ราเม็ง (ญี่ปุ่น: ラーメン หรือ らーめん; โรมาจิ: rāmen) เป็นของญี่ปุ่น ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน ราเม็งมักจะทานกับเนื้อหมู สาหร่าย คามาโบโกะ ต้นหอม และบางครั้งจะมีข้าวโพด ราเม็งมีการปรุงรสแตกต่างกันตามแต่ละจังหวัดในญี่ปุ่น เช่นในเกาะคีวชู ต้นกำเนิดของราเม็งทงกตสึ (ราเม็งซุปกระดูกหมู) หรือในเกาะฮกไกโด ต้นกำเนิดของราเม็งมิโซะ (ราเม็งเต้าเจี้ยว)
ในประเทศตะวันตก คำว่า Ramen ยังเป็นคำที่ใช้เรียกบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปด้วย
ประวัติ
ในประวัติศาสตร์เท่าที่ทราบ ราเม็ง เดิมมีที่มาจากประเทศจีนและถูกนำเข้ามาในประเทศญี่ปุ่นโดยชาวจีนอพยพในศตวรรษที่ 19 หรือช่วงต้นศตวรรษที่ 20 คำว่า "ราเม็ง" มาจากภาษาจีน "" (拉麺) ที่มีความหมายถึง เส้นบะหมี่ที่ใช้มือนวดให้มีความเหนียวนุ่ม ที่ได้รับความนิยมบริโภคไปทั่วเอเชียตะวันออก แต่อาจจะมีที่มาจากคำอื่น ๆ ที่ออกเสียงใกล้กัน เช่น 拉麺 老麺 鹵麺 撈麵. จากบันทึกของพิพิธภัณฑ์ราเม็งแห่งโยโกฮาม่า ราเม็งถูกนำเข้ามาในประเทศญี่ปุ่นในราวปี ค.ศ. 1859 และ ขุนนางใหญ่ในยุคเมจิได้รับประทานราเม็ง.
ราเม็งเริ่มได้รับความนิยมแพร่หลายในญี่ปุ่นเมื่อต้นศตวรรษที่ 20. ในระยะแรก ราเม็งถูกเรียกว่า "ชินาโซบะ" (支那そば) ซึ่งแปลว่า "โซบะเจ๊ก" ("ชินา" เป็นคำเรียกเชิงดูหมิ่นชนชาติจีนในภาษาญี่ปุ่น) ต่อมาชาวจีนได้เริ่มมีการขายราเม็งตามรถเข็นพร้อมกับขายเกี๊ยวซ่าพร้อมกัน และมีการเป่าเพื่อเรียกลูกค้า ซึ่งในปัจจุบันได้มีการอัดเป็นเทปเปิดแทน
ชนิดของราเม็ง
ราเม็งมีหลากหลายชนิดแตกต่างกันตามภูมิภาค โดยชนิดของราเม็งจะแบ่งตาม เส้นก๋วยเตี๋ยว เนื้อ และซุป สามอย่างนี้เป็นหลัก ตัวอย่างของราเม็ง ได้แก่
- ราเม็งโชยุ (ราเม็งซีอิ๊ว)
- ราเม็งมิโซะ (ราเม็งซุปเต้าเจี้ยว)
- ราเม็งชิโอะ (ราเม็งซุปเกลือ)
- ราเม็งบันชู
- ราเม็งทากายามะ
- ราเม็งโอโนมิจิ
- ราเม็งชาชู
รวมภาพ
- ราเม็งโชยุ (醤油)
- ราเม็งแบบโตเกียว
- ราเม็งอาซาฮิกาวะ (旭川)
- ราเม็งฮาโกดาเตะ (函館)
- ราเม็งคิตากาตะ (喜多方)
- ราเม็งซัมมะ (サンマ)
- ราเม็งฮากาตะ (博多) กับ ทงกตสึ (ซุปกระดูกหมู)
- ราเม็งนางาฮามะ (長浜) กับ ทงกตสึ
- ราเม็งคูมาโมโตะ (熊本) กับ ทงกตสึ
- ราเม็งคาโงชิมะ (鹿児島) กับ ทงกตสึ
- ซุปทงกตสึแบบโตเกียว
- สึเกเม็ง แบบที่ 1 (つけめん)
- สึเกเม็ง แบบที่ 2 (つけめん)
- อาบูราโซบะ (油そば)
- ราเม็งบันชู (播州)
- ราเม็งทากายามะ (高山)
- ราเม็งโอกายามะ (岡山)
- ราเม็งโทกูชิมะ (徳島)
- ราเม็งวากายามะ (和歌山)
- ราเม็งโอโนมิจิ (尾道)
- ราเม็งเซอาบูราโนเซะ (背脂乗せ)
- ทังตังเม็ง (坦々麺)
- ราเม็งเกี๊ยว
- ราเม็งฮิยาชิ (冷やし, "เย็น")
แหล่งข้อมูลอื่น
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อao2018
- Okuyama, Tadamasa (2003). 文化麺類学・ラーメン篇 [Cultural Noodle-logy;Ramen] (ภาษาญี่ปุ่น). Akashi Shoten. ISBN .
- Kosuge, Keiko (1998). にっぽんラーメン物語 [Japanese Ramen Story] (ภาษาญี่ปุ่น). Kodansha. ISBN .
