดเห็นพ้องกันในแนวทางของขบวนการเขียน จิตรกรรุ่นเด็กกว่าระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1890 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขียนงานในบริเวณที่แตกต่างออกไปและในแนวการเขียนที่ต่างออกไปเช่นคติโฟวิสต์และลัทธิบาศกนิยม
ที่มาและความหมายของ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง"
คำว่า "ลัทธิประทับใจยุคหลัง" เป็นคำที่เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1910 โดย (ศิลปินและชาวอังกฤษ) สำหรับการแสดงงานศิลปะของจิตรกรฝรั่งเศสสมัยใหม่ที่จัดขึ้นในลอนดอน จิตรกรส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมอายุน้อยกว่าจิตรกรลัทธิประทับใจ ต่อมาฟรายให้คำอธิบายในการใช้คำว่า "ลัทธิประทับใจยุคหลัง" ว่าเป็นการใช้ "เพื่อความสะดวก ที่จำเป็นต้องตั้งชื่อให้ศิลปินกลุ่มนี้โดยใช้ชื่อที่มีความหมายกว้างที่ไม่บ่งเฉพาะเจาะจงถึงแนวเขียน ชื่อที่เลือกก็คือ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" เพื่อเป็นการแสดงการแยกตัวของศิลปินกลุ่มนี้แต่ยังแสดงความสัมพันธ์บางอย่างกับขบวนการลัทธิประทับใจเดิม"
"ลัทธิประทับใจยุคหลัง" กระตุ้นอารมณ์ผ่านความรู้สึกลึก ๆ ภายในมากกว่าต้องการแสดงศักยภาพหรือความสามารถ กระแสศิลปะนี้หันไปตอบสนองความต้องการตามทัศนคติของตัวศิลปิน รับแรงบันดาลใจจากเรื่องของการค้นหาหมายของชีวิต และอุทิศผลงานเพื่อความผาสุกของเหล่ามวลมนุษย์ ศิลปินลัทธิประทับใจยุคหลังเชื่อว่า จิตวิญญาณกับธรรมชาติแยกออกจากกันแต่นำมาเชื่อมโยงกันผ่านการสังเคราะห์ด้วยการหลอมรวมจิตวิญญาณของศิลปินกับธรรมชาติ ผ่านผลงานไปสู่ผู้ชม ศิลปินเสนอภาพจากภายในไม่ใช่เพียงการลอกเลียนแบบความงามของธรรมชาติ แสดงเนื้อหาสำคัญอย่างนามธรรม ด้วยอารมณ์ที่เป็นอิสระ ไม่ยึดติดกับรูปแบบ รูปทรง หรือสีตามสิ่งที่ตาเห็น
(John Rewald) ที่เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะอาชีพคนแรกที่มีความสนใจในการกำเนิดของศิลปะสมัยใหม่ในระยะแรกที่จำกัดอยู่ในระยะเวลาของ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" ที่นิยมกันระหว่าง ค.ศ. 1886 ถึงค.ศ. 1892 ในหนังสือ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง : จากฟัน โคค ถึงโกแก็ง" (ค.ศ. 1956) เรวอลด์เห็นว่าเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องจากหนังสือที่เขียนก่อนหน้านั้น "ประวัติของศิลปะลัทธิประทับใจ" (ค.ศ. 1946) และให้ข้อสังเกตว่าเป็น "ฉบับที่อุทิศให้แก่สมัยหลังของศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง"—"ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง : จากโกแก็งถึงมาติส" เป็นเล่มที่ตามมาแต่เล่มนี้รวมศิลปะแนวอื่นที่แตกหน่อมาจากศิลปะลัทธิประทับใจด้วย" และจำกัดเวลาระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรวอลด์เน้นความสนใจกับการวิวัฒนาการของศิลปินลัทธิประทับใจยุคหลังในระยะแรกในฝรั่งเศส : ฟินเซนต์ ฟัน โคค, ปอล โกแก็ง, ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา, (Odilon Redon) และความสัมพันธ์ต่อกันในกลุ่ม และรวมถึงกลุ่มศิลปินอื่นที่ศิลปินกลุ่มนี้ให้ความสนใจหรือต่อต้าน :
