รีอาซิลเวีย (อังกฤษ: Rheasilvia) เป็นลักษณะภูมิประเทศที่โดดเด่นที่สุดในดาวเคราะห์น้อยเวสตาและคาดว่านี้อาจเป็นผลกระทบจาก ปากแอ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 505 กม. คิดเป็น 90% ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเวสตาเองและคิดเป็น 95% เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของเวสตา (529 กม.) อย่างไรก็ตามค่าเฉลี่ยของเวสตานั้นเป็นผลกระทบจากแอ่งปะทะนั้นเอง จุดสูงสุดตรงกลางแอ่งนั้นมีความสูงกว่า 22 กม.ทำให้มันเป็น
การค้นพบ
รีอาซิลเวียถูกพบโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลใน พ.ศ. 2540 แต่ยังไม่ได้รับการตั้งชื่อจนกระทั่งยานสำรวจอวกาศดอว์นไปสำรวจเวสตาใน พ.ศ. 2554 ชื่อของมันตั้งตาม รีอา ซิลเวีย เทพธิดาพรหมจารีและมารดาของผู้ก่อตั้งกรุงโรม
ลักษณะ
แอ่งรีอาซิลเวียบางส่วนทับกับ (Veneneia) ซึ่งเป็นแอ่งที่เกิดก่อนและมีขนาดใหญ่เกือบ 395 กม.
ขอบของรีอาซิลเวียมีความลาดชันและสูง 4-12 กิโลเมตรเหนือพื้นที่โดยรอบ ก้นแอ่งมีความลึก 13 กิโลเมตรใต้พื้นดินโดยรอบ กลางแอ่งมีลักษณะเป็นลูกคลื่นและเนินกลางแอ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 200 กิโลเมตรและสูงจากก้นแอ่งประมาณ 20-25 กิโลเมตรซึ่งสูงที่สุดในระบบสุริยะ แอ่งนี้คาดว่าน่าจะเกิดจากการชนกันของดาวเคราะห์น้อย
การศึกษาสเปกโทรสโกปีของฮับเบิลได้แสดงให้เห็นว่าแอ่งอุตกาบาตนี้เจาะลึกลงไปบนชั้นต่าง ๆ ของเปลือกดาวและอาจจะเจาะลงไปถึงเนื้อดาวตามผลที่แสดงโดยเส้นสเปกตรัมของโอลิวีน
เวสตามีร่องแคบในเขตเส้นศูนย์สูตรซึ่งคาดว่าน่าจะเกิดจากการชนครั้งใหญ่ ร่องแคบที่ใหญ่ที่สุดคือ (Divalia Fossa) ซึ่งกว้าง 22 กม. ยาว 465 กม.
มีการประเมินว่าการชนครั้งนี้ทำให้ขุดปริมาตรของเวสตาออกมาประมาณ 1% และเป็นไปได้ว่าดาวเคราะห์น้อยตระกูลเวสต้าและดาวเคราะห์น้อยประเภท Vเกิดมาจากการชนในครั้งนี้ หากกรณีนี้เป็นความจริงที่ว่ามีเศษประมาณ 10 กิโลเมตรรอดจากการโดนระเบิดจนถึงปัจจุบันก็แสดงว่าแอ่งอุตกาบาตนี้มีอายุมากกว่า 1 พันล้านปีมาแล้ว และยังรวมถึงนี้อาจเป็นที่มาของ เชื่อกันว่าดาวเคราะห์น้อยประเภท V เป็น 6% ของมวลที่ออกมาจากเวสตาและยังมีเศษชิ้นส่วนอื่น ๆ ที่เล็กจนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ หรืออาจหายไปเพราะเข้าใกล้ช่องว่างเคิร์กวูดซึ่งเป็นผลจาก (Yarkovsky effect) หรือRadiation pressure (ในกรณีของเศษเล็ก ๆ น้อย ๆ)
ภาพ
อ้างอิง
- "Rheasilvia". Gazetteer of Planetary Nomenclature. USGS Astrogeology Research Program. (NASA coordinates)
- Schenk, Paul (2012). "The Geologically Recent Giant Impact Basins at Vesta's South Pole". Science. 336 (6082): 694–697. Bibcode:2012Sci...336..694S. doi:10.1126/science.1223272. PMID 22582256.
- Vega, P. (11 October 2011). . dawn.jpl.nasa.gov. NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-17. สืบค้นเมื่อ 2018-02-17.
- Hubble Reveals Huge Crater on the Surface of the Asteroid Vesta
- 'Vesta seems more planet than asteroid' 2012-06-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Science News, 22 Mar 2012
- Karimi, S; Dombard, A.J. (2016). "On the possibility of viscoelastic deformation of the large south polar craters and true polar wander on the asteroid Vesta". Journal of Geophysical Research. 121: 1786–1797. Bibcode:2016JGRE..121.1786K. doi:10.1002/2016JE005064.
- Thomas, P. C.; และคณะ (1997). "Vesta: Spin Pole, Size, and Shape from HST Images". Icarus. 128 (1): 88. Bibcode:1997Icar..128...88T. doi:10.1006/icar.1997.5736.
