ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
แพราเซลซัส (อังกฤษ: Paracelsus; 11 พฤศจิกายน หรือ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1493 - 24 กันยายน ค.ศ. 1541) เป็นแพทย์ นักเล่นแร่แปรธาตุ นักเทววิทยาและนักปรัชญาชาวสวิส ใน เขาเป็นผู้กำหนดกฎแห่งพิษวิทยา (The Discipline of Toxicology) อีกทั้งยังเป็นนักปฏิวัติผู้ยืนหยัดในเรื่องของการสังเกตความเป็นไปของธรรมชาติ แทนที่จะมัวดูแค่ตำราเก่า ๆ โบราณ เขายังเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับธาตุสังกะสี (Zinc) โดยให้ชื่อว่า zincum นักจิตวิทยาสมัยใหม่มักจะให้การยอมรับว่าเขาเป็นผู้บันทึกคนแรกเกี่ยวกับเรื่องที่ว่า โรคบางโรคมีสาเหตุมาจากภาวะการป่วยทางจิต
แพราเซลซัส | |
---|---|
ภาพในปีค.ศ.1538 โดย | |
เกิด | Theophrastus von Hohenheim ค.ศ.1493 หรือ ค.ศ.1494 Egg, ใกล้กับไอน์ซีเดิลน์, รัฐชวีซ (ปัจจุบันคือประเทศสวิตเซอร์แลนด์) |
เสียชีวิต | 24 กันยายน ค.ศ. 1541 ซาลซ์บูร์ก, (ปัจจุบันคือประเทศออสเตรีย) | (47 ปี)
ชื่ออื่น | Aureolus Philippus Theophrastus, หมอแพราเซลลัส |
ศิษย์เก่า | |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
มีอิทธิพลต่อ | , ,,, (กำกวม),, |
ได้รับอิทธิพลจาก |
เขาเป็นคนหัวแข็งและรักอิสระ เติบโตขึ้นด้วยความผิดหวังและชีวิตที่ขมขื่น ซึ่งนั่นเองคงเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมเขาถึงได้กลายเป็นนักปฏิรูป
คำว่า "แพราเซลซัส" หมายถึง "เทียบเท่าหรือยิ่งใหญ่กว่าเซลซัส" ซึ่งในที่นี้คือผู้เขียนสารานุกรมชาวโรมันชื่อ อูลัส คอลเนลเลียส เซลซัส (Aulus Cornelius Celsus) เป็นที่รู้จักกันในเรื่องตำราเวชศาสตร์ของเขา
ประวัติ
แพราเซลซัส มีชื่อเดิมว่า Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นลูกชายของวิลเฮล์ม บอมบัสท์ ฟอน โฮเฮนไฮม์ (Wilhelm Bombast von Hohenheim) แพทย์ กับ หญิงชาวสวิส ในตอนเด็กเขาได้ทำงานเป็นนักวิเคราะห์ที่เหมือง จนเมื่ออายุได้ 16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยบาเซิล ภายหลังจากที่ย้ายไปที่เวียนนา เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยแฟร์รารา จากการเป็นแพทย์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทำให้เขาได้เดินทางไปในหลาย ๆ ประเทศทั้งเยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย
แพราเซลซัสศึกษาวิชาหลายแขนง หนึ่งในนั้นคือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญในการพัฒนาวิชาการแพทย์ของเขา หลังจากการศึกษาครั้งนี้เขาได้คิดค้นเครื่องรางของขลังทางดาราศาสตร์สำหรับป้องกันโรคด้วยใช้สัญลักษณ์ 12 นักษัตรโดยแต่สัญลักษณ์ก็จะป้องกันโรคได้แตกต่างกัน และเขายังได้ประดิษฐ์อักษรเวทมนตร์เพื่อสลักชื่อเทพลงในเครื่องรางของเขาอีกด้วย
แพราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มนำสารเคมีและแร่ธาตุมาใช้เป็นยารักษาโรค เขาใช้คำว่าซิงค์แทนธาตุสังกะสีในปี 1526 โดยมาจากศัพท์เยอรมันซิงค์ที่แปลว่าแหลมคมตามรูปร่างของตัวผลึกสังกะสี เขาใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาร่างกายมนุษย์ นอกจากนี้เขายังมีส่วนรับผิดชอบในการผลิตทิงเจอร์ฝิ่นอีกด้วย