- ลัทธิประทับใจใหม่ (neo-impressionism) เยาะหยันโดยนักวิจารณ์ศิลปะร่วมสมัยและจิตรกรผสานจุดสี; ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา และ (Paul Signac) จะพอใจมากกว่าถ้าจะใช้คำอื่นแทนเช่นวิภาคนิยม หรือ "จุดสีเรือง" (Chromoluminarism) เป็นต้น
- คตินิยมเส้นกั้นสี (cloisonnism) เป็นขบวนการที่เขียนกันอยู่ไม่นานนักที่เริ่มเมื่อ ค.ศ. 1888 โดยนักวิจารณ์ศิลปะ (Édouard Dujardin) เพื่อเป็นการเผยแพร่งานของ (Louis Anquetin) ที่ต่อมารวมทั้งงานของจิตรกรร่วมสมัยของ (Émile Bernard) ด้วย
- ลัทธิสังเคราะห์นิยม (synthetism) เป็นขบวนการอายุสั้นอีกขบวนการหนึ่ง ใช้ในปี ค.ศ. 1889 เพื่อแยกงานของโกแก็งและแบร์นาร์จากงานของผู้ที่เขียนแบบลัทธิประทับใจที่มีแนวโน้มไปทางแบบเดิมที่แสดงงานที่ The Volpini Exhibition ในปี ค.ศ. 1889
- (Pont-Aven School) ที่หมายถึงเพียงกลุ่มศิลปินที่ทำงานในบริเวณปงตาแวนหรือในบริเวณอื่นในแคว้นเบรอตาญ
- ลัทธิสัญลักษณ์นิยม (symbolism) เป็นคำที่เป็นที่ยอมรับเป็นอย่างดีในบรรดานักวิจารณ์ศิลปะใน ค.ศ. 1891 เมื่อโกแก็งทิ้งสังเคราะห์นิยมทันทีที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้นำของสัญลักษณ์นิยมในสร้างงานจิตรกรรม
นอกจากนั้นในบทนำใน "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" เรวอลด์เกริ่นเนื้อหาที่จะเขียนในเล่มสองที่จะรวมอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก, อ็องรี รูโซ, กลุ่มนาบี, ปอล เซซาน และคติโฟวิสต์, ปาโบล ปีกัสโซ และการเดินทางครั้งสุดท้ายของโกแก็งไปทะเลใต้; ที่จะมีเนื้อครอบคลุมอย่างน้อยจนถึงคริสต์ทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่เรวอลด์ไม่มีโอกาสเขียนเล่มสองเสร็จ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดกระแสลัทธิประทับใจยุคหลัง
- การเมือง ลัทธิชาตินิยม ตามมาซึ่งความต้องการแผ่อำนาจและยึดครองรัฐต่าง ๆ, สังคมนิยม
- สังคม เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ผู้คนมองโลกในแง่ร้าย เกิดปัญหาเรื่องระดับทางสังคม ในระบบทุนนิยม คนชนชั้นแรงงานถูกกดขี่
- ปรัชญาและความเชื่อแนวใหม่ ปรัชญาของมากซ์และเอ็งเงิลส์, อนาธิปไตย (anarchy) ความคิดและความเชื่อที่รุนแรงเกิดจากความกดดัน, ทฤษฎีแห่งปรัชญาที่ว่าคนนั้นเป็นอิสระ (Existentialism) การค้นพบทฤษฎีเรื่องจิตวิเคราะห์ของซีคมุนท์ ฟร็อยท์, ศาสตร์แห่งการใช้การสังเคราะห์ (synthesism)
- วิทยาศาสตร์ การค้นพบเรื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้าของดอลตัน, ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน
การจัดช่วงเวลา