- Binzel, R. P.; และคณะ (1997). "Geologic Mapping of Vesta from 1994 Hubble Space Telescope Images". Icarus. 128 (1): 95. Bibcode:1997Icar..128...95B. doi:10.1006/icar.1997.5734.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
75 S 301 E 75 S 301 E 75 301 phaphaesdngaexngrixasilewiybriewnsikitkhxngewsta rixasilewiy xngkvs Rheasilvia epnlksnaphumipraethsthioddednthisudindawekhraahnxyewstaaelakhadwanixacepnphlkrathbcak pakaexngmikhnadesnphasunyklang 505 km khidepn 90 khxngesnphasunyklangkhxngewstaexngaelakhidepn 95 esnphansunyklangechliykhxngewsta 529 km xyangirktamkhaechliykhxngewstannepnphlkrathbcakaexngpathannexng cudsungsudtrngklangaexngnnmikhwamsungkwa 22 km thaihmnepnkarkhnphbrixasilewiythukphbodyklxngothrthrrsnxwkashbebilin ph s 2540 aetyngimidrbkartngchuxcnkrathngyansarwcxwkasdxwnipsarwcewstain ph s 2554 chuxkhxngmntngtam rixa silewiy ethphthidaphrhmcariaelamardakhxngphukxtngkrungormlksnaaexngrixasilewiybangswnthbkb Veneneia sungepnaexngthiekidkxnaelamikhnadihyekuxb 395 km khxbkhxngrixasilewiymikhwamladchnaelasung 4 12 kiolemtrehnuxphunthiodyrxb knaexngmikhwamluk 13 kiolemtritphundinodyrxb klangaexngmilksnaepnlukkhlunaelaeninklangaexngmiesnphansunyklang 200 kiolemtraelasungcakknaexngpraman 20 25 kiolemtrsungsungthisudinrabbsuriya aexngnikhadwanacaekidcakkarchnknkhxngdawekhraahnxy karsuksasepkothrsokpikhxnghbebilidaesdngihehnwaaexngxutkabatniecaaluklngipbnchntang khxngepluxkdawaelaxaccaecaalngipthungenuxdawtamphlthiaesdngodyesnsepktrmkhxngoxliwin ewstamirxngaekhbinekhtesnsunysutrsungkhadwanacaekidcakkarchnkhrngihy rxngaekhbthiihythisudkhux Divalia Fossa sungkwang 22 km yaw 465 km mikarpraeminwakarchnkhrngnithaihkhudprimatrkhxngewstaxxkmapraman 1 aelaepnipidwadawekhraahnxytrakulewstaaeladawekhraahnxypraephth Vekidmacakkarchninkhrngni hakkrniniepnkhwamcringthiwamiesspraman 10 kiolemtrrxdcakkarodnraebidcnthungpccubnkaesdngwaaexngxutkabatnimixayumakkwa 1 phnlanpimaaelw aelayngrwmthungnixacepnthimakhxng echuxknwadawekhraahnxypraephth V epn 6 khxngmwlthixxkmacakewstaaelayngmiesschinswnxun thielkcnimsamarthsngektehnid hruxxachayipephraaekhaiklchxngwangekhirkwudsungepnphlcak Yarkovsky effect hruxRadiation pressure inkrnikhxngesselk nxy phaphaephnthiaesdngkhwamsungsikitkhxngewsta esnaesdngekhtkhxngrixasilewiysungthbkbbangswnkhxng phaphkhxngewstathithayodyklxngothrthrrsnxwkashbebiltngaeteduxnphvsphakhm ph s 2550 briewnaebn thidanlangkhwakhuxrixasilewiyphaphaenwechiyngkhxngrixasilewiythikhxmphiwetxrsrangodyaesdngradbkhwamsungepnsitang widiox flyover duidthini aephnthiphumilksnsikitkhxngewstaaesdngihehnrixasilewiykbewnxienxa 3 D phaphsammitiaebbsxnehluxmkhxngyxdekhakhwris aewnsammitiaedng fa ephuxduphaphniinmummxng 3 mitixangxing Rheasilvia Gazetteer of Planetary Nomenclature USGS Astrogeology Research Program NASA coordinates Schenk Paul 2012 The Geologically Recent Giant Impact Basins at Vesta s South Pole Science 336 6082 694 697 Bibcode 2012Sci 336 694S doi 10 1126 science 1223272 PMID 22582256 Vega P 11 October 2011 dawn jpl nasa gov NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 10 17 subkhnemux 2018 02 17 Hubble Reveals Huge Crater on the Surface of the Asteroid Vesta Vesta seems more planet than asteroid 2012 06 01 thi ewyaebkaemchchin Science News 22 Mar 2012 Karimi S Dombard A J 2016 On the possibility of viscoelastic deformation of the large south polar craters and true polar wander on the asteroid Vesta Journal of Geophysical Research 121 1786 1797 Bibcode 2016JGRE 121 1786K doi 10 1002 2016JE005064 Thomas P C aelakhna 1997 Vesta Spin Pole Size and Shape from HST Images Icarus 128 1 88 Bibcode 1997Icar 128 88T doi 10 1006 icar 1997 5736 Binzel R P aelakhna 1997 Geologic Mapping of Vesta from 1994 Hubble Space Telescope Images Icarus 128 1 95 Bibcode 1997Icar 128 95B doi 10 1006 icar 1997 5734