ด้วยความหยิ่งยโสของแพราเซลซัสเป็นที่เลื่องลืออย่างมากทำให้แพทย์ทั่วทั้งยุโรปโกรธเกลียดเขา นั่นทำให้เขาดำรงตำแหน่งแพทย์ที่มหาวิทยาลัยบาเซิลได้ไม่ถึงปี ในขณะที่มีเพื่อนร่วมงานของเขากล่าวหาว่าเขาเป็นคนเผาตำราแพทย์พื้นเมือง จากนั้นเขาก็ถูกขับไล่ออกจากเมือง หลังจากถูกขับออกจากเมืองแพราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตำราและเขียนขึ้นใหม่ แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง Die Grosse Wundartznei (การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้ชื่อเสียงของเขาคืนมาได้ ในชีวิตของแพราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกำเนิดนิกายลูเทอแรนและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคำบรรยายในทางศาสนา
แพราเซลซัสเสียชีวิตเมื่อตอนอายุได้ 48 ปีตามธรรมชาติ ศพของเขาก็ได้รับการฝังที่ป่าช้าโบสถ์เซบาสเตียนในซาลซ์บูร์กตามปรารถนาของเขา และได้ย้ายมาไว้ในสุสานนอกชานโบสถ์ในปัจจุบัน หลังจากการตายของแพราเซลซัส ศาสตร์ความรู้ของเขาก็ได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นและถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้ที่ต้องการล้มล้างการแพทย์แบบเก่า
คติประจำตัวของแพราเซลซัสก็คือ “Alterius non sit qui suus esse potest” หมายความว่า “อย่าปล่อยให้มีใครที่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ไปเป็นของผู้อื่น”
ปรัชญา
แพราเซลซัสเชื่อในแนวคิดของชาวกรีกเรื่องธาตุทั้งสี่ แต่เขาก็ได้เสนอแนวคิดเพิ่มเติมในอีกระดับหนึ่งว่า จักรวาลได้ถูกสร้างขึ้นจาก tria prima ซึ่งประกอบด้วย ปรอท กำมะถัน และเกลือ ธาตุทั้งสามนี้ไม่ใช่ธาตุที่เรารู้จักในปัจจุบัน แต่เป็นหลักการกว้าง ๆ ที่ให้กับทุกวัตถุทั้งแก่นเนื้อภายในและรูปร่างภายนอก ปรอทเป็นตัวทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงสถานะ (การหลอมเหลวและการระเหย) กำมะถันเป็นตัวเชื่อมระหว่างวัตถุและการเปลี่ยนแปลงสถานะ (การเผาไหม้) และเกลือเป็นตัวทำให้เกิดการแข็งตัว (การแข็งตัวและการควบแน่น) ยกตัวอย่างเช่น การเผาไม้จะได้ ควันเกิดจากปรอท ไฟเกิดจากกำมะถัน และขี้เถ้าเกิดจากเกลือ
แนวคิดนี้ก็ใช้นิยามกับเอกลักษณ์ของมนุษย์ได้เช่นกัน คือกำมะถันปรากฏเป็นจิตวิญญาณ (อารมณ์และความใคร่) เกลือแทนร่างกาย และปรอทเป็นตัวแทนความคิด (จินตนาการ การแยกแยะดีชั่ว และปัญญาระดับสูง) จากการทำความเข้าใจธรรมชาติของ tria prima ในเชิงเคมีทำให้แพทย์สามารถค้นพบวิธีการรักษาโรคติดต่อได้
การสนับสนุนทางการแพทย์
แพราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มการใช้แร่ธาตุและสารเคมีในทางการแพทย์ ในทางลึกลับเขามองว่าโรคภัยไข้เจ็บและสุขภาพนั้นขึ้นอยู่กับความลงตัวของมนุษย์และธรรมชาติ เขาใช้วิธีที่แตกต่างไปจากคนอื่นก่อนหน้านี้ การใช้การเปรียบเทียบนี้ไม่ได้อยู่ในลักษณะ ของจิตวิญญาณบริสุทธิ์ แต่อยู่ในลักษณะที่มนุษย์ต้องอยู่ในสมดุลของแร่ธาตุในร่างกาย และอาการเจ็บป่วยบางประการของร่างกายก็สามารถรักษาให้หายได้ด้วยสารเคมี