เรวอลด์กล่าวว่าคำว่า "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" เป็นคำที่ตั้งขึ้นเพื่อความสะดวกและมิได้มีความหมายเฉพาะเจาะจงถึงลักษณะการเขียนแต่อย่างใด และเป็นคำที่ใช้ที่จำกัดเฉพาะทัศนศิลป์ของฝรั่งเศสที่วิวัฒนาการมาจากศิลปะลัทธิประทับใจตั้งแต่ ค.ศ. 1886 วิธีเขียนหนังสือเกี่ยวกับศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลังของเรวอลด์เป็นการเขียนตามที่เกิดขึ้นมิใช่เป็นการวิจัยลักษณะของศิลปะ เรวอลด์ทิ้งไวให้ศิลปะเป็นเครื่องตัดสินตัวเองในอนาคต คำอื่นเช่น นวยุคนิยม (modernism) หรือลัทธิสัญลักษณ์นิยมก็เป็นคำที่ยากที่จะใช้เพราะเป็นคำที่ไม่เฉพาะเจาะจงกับศิลปะแต่ครอบคลุมสาขาวิชาอื่นด้วยเช่นวรรณกรรมหรือสถาปัตยกรรมและเป็นคำที่ขยายออกไปใช้ในหลายประเทศ
- นวยุคนิยม เป็นคำที่หมายถึงขบวนการทางศิลปะนานาชาติที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมตะวันตกที่เริ่มมาจากฝรั่งเศสและถอยหลังไปถึงการปฏิวัติฝรั่งเศสจนถึงยุคภูมิปัญญา
- ลัทธิสัญลักษณ์นิยม เป็นขบวนการที่เริ่มร้อยปีต่อมาในฝรั่งเศสและเป็นนัยว่าเป็นแนวที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล จิตรกรต่างก็ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนไม่ว่าอย่างใดก็อย่างหนึ่งมากบ้างน้อยบ้าง
(Alan Bowness) ยืดเวลา "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" ไปจนถึง ค.ศ. 1914 แต่จำกัดการเขียนในฝรั่งเศสลงไปอย่างมากในคริสต์ทศวรรษ 1890 ประเทศยุโรปอื่น ๆ ใช้มาตรฐานของ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" ส่วนศิลปะของยุโรปตะวันออกไม่รวมอยู่ในกลุ่มนี้
แม้ว่า "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" จะแยกจาก "ศิลปะลัทธิประทับใจ" ใน ค.ศ. 1886 แต่จุดจบของ "ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" ยังไม่เป็นที่ตกลงกัน สำหรับโบว์เนสส์และเรวอลด์แล้ว ลัทธิบาศกนิยม (cubism) เป็นการเริ่มยุคใหม่ ฉะนั้นบาศกนิยมจึงถือว่าเป็นการเริ่มยุคการเขียนใหม่ในฝรั่งเศสตั้งแต่ต้นและต่อมาในประเทศอื่น ขณะเดียวกันศิลปินยุโรปตะวันออกไม่คำนึงถึงการแบ่งแยกตระกูลการเขียนที่ใช้ในศิลปะตะวันตกก็ยังเขียนตามแบบที่เรียกว่าและ (suprematism) ซึ่งเป็นคำที่ใช้ต่อมาจนในคริสต์ศตวรรษที่ 20
ศิลปินสำคัญ
- ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา
- ฟินเซนต์ ฟัน โคค
- เออแฌน อ็องรี ปอล โกแก็ง
- อ็องรี รูโซ
- อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก
- (Louis Anquetin)
- ปาโบล ปีกัสโซ
- อ็องรี มาติส
- วาซีลี คันดินสกี
สรุป
"ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง" ตามความหมายของเรวอลด์จึงเป็นคำที่หมายถึงช่วงเวลาของประวัติศิลปะเท่านั้นที่เน้นงานศิลปะของฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ. 1886 ถึงปี ค.ศ. 1914
อ้างอิง
- Impressionism, 1973, p. 222.
- Cogniat, 1975, pp. 69–72.
- Gowing, p. 804.
- Rewald 1978, p. 9.
ดูเพิ่ม
- ลัทธิประทับใจ (impressionism)
- ลัทธิประทับใจใหม่ (neo-impressionism)
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง
ระเบียงภาพ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lththiprathbicyukhhlng xngkvs post impressionism epnkhathikhidkhuninpi kh s 1910 ody Roger Fry silpinaelachawxngkvs ephuxbrryaysilpathiwiwthnakarkhuninfrngesshlngsmyexdwr maaen citrkrlththiprathbicyukhhlngyngkhngsrangngansilpalththiprathbic aetimyxmrbkhwamcakdkhxngsilpalththiprathbic citrkrsmyhlngcaeluxkichsicd ekhiynsihna fiaeprngthiednchdaelawadphaphcakkhxngcring aelamkcaennrupthrngechingerkhakhnitephuxcabidebuxncakkaraesdngxxk nxkcaknnkarichsikcaepnsithiimepnthrrmchatiaelacakhunxyukbsithicitrkrtxngkarcaich rxypiaehngkhwammixisra odyxxngri ruos kh s 1892lksnathwipcitrkrlththiprathbicyukhhlngmikhwamimphungphxictxkhwamcakdkhxnghweruxngthiwadkhxngsilpalththiprathbic aelaaenwkhwamkhidkhxngprchyathierimcasuyhayipkhxngkhbwnkarekhiynkhxnglththiprathbic aetcitrkrklumnikmiidmikhwamehnphxngknthungthisthangihmthikhwrcadaenintxipkhanghna chxrch piaeyr esxraaelaphutidtamniymkarekhiynodywithiphsancudsi pointillism sungepnkarekhiynthiichcudsielk inkarsrangphaphekhiyn pxl essanphyayamsrangkdeknthaelakhwammiraebiybkhxngsilpalththiprathbicihepnrupepnthrngkhunephuxcathaih silpalththiprathbicepnsilpathimngkhngaelakhngyuntlxdip echnediywkbsilpathiaesdnginphiphithphnth karsrangkdeknthkarekhiynkhxngessanthadwykarldcanwnsingkhxnginphaphlngip cnehluxaetrupthrngthiepnaeknsakhyaetyngessanyngkhngrksakhwamcdkhxngsithiichaebbsilpalththiprathbic kamiy pisaor thdlxngkarekhiynaebbihmodykarwadinlththiprathbicihmrahwangklangkhristthswrrs 1880 aelatnkhristthswrrs 1890 emuximphxicthithukeriykwaepncitrkrlththiprathbicaebbcintniym pisaorkhniphakarekhiynipepnaebbsungpisaoreriykwaepnsilpalththiprathbicaebbwithyasastr kxnthiklbipekhiynphaphaebblththiprathbicaethtamediminchwngsibpisudthaykxnthicaesiychiwitfinesnt fn okhkh ichsiekhmsdaelafiaeprngthikhdmwnxyangmichiwitciticephuxsuxkhwamrusukaelasthanaphaphthangcitickhxngtnexng aemwacitrkrlththiprathbicyukhhlngmkcaaesdngnganrwmknaetkyngimmikhwamkhidehnphxngkninaenwthangkhxngkhbwnkarekhiyn citrkrrunedkkwarahwangkhristthswrrs 1890 aelatnkhriststwrrsthi 20 ekhiynnganinbriewnthiaetktangxxkipaelainaenwkarekhiynthitangxxkipechnkhtiofwistaelalththibaskniymthimaaelakhwamhmaykhxng silpalththiprathbicyukhhlng xxngri edx tulus olaethrk phaphehmuxnkhxng kh s 1886 hxsilpetht lxndxn khawa lththiprathbicyukhhlng epnkhathierimichinpi kh s 1910 ody silpinaelachawxngkvs sahrbkaraesdngngansilpakhxngcitrkrfrngesssmyihmthicdkhuninlxndxn citrkrswnihythiekharwmxayunxykwacitrkrlththiprathbic txmafrayihkhaxthibayinkarichkhawa lththiprathbicyukhhlng waepnkarich ephuxkhwamsadwk thicaepntxngtngchuxihsilpinklumniodyichchuxthimikhwamhmaykwangthiimbngechphaaecaacngthungaenwekhiyn chuxthieluxkkkhux silpalththiprathbicyukhhlng ephuxepnkaraesdngkaraeyktwkhxngsilpinklumniaetyngaesdngkhwamsmphnthbangxyangkbkhbwnkarlththiprathbicedim