ฌ็อง-ฌัก รูโซ (ฝรั่งเศส: Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญา
ฌ็อง-ฌัก รูโซ | |
---|---|
ฌ็อง-ฌัก รูโซ ในปี 1753. | |
เกิด | 28 มิถุนายน ค.ศ. 1712 เจนีวา, สาธารณรัฐเจนีวา |
เสียชีวิต | 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1778 , ฝรั่งเศส | (66 ปี)
ยุค | ปรัชญาศตวรรษที่ 18 () |
แนวทาง | ปรัชญาตะวันตก |
สำนัก | ทฤษฎีสัญญาประชาคม ศิลปะจินตนิยม |
ความสนใจหลัก | ปรัชญาการเมือง,ดนตรี, การศึกษา, วรรณกรรม, อัตชีวประวัติ |
แนวคิดเด่น | , , , , , , popular sovereignty, |
ได้รับอิทธิพลจาก
| |
เป็นอิทธิพลต่อ | |
ลายมือชื่อ | |
งานเรื่อง วจนิพนธ์ว่าด้วยความไม่เท่าเทียม และ สัญญาประชาคม ของเขาเป็นหลักสำคัญในความคิดการเมืองและสังคมสมัยใหม่
ปรัชญาของรูโซ
คำสอนของเขาสอนให้คนหันกลับไปหาธรรมชาติ (back to nature) เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า "ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทำให้คนไม่เสมอภาคกัน" เขาบอกว่า "เหตุผลมีประโยชน์ แต่มิใช่คำตอบของชีวิต ดังนั้นเราจึงต้องพึ่งความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของเราเอง ให้มากกว่าเหตุผล"
ทฤษฎีคนเถื่อนใจธรรม
รูโซเชื่อว่ามนุษย์นั้นเป็นคนดีโดยธรรมชาติ หรือเป็น "คนเถื่อนใจธรรม" (noble savage) เมื่ออยู่ในสภาวะธรรมชาติ (สภาวะเดียวกันกับสัตว์อื่นๆ และเป็นสภาพที่มนุษย์อยู่มาก่อนที่จะมีการสร้างอารยธรรม และสังคม) แต่ถูกทำให้แปดเปื้อนโดยสังคม เขามองสังคมว่าเป็นสิ่งที่ถูกประดิษฐ์ขึ้น และเชื่อว่าการพัฒนาของสังคม โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของการพึ่งพากันในสังคมนั้น เป็นสิ่งที่อันตรายต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ความเรียงชื่อ "การบรรยายเกี่ยวกับศิลปะและวิทยาศาสตร์" (พ.ศ. 2293) ที่ได้รับรางวัลของเมือง ได้อธิบายว่าความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์นั้น ไม่เป็นประโยชน์กับมนุษย์ เขาได้เสนอว่าพัฒนาการของความรู้ทำให้รัฐบาลมีมากขึ้น และทำลายเสรีภาพของ เขาสรุปว่าพัฒนาการเชิงวัตถุนั้น จะทำลายโอกาสของที่จริงใจ โดยจะทำให้เกิด ความกลัว และ
งานชิ้นถัดมาของเขา ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาและการทำลายของมนุษย์ ตั้งแต่ในสมัยโบราณ จนถึงสมัยใหม่ เขาเสนอว่ามนุษย์ในยุคแรกสุดนั้น เป็นมนุษย์ครึ่งลิงและอยู่แยกกัน มนุษย์แตกต่างจากสัตว์เนื่องจากมีเจตจำนงเสรี (free will) และเป็นสิ่งที่สามารถแสวงหาความสมบูรณ์แบบได้ เขายังได้กล่าวว่ามนุษย์ยุคบุคเบิกนี้มีความต้องการพื้นฐาน ที่จะดูแลรักษาตนเอง และมีความรู้สึกห่วงหาอาทรหรือความสงสาร เมื่อมนุษย์ถูกบังคับให้ต้องมีความสัมพันธ์กันมากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร จึงได้เกิดการปรับเปลี่ยนทางด้านจิตวิทยา และได้เริ่มให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของคนอื่น ๆ ว่าเป็นสิ่งสำคัญต่อการมีชีวิตที่ดีของตนเอง รูโซได้เรียกความรู้สึกใหม่นี้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการผลิบานของมนุษย์
รูโซ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ จนถึงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีของประเทศไทย เกิดในเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ งานเขียนของเขาส่งอิทธิพลต่อการปฏิวัติฝรั่งเศสด้วย
อ้างอิง
- Virioli, Maurizio ([1988] 2003). Jean-Jacques Rousseau and the 'Well-Ordered Society'. Hanson, Derek, translator. Cambridge University Press, 2003 , 9780521531382