ผลจากแนวคิดเรื่องความสมดุลนี้ เปรียบมนุษย์ได้กับจักรวาลเล็ก ๆ ในจักรวาลใหญ่ ๆ ด้วยความรู้ภูมิปัญญาในสมัยนั้น ที่รู้จักดาวเคราะห์ 7 ดวง โลหะบนโลก 7 ชนิด และอวัยวะภายใน 7 อย่าง ด้วยความที่ 7 เป็นเลขพิเศษจึงแทนดาวเคราะห์ โลหะ และอวัยวะต่าง ๆ ตามตารางดังนี้
ดวงดาว | โลหะ | อวัยวะ |
---|---|---|
ดวงอาทิตย์ | ทอง | หัวใจ |
ดวงจันทร์ | เงิน | สมอง |
ดาวพฤหัส | ดีบุก | ตับ |
ดาวศุกร์ | ทองแดง | ไต |
ดาวเสาร์ | ตะกั่ว | ม้าม |
ดาวอังคาร | เหล็ก | ถุงน้ำดี |
ดาวพุธ | ปรอท | ปอด |
เชื้อโรคเกิดจากยาพิษจากดวงดาว แต่ยาพิษไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งที่เลวร้ายเสมอไป เพราะสารพิษบางตัวก็สามารถล้างพิษด้วยกันเองได้ ดังสุภาษิตที่ว่า สิ่งชั่วร้ายก็ทำลายกันเองได้ ด้วยเหตุนั้นจึงทำให้สารพิษเป็นผลดีในทางการแพทย์ เพราะทุกอย่างในจักรวาลมีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน สารที่เป็นประโยชน์ทางการแพทย์สามารถพบได้ในสมุนไพร และสารประกอบทางเคมี ความเห็นของแพราเซลซัสในเรื่องนี้ทำให้เขาถูกขับออกจากคริสตจักร ในฐานะผู้ที่ถามหาความแตกต่างระหว่างผู้สร้างและผู้ถูกสร้าง
เขาสรุปแนวความคิดของเขาว่า “คนจำนวนมากได้กล่าวถึงการเล่นแร่แปรธาตุว่าเราศึกษาเพื่อสร้างทองและเงินแต่สำหรับฉัน นั่นไม่ใช่เป้าหมายของการศึกษาเรื่องนี้เพราะเป้าหมายของฉันคือ การวิเคราะห์ฤทธิ์และคุณสมบัติในทางการแพทย์เท่านั้น”
ฮิปพอคราทีสได้หยิบยกเรื่องทฤษฏีที่ว่าอาการเจ็บป่วยนั้นเกิดจากความไม่สมดุลของของเหลวสี่อย่างในร่างกายอันได้แก่ เลือด เสมหะ น้ำดีดำ และน้ำดี แนวความคิดนี้ถูกนำไปต่อยอดโดยกาเลน ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากและถาวรต่อความเชื่อทางการแพทย์ จนกระทั่งช่วงกลางของทศวรรษที่ 185 การรักษาที่มีข้อโดดเด่นคือใช้อาหารเฉพาะที่จะช่วยในการช่วยชะล้างของเสียออกควบคู่กับการถ่ายเลือดออกเพื่อคืนความสมดุลให้กับของเหลวสี่ชนิดในร่างกาย ได้ถูกแพราเซลซัสเสนอแนวคิดใหม่ว่าอาการเจ็บป่วยในคนเรานั้นไม่ได้เกิดจากภายในแต่เกิดจากร่างกายถูกทำลายด้วยปัจจัยภายนอก
ผลงานชิ้นโบว์แดงของแพราเซลซัสคือการรักษาและแนวทางการป้องกันคนงานเหมืองจากเจ็บป่วยและอันตรายจากงานโลหะและเขายังเขียนหนังสือเรื่องร่างกายมนุษย์โต้แนวคิดของกาเลนอีกด้วย
แพราเซลซัสกับพิษวิทยา
แพราเซลซัสผู้ถูกขนานนามว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพิษวิทยากล่าวไว้ว่า “สารทุกชนิดเป็นพิษและไม่มีสารใดที่ไม่เป็นพิษ ยาบางปริมาณเท่านั้นที่จะเป็นพิษ” หรือเรียกง่าย ๆ ว่า “ปริมาณยาทำให้เป็นพิษ” จากคำกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า สารที่พิจารณาว่ามีพิษมากถ้าใช้ในปริมาณน้อยก็จะปลอดภัย แต่ในทางกลับกันสารที่พิจารณาว่าไม่เป็นพิษถ้าใช้มากก็เกิดพิษได้เหมือนกัน
ผลงาน
ผลงานตีพิมพ์ขณะยังมีชีวิตอยู่
- Die große Wundarzney Ulm, 1536 (Hans Varnier) ; Augsburg (Haynrich Stayner (=Steyner)), 1536; Frankfurt/ M. (Georg Raben/ Weygand Hanen), 1536.