lththiprathbicyukhhlng kratunxarmnphankhwamrusukluk phayinmakkwatxngkaraesdngskyphaphhruxkhwamsamarth kraaessilpanihniptxbsnxngkhwamtxngkartamthsnkhtikhxngtwsilpin rbaerngbndaliccakeruxngkhxngkarkhnhahmaykhxngchiwit aelaxuthisphlnganephuxkhwamphasukkhxngehlamwlmnusy silpinlththiprathbicyukhhlngechuxwa citwiyyankbthrrmchatiaeykxxkcakknaetnamaechuxmoyngknphankarsngekhraahdwykarhlxmrwmcitwiyyankhxngsilpinkbthrrmchati phanphlnganipsuphuchm silpinesnxphaphcakphayinimichephiyngkarlxkeliynaebbkhwamngamkhxngthrrmchati aesdngenuxhasakhyxyangnamthrrm dwyxarmnthiepnxisra imyudtidkbrupaebb rupthrng hruxsitamsingthitaehn John Rewald thiepnnkprawtisastrsilpaxachiphkhnaerkthimikhwamsnicinkarkaenidkhxngsilpasmyihminrayaaerkthicakdxyuinrayaewlakhxng silpalththiprathbicyukhhlng thiniymknrahwang kh s 1886 thungkh s 1892 inhnngsux silpalththiprathbicyukhhlng cakfn okhkh thungokaekng kh s 1956 erwxldehnwaepnkhbwnkarthitxenuxngcakhnngsuxthiekhiynkxnhnann prawtikhxngsilpalththiprathbic kh s 1946 aelaihkhxsngektwaepn chbbthixuthisihaeksmyhlngkhxngsilpalththiprathbicyukhhlng silpalththiprathbicyukhhlng cakokaekngthungmatis epnelmthitammaaetelmnirwmsilpaaenwxunthiaetkhnxmacaksilpalththiprathbicdwy aelacakdewlarahwangplaykhriststwrrsthi 19 thungtnkhriststwrrsthi 20 erwxldennkhwamsnickbkarwiwthnakarkhxngsilpinlththiprathbicyukhhlnginrayaaerkinfrngess finesnt fn okhkh pxl okaekng chxrch piaeyr esxra Odilon Redon aelakhwamsmphnthtxkninklum aelarwmthungklumsilpinxunthisilpinklumniihkhwamsnichruxtxtan lththiprathbicihm neo impressionism eyaahynodynkwicarnsilparwmsmyaelacitrkrphsancudsi chxrch piaeyr esxra aela Paul Signac caphxicmakkwathacaichkhaxunaethnechnwiphakhniym hrux cudsieruxng Chromoluminarism epntn khtiniymesnknsi cloisonnism epnkhbwnkarthiekhiynknxyuimnannkthierimemux kh s 1888 odynkwicarnsilpa Edouard Dujardin ephuxepnkarephyaephrngankhxng Louis Anquetin thitxmarwmthngngankhxngcitrkrrwmsmykhxng Emile Bernard dwy lththisngekhraahniym synthetism epnkhbwnkarxayusnxikkhbwnkarhnung ichinpi kh s 1889 ephuxaeykngankhxngokaekngaelaaebrnarcakngankhxngphuthiekhiynaebblththiprathbicthimiaenwonmipthangaebbedimthiaesdngnganthi The Volpini Exhibition inpi kh s 1889 Pont Aven School thihmaythungephiyngklumsilpinthithanganinbriewnpngtaaewnhruxinbriewnxuninaekhwnebrxtay lththisylksnniym symbolism epnkhathiepnthiyxmrbepnxyangdiinbrrdankwicarnsilpain kh s 1891 emuxokaekngthingsngekhraahniymthnthithiidchuxwaepnphunakhxngsylksnniyminsrangngancitrkrrm nxkcaknninbthnain silpalththiprathbicyukhhlng erwxldekrinenuxhathicaekhiyninelmsxngthicarwmxxngri edx tulus olaethrk xxngri ruos klumnabi pxl essan aelakhtiofwist paobl piksos aelakaredinthangkhrngsudthaykhxngokaekngipthaelit thicamienuxkhrxbkhlumxyangnxycnthungkhristthswrrsaerkkhxngkhriststwrrsthi 20 aeterwxldimmioxkasekhiynelmsxngesrc pccythithaihekidkraaeslththiprathbicyukhhlng karemuxng lththichatiniym tammasungkhwamtxngkaraephxanacaelayudkhrxngrthtang sngkhmniym sngkhm ekidphawaesrsthkictkta phukhnmxngolkinaengray