- Williams, David Lay (2007). Rousseau’s Platonic Enlightenment. Pennsylvania State University Press.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chxng chk ruos frngess Jean Jacques Rousseau 28 mithunayn ph s 2255 2 krkdakhm ph s 2321 epnnkprchya nkekhiyn aelankpraphnthephlngthifukhddwytnexngaehngyukheruxngpyyachxng chk ruoschxng chk ruos inpi 1753 ekid28 mithunayn kh s 1712 1712 06 28 ecniwa satharnrthecniwaesiychiwit2 krkdakhm kh s 1778 1778 07 02 66 pi frngessyukhprchyastwrrsthi 18 aenwthangprchyatawntksankthvsdisyyaprachakhm silpacintniymkhwamsnichlkprchyakaremuxng dntri karsuksa wrrnkrrm xtchiwprawtiaenwkhidedn popular sovereignty idrbxiththiphlcak ephlot xarisotetil maekiyewlli edkart hxbs spionsa lxk mngaetskieyx diedxor wxlaetr epnxiththiphltx ximmanuexl khant karptiwtifrngess rxaebspiaeyr aesng chust silpacintniym edwid hum othms ephn exdmnd ebirk xdm smith fichethx ehekil kharl maks fridrich exngengils chxng pxl sathr ekxethx elox txlstxylaymuxchux nganeruxng wcniphnthwadwykhwamimethaethiym aela syyaprachakhm khxngekhaepnhlksakhyinkhwamkhidkaremuxngaelasngkhmsmyihmprchyakhxngruoskhasxnkhxngekhasxnihkhnhnklbiphathrrmchati back to nature epnkarykyxngkhunkhakhxngkhnwa thrrmchatikhxngkhndixyuaelwaetsngkhmthaihkhnimesmxphakhkn ekhabxkwa ehtuphlmipraoychn aetmiichkhatxbkhxngchiwit dngnneracungtxngphungkhwamrusuk sychatyanaelaxarmnkhxngeraexng ihmakkwaehtuphl thvsdikhnethuxnicthrrm ruosechuxwamnusynnepnkhndiodythrrmchati hruxepn khnethuxnicthrrm noble savage emuxxyuinsphawathrrmchati sphawaediywknkbstwxun aelaepnsphaphthimnusyxyumakxnthicamikarsrangxarythrrm aelasngkhm aetthukthaihaepdepuxnodysngkhm ekhamxngsngkhmwaepnsingthithukpradisthkhun aelaechuxwakarphthnakhxngsngkhm odyechphaakarephimkhunkhxngkarphungphakninsngkhmnn epnsingthixntraytxkhwamepnxyukhxngmnusy khwameriyngchux karbrryayekiywkbsilpaaelawithyasastr ph s 2293 thiidrbrangwlkhxngemuxng idxthibaywakhwamkawhnathangwithyasastraelasilpsastrnn imepnpraoychnkbmnusy ekhaidesnxwaphthnakarkhxngkhwamruthaihrthbalmimakkhun aelathalayesriphaphkhxng ekhasrupwaphthnakarechingwtthunn cathalayoxkaskhxngthicringic odycathaihekid khwamklw aela nganchinthdmakhxngekha suksaekiywkbkarphthnaaelakarthalaykhxngmnusy tngaetinsmyobran cnthungsmyihm ekhaesnxwamnusyinyukhaerksudnn epnmnusykhrunglingaelaxyuaeykkn mnusyaetktangcakstwenuxngcakmiectcanngesri free will aelaepnsingthisamarthaeswnghakhwamsmburnaebbid ekhayngidklawwamnusyyukhbukhebiknimikhwamtxngkarphunthan thicaduaelrksatnexng aelamikhwamrusukhwnghaxathrhruxkhwamsngsar emuxmnusythukbngkhbihtxngmikhwamsmphnthknmakkhunenuxngcakkarephimkhunkhxngprachakr cungidekidkarprbepliynthangdancitwithya aelaiderimihkhwamsakhykbkhwamkhidehnkhxngkhnxun waepnsingsakhytxkarmichiwitthidikhxngtnexng ruosideriykkhwamrusukihmniwaepncuderimtnkhxngkarphlibankhxngmnusy ruos michiwitxyuinchwngrchsmysmedcphraecaxyuhwthaysra cnthungrchsmysmedcphraecakrungthnburikhxngpraethsithy ekidinecniwa switesxraelnd nganekhiynkhxngekhasngxiththiphltxkarptiwtifrngessdwyxangxingVirioli Maurizio 1988 2003 Jean Jacques Rousseau and the Well Ordered Society Hanson Derek translator Cambridge University Press 2003 ISBN 0 521 53138 1 9780521531382 Williams David Lay 2007 Rousseau s Platonic Enlightenment Pennsylvania State University Press