- Vom Holz Guaico, 1529.
- Vonn dem Bad Pfeffers in Oberschwytz gelegen, 1535.
- Prognostications, 1536.
ผลงานหลังเสียชีวิต
- Wundt unnd Leibartznei. Frankfurt/ M., 1549 (Christian Egenolff) ; 1555 (Christian Egenolff) ; 1561 (Chr. Egenolff Erben).
- Von der Wundartzney: Ph. Theophrasti von Hohenheim, beyder Artzney Doctoris, 4 Bücher. (Peter Perna), 1577.
- Von den Krankheiten so die Vernunfft Berauben. Basel, 1567.
- Opus Chirurgicum, Bodenstein, Basel, 1581.
- Huser quart edition (medicinal and philosophical treatises), Basel, 1589.
- Chirurgical works (Huser), Basel, 1591 und 1605 (Zetzner).
- Straßburg edition (medicinal and philosophical treatises), 1603.
- Kleine Wund-Artzney. Straßburg (Ledertz) 1608.
- Opera omnia medico-chemico-chirurgica, Genevae, Vol3, 1658.
- Philosophia magna, tractus aliquot, Cöln, 1567.
- Philosophiae et Medicinae utriusque compendium, Basel, 1568.
- Liber de Nymphis, sylphis, pygmaeis et salamandris et de caeteris spiritibus
- Pagel (1982) p. 6, citing K. Bittel, "Ist Paracelsus 1493 oder 1494 geboren?", Med. Welt 16 (1942), p. 1163, J. Strebel, Theophrastus von Hohenheim: Sämtliche Werke vol. 1 (1944), p. 38. The most frequently cited assumption that Paracelsus was born in late 1493 is due to Sudhoff, Paracelsus. Ein deutsches Lebensbild aus den Tagen der Renaissance (1936), p. 11.
- Einsiedeln was under the jurisdiction of Schwyz from 1394 onward; see
- Geoffrey Davenport, Ian McDonald, Caroline Moss-Gibbons (Editors), The Royal College of Physicians and Its Collections: An Illustrated History, Royal College of Physicians, 2001, p. 48.
- Digitaal Wetenschapshistorisch Centrum (DWC) – KNAW: "Franciscus dele Boë"
- Manchester Guardian 19 October 1905
- "The physician and philosopher Sir Thomas Browne". www.levity.com.
- Josephson-Storm, Jason (2017). The Myth of Disenchantment: Magic, Modernity, and the Birth of the Human Sciences. Chicago: University of Chicago Press. p. 55. ISBN .
- . Center for Interdisciplinary Studies in Society and Culture, Concordia University, Montreal. 22 March 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2014. สืบค้นเมื่อ 9 February 2018.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - Josephson-Storm (2017), 238
- Paracelsus self-identifies as Swiss (ich bin von Einsidlen, dess Lands ein Schweizer) in grosse Wundartznei (vol. 1, p. 56) and names Carinthia as his "second fatherland" (das ander mein Vatterland). Karl F. H. Marx, Zur Würdigung des Theophrastus von Hohenheim (1842), p. 3.
- Allen G. Debus, "Paracelsus and the medical revolution of the Renaissance"—A 500th Anniversary Celebration from the National Library of Medicine (1993), p. 3.
- "Paracelsus", Britannica, สืบค้นเมื่อ 24 November 2011
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng aephraeslss xngkvs Paracelsus 11 phvscikayn hrux 17 thnwakhm kh s 1493 24 knyayn kh s 1541 epnaephthy nkelnaeraeprthatu nkethwwithyaaelankprchyachawswis in ekhaepnphukahndkdaehngphiswithya The Discipline of Toxicology xikthngyngepnnkptiwtiphuyunhydineruxngkhxngkarsngektkhwamepnipkhxngthrrmchati aethnthicamwduaekhtaraeka obran ekhayngepnphutngchuxihkbthatusngkasi Zinc odyihchuxwa zincum nkcitwithyasmyihmmkcaihkaryxmrbwaekhaepnphubnthukkhnaerkekiywkberuxngthiwa orkhbangorkhmisaehtumacakphawakarpwythangcitaephraeslssphaphinpikh s 1538 odyekidTheophrastus von Hohenheim kh s 1493 hrux kh s 1494 Egg iklkbixnsiediln rthchwis pccubnkhuxpraethsswitesxraelnd esiychiwit24 knyayn kh s 1541 1541 09 24 47 pi salsburk pccubnkhuxpraethsxxsetriy chuxxunAureolus Philippus Theophrastus hmxaephraesllssisyekaxachiphthangwithyasastrmixiththiphltx kakwm idrbxiththiphlcakphaphwadaephraeslss odyekhwntin aemtsis ekhaepnkhnhwaekhngaelarkxisra etibotkhundwykhwamphidhwngaelachiwitthikhmkhun sungnnexngkhngepnsaehtuthiwathaimekhathungidklayepnnkptirup khawa aephraeslss hmaythung ethiybethahruxyingihykwaeslss sunginthinikhuxphuekhiynsaranukrmchawormnchux xuls khxlenleliys eslss Aulus Cornelius Celsus epnthiruckknineruxngtaraewchsastrkhxngekhaprawtiaephraeslss michuxedimwa Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim ekidaelaetibotthihmuban Einsiedeln praethsswitesxraelnd epnlukchaykhxngwilehlm bxmbsth fxn ohehnihm Wilhelm Bombast von Hohenheim aephthy kb hyingchawswis intxnedkekhaidthanganepnnkwiekhraahthiehmuxng cnemuxxayuid 16 pi ekhakidekhasuksatxdankaraephthythimhawithyalybaesil phayhlngcakthiyayipthiewiynna ekhakidrbpriyyaexkcakmhawithyalyaefrrara cakkarepnaephthyerrxnaelachangkhudaerthaihekhaidedinthangipinhlay praethsthngeyxrmni frngess sepn hngkari enethxraelnd ednmark swiedn aelarsesiy aephraeslsssuksawichahlayaekhnng hnunginnnkhuxdarasastr darasastrepnwichathisakhyinkarphthnawichakaraephthykhxngekha hlngcakkarsuksakhrngniekhaidkhidkhnekhruxngrangkhxngkhlngthangdarasastrsahrbpxngknorkhdwyichsylksn 12 nkstrodyaetsylksnkcapxngknorkhidaetktangkn aelaekhayngidpradisthxksrewthmntrephuxslkchuxethphlnginekhruxngrangkhxngekhaxikdwy aephraeslssepnphurierimnasarekhmiaelaaerthatumaichepnyarksaorkh ekhaichkhawasingkhaethnthatusngkasiinpi 1526 odymacaksphtheyxrmnsingkhthiaeplwaaehlmkhmtamruprangkhxngtwphluksngkasi ekhaichinkarthdlxngephuxsuksarangkaymnusy nxkcakniekhayngmiswnrbphidchxbinkarphlitthingecxrfinxikdwy dwykhwamhyingyoskhxngaephraeslssepnthieluxngluxxyangmakthaihaephthythwthngyuorpokrthekliydekha nnthaihekhadarngtaaehnngaephthythimhawithyalybaesilidimthungpi inkhnathimiephuxnrwmngankhxngekhaklawhawaekhaepnkhnephataraaephthyphunemuxng caknnekhakthukkhbilxxkcakemuxng hlngcakthukkhbxxkcakemuxngaephraeslsskidraeherrxnipyng yuorp aexfrika aelaexechiybangswnephuxsuksakhwamhakhwamruephimetim ekhaidaekikhtaraaelaekhiynkhunihm aetekhaktxngphbkbpyhainkarhaphuphlit cnkrathngpi 1536 hnngsuxeruxng Die Grosse Wundartznei karphatdthismburn khxngekhaidtiphimphaelakuchuxesiyngkhxngekhakhunmaid inchiwitkhxngaephraeslssidekhaipekiywkhxngkbkarkaenidnikayluethxaernaelakhwamkhidehnkhxngekhaineruxngthrrmchatickrwalkmikhwamekhaicmakkwakhabrryayinthangsasna aephraeslssesiychiwitemuxtxnxayuid 48 pitamthrrmchati sphkhxngekhakidrbkarfngthipachaobsthesbasetiyninsalsburktamprarthnakhxngekha aelaidyaymaiwinsusannxkchanobsthinpccubn hlngcakkartaykhxngaephraeslss sastrkhwamrukhxngekhakidepnthiruckmakkhunaelathuknaipichxyangaephrhlayodyphuthitxngkarlmlangkaraephthyaebbeka khtipracatwkhxngaephraeslsskkhux Alