ภาษาอาหรับซิรวาน (Shirvani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่เคยใช้พูดในบริเวณที่เป็นตอนกลางและตะวันตกเฉียงเหนือของอาเซอร์ไบจานในปัจจุบัน (ในสมัยก่อนเรียก) และดาเกสตาน (ทางภาคใต้ของรัสเซีย) ภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนี้เป็นผลมาจากการแผ่ขยายของศาสนาอิสลามมาจากเทือกเขาคอเคซัสใต้เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งทำให้มีชาวอาหรับเข้ามาตั้งหลักแหล่งทั้งเป็นกองทหาร พ่อค้าจากซีเรีย และแบกแดดซึ่งใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ ต่อมาบทบาทของภาษาอาหรับได้ลดลงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังจากกาหลิบเลื่อมอำนาจลง และถูกแทนที่ด้วยภาษาเปอร์เซีย ภาษาตัต และภาษาอาเซอรี กลุ่มของชาวอาหรับ (ส่วนใหญ่มาจากเยเมน) อพยพต่อไปเข้าสู่ทางใต้ของดาเกสตาน หลักฐานสุดท้ายที่บ่งบอกถึงการเหลืออยู่ของภาษาอาหรับซิรวาน อยู่ในงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ชาวอาเซอรี Abbasgulu Bakikhanov ที่กล่าวว่าชาวอาหรับซิรวานพูดภาษาอาหรับที่เป็นสำเนียงต่างออกไป เมื่อ พ.ศ. 2383 ภาษาอาหรับยังคงใช้พูดในดาเกสตาน จนถึง พ.ศ. 2463 ในฐานะภาษาที่สองหรือสามในกลุ่มขุนนางโดยใช้ในวรรณคดี ภาษาเขียน และการเมือง
ภาษาอาหรับซิรวาน | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | อาเซอร์ไบจาน, ดาเกสตาน (รัสเซีย) |
ภูมิภาค | เทือกเขาคอเคซัส |
สูญแล้ว | ประมาณพุทธศตวรรษที่ 24 |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | – |
อ้างอิง
- Anna Zelkina. The Arabic Linguistic and Cultural Tradition in Dagestan: an Historical Overview.
- Golestan-i Iram by Abbasgulu Bakikhanov
- Literatures of the North Caucasus and Dagestan by L.G.Golubeva et al.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaxahrbsirwan Shirvani Arabic epnsaeniyngkhxngphasaxahrbthiekhyichphudinbriewnthiepntxnklangaelatawntkechiyngehnuxkhxngxaesxribcaninpccubn insmykxneriyk aeladaekstan thangphakhitkhxngrsesiy phasaxahrbthiichphudinbriewnniepnphlmacakkaraephkhyaykhxngsasnaxislammacakethuxkekhakhxekhssitemuxrawphuththstwrrsthi 13 sungthaihmichawxahrbekhamatnghlkaehlngthngepnkxngthhar phxkhacaksieriy aelaaebkaeddsungichphasaxahrbepnphasarachkar txmabthbathkhxngphasaxahrbidldlngemuxrawphuththstwrrsthi 18 hlngcakkahlibeluxmxanaclng aelathukaethnthidwyphasaepxresiy phasatt aelaphasaxaesxri klumkhxngchawxahrb swnihymacakeyemn xphyphtxipekhasuthangitkhxngdaekstan hlkthansudthaythibngbxkthungkarehluxxyukhxngphasaxahrbsirwan xyuinnganekhiynkhxngnkprawtisastrchawxaesxri Abbasgulu Bakikhanov thiklawwachawxahrbsirwanphudphasaxahrbthiepnsaeniyngtangxxkip emux ph s 2383 phasaxahrbyngkhngichphudindaekstan cnthung ph s 2463 inthanaphasathisxnghruxsaminklumkhunnangodyichinwrrnkhdi phasaekhiyn aelakaremuxngphasaxahrbsirwanpraethsthimikarphudxaesxribcan daekstan rsesiy phumiphakhethuxkekhakhxekhsssuyaelwpramanphuththstwrrsthi 24trakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitiktawntkphasaklumesmitikklangphasaxahrbphasaxahrbsirwanrhsphasaISO 639 3 xangxingAnna Zelkina The Arabic Linguistic and Cultural Tradition in Dagestan an Historical Overview Golestan i Iram by Abbasgulu Bakikhanov Literatures of the North Caucasus and Dagestan by L G Golubeva et al