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-28. สืบค้นเมื่อ 2018-11-05.
- Kodansha encyclopedia of Japan, Volume 6 (1st ed.). Tokyo: Kodansha. 1983. p. 283. ISBN .
- Cwiertka, Katarzyna Joanna (2006). Modern Japanese cuisine: food, power and national identity. Reaktion Books. p. 144. ISBN .
However, Shina soba acquired the status of 'national' dish in Japan under a different name - rāmen. The change of name from Shina soba to rāmen took place during the 1950s and '60s. The word Shina, used historically in reference to China, acquired a pejorative connotation through its association with Japanese imperialist association in Asia and was replaced with the word Chūka, which derived from the Chinese name for the People's Republic. For a while, the term Chūka soba was used, but ultimately the name rāmen caught on, inspired by the chicken-flavored instant version of the dish that went on sale in 1958 and spread nationwide in no time.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
raemng yipun ラーメン hrux らーめん ormaci ramen epnkhxngyipun sungmitnkaenidmacakpraethscin raemngmkcathankbenuxhmu sahray khamaoboka tnhxm aelabangkhrngcamikhawophd raemngmikarprungrsaetktangkntamaetlacnghwdinyipun echninekaakhiwchu tnkaenidkhxngraemngthngktsu raemngsupkradukhmu hruxinekaahkikod tnkaenidkhxngraemngmiosa raemngetaeciyw inpraethstawntk khawa Ramen yngepnkhathiicheriykbahmikungsaercrupdwyprawtiinprawtisastrethathithrab raemng edimmithimacakpraethscinaelathuknaekhamainpraethsyipunodychawcinxphyphinstwrrsthi 19 hruxchwngtnstwrrsthi 20 khawa raemng macakphasacin 拉麺 thimikhwamhmaythung esnbahmithiichmuxnwdihmikhwamehniywnum thiidrbkhwamniymbriophkhipthwexechiytawnxxk aetxaccamithimacakkhaxun thixxkesiyngiklkn echn 拉麺 老麺 鹵麺 撈麵 cakbnthukkhxngphiphithphnthraemngaehngoyokhama raemngthuknaekhamainpraethsyipuninrawpi kh s 1859 aela khunnangihyinyukhemciidrbprathanraemng raemngerimidrbkhwamniymaephrhlayinyipunemuxtnstwrrsthi 20 inrayaaerk raemngthukeriykwa chinaosba 支那そば sungaeplwa osbaeck china epnkhaeriykechingduhminchnchaticininphasayipun txmachawciniderimmikarkhayraemngtamrthekhnphrxmkbkhayekiywsaphrxmkn aelamikarepaephuxeriyklukkha sunginpccubnidmikarxdepnethpepidaethnchnidkhxngraemngraemngmihlakhlaychnidaetktangkntamphumiphakh odychnidkhxngraemngcaaebngtam esnkwyetiyw enux aelasup samxyangniepnhlk twxyangkhxngraemng idaek raemngochyu raemngsixiw raemngmiosa raemngsupetaeciyw raemngchioxa raemngsupeklux raemngbnchu raemngthakayama raemngoxonmici raemngchachurwmphaphraemngochyu 醤油 raemngaebbotekiyw raemngxasahikawa 旭川 raemnghaokdaeta 函館 raemngkhitakata 喜多方 raemngsmma サンマ raemnghakata 博多 kb thngktsu supkradukhmu raemngnangahama 長浜 kb thngktsu raemngkhumaomota 熊本 kb thngktsu raemngkhaongchima 鹿児島 kb thngktsu supthngktsuaebbotekiyw suekemng aebbthi 1 つけめん suekemng aebbthi 2 つけめん xaburaosba 油そば raemngbnchu 播州 raemngthakayama 高山 raemngoxkayama 岡山 raemngothkuchima 徳島 raemngwakayama 和歌山 raemngoxonmici 尾道 raemngesxaburaonesa 背脂乗せ thngtngemng 坦々麺 raemngekiyw raemnghiyachi 冷やし eyn aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb raemng xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux ao2018 Okuyama Tadamasa 2003 文化麺類学 ラーメン篇 Cultural Noodle logy Ramen phasayipun Akashi Shoten ISBN 4750317926 Kosuge Keiko 1998 にっぽんラーメン物語 Japanese Ramen Story phasayipun Kodansha ISBN 4062563029 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 06 28 subkhnemux 2018 11 05 Kodansha encyclopedia of Japan Volume 6 1st ed Tokyo Kodansha 1983 p 283 ISBN 978 0 87011 626 1 Cwiertka Katarzyna Joanna 2006 Modern Japanese cuisine food power and national identity Reaktion Books p 144 ISBN 1 86189 298 5 However Shina soba acquired the status of national dish in Japan under a different name ramen The change of name from Shina soba to ramen took place during the 1950s and 60s The word Shina used historically in reference to China acquired a pejorative connotation through its association with Japanese imperialist association in Asia and was replaced with the word Chuka which derived from the Chinese name for the People s Republic For a while the term Chuka soba was used but ultimately the name ramen caught on inspired by the chicken flavored instant version of the dish that went on sale in 1958 and spread nationwide in no time