ekidpyhaeruxngradbthangsngkhm inrabbthunniym khnchnchnaerngnganthukkdkhi prchyaaelakhwamechuxaenwihm prchyakhxngmaksaelaexngengils xnathipity anarchy khwamkhidaelakhwamechuxthirunaerngekidcakkhwamkddn thvsdiaehngprchyathiwakhnnnepnxisra Existentialism karkhnphbthvsdieruxngcitwiekhraahkhxngsikhmunth frxyth sastraehngkarichkarsngekhraah synthesism withyasastr karkhnphberuxngsnamaemehlkiffakhxngdxltn thvsdiwiwthnakarkhxngdarwinkarcdchwngewla kamiy pisaor ekiywfangthiexrayi kh s 1889 ngansasmswnbukhkhl erwxldklawwakhawa silpalththiprathbicyukhhlng epnkhathitngkhunephuxkhwamsadwkaelamiidmikhwamhmayechphaaecaacngthunglksnakarekhiynaetxyangid aelaepnkhathiichthicakdechphaathsnsilpkhxngfrngessthiwiwthnakarmacaksilpalththiprathbictngaet kh s 1886 withiekhiynhnngsuxekiywkbsilpalththiprathbicyukhhlngkhxngerwxldepnkarekhiyntamthiekidkhunmiichepnkarwicylksnakhxngsilpa erwxldthingiwihsilpaepnekhruxngtdsintwexnginxnakht khaxunechn nwyukhniym modernism hruxlththisylksnniymkepnkhathiyakthicaichephraaepnkhathiimechphaaecaacngkbsilpaaetkhrxbkhlumsakhawichaxundwyechnwrrnkrrmhruxsthaptykrrmaelaepnkhathikhyayxxkipichinhlaypraeths nwyukhniym epnkhathihmaythungkhbwnkarthangsilpananachatithiekiywkbwthnthrrmtawntkthierimmacakfrngessaelathxyhlngipthungkarptiwtifrngesscnthungyukhphumipyyalththisylksnniym epnkhbwnkarthierimrxypitxmainfrngessaelaepnnywaepnaenwthiepnexklksnkhxngaetlabukhkhl citrkrtangkichsylksninkarekhiynimwaxyangidkxyanghnungmakbangnxybang Alan Bowness yudewla silpalththiprathbicyukhhlng ipcnthung kh s 1914 aetcakdkarekhiyninfrngesslngipxyangmakinkhristthswrrs 1890 praethsyuorpxun ichmatrthankhxng silpalththiprathbicyukhhlng swnsilpakhxngyuorptawnxxkimrwmxyuinklumni aemwa silpalththiprathbicyukhhlng caaeykcak silpalththiprathbic in kh s 1886 aetcudcbkhxng silpalththiprathbicyukhhlng yngimepnthitklngkn sahrbobwenssaelaerwxldaelw lththibaskniym cubism epnkarerimyukhihm channbaskniymcungthuxwaepnkarerimyukhkarekhiynihminfrngesstngaettnaelatxmainpraethsxun khnaediywknsilpinyuorptawnxxkimkhanungthungkaraebngaeyktrakulkarekhiynthiichinsilpatawntkkyngekhiyntamaebbthieriykwaaela suprematism sungepnkhathiichtxmacninkhriststwrrsthi 20silpinsakhychxrch piaeyr esxra finesnt fn okhkh exxaechn xxngri pxl okaekng xxngri ruos xxngri edx tulus olaethrk Louis Anquetin paobl piksos xxngri matis wasili khndinskisrup silpalththiprathbicyukhhlng tamkhwamhmaykhxngerwxldcungepnkhathihmaythungchwngewlakhxngprawtisilpaethannthiennngansilpakhxngfrngessrahwang kh s 1886 thungpi kh s 1914xangxingImpressionism 1973 p 222 Cogniat 1975 pp 69 72 Gowing p 804 Rewald 1978 p 9 duephimlththiprathbic impressionism lththiprathbicihm neo impressionism aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb silpalththiprathbicyukhhlngraebiyngphaphpxl essan 1839 1906 1840 1916 pxl okaekng 1848 1903 finesnt fn okhkh 1853 1890 1854 1926 1856 1910 chxrch piaeyr esxra 1859 1891 1862 1926 1863 1935 xxngri edx tulus olaethrk 1864 1901 1864 1927 1864 1909 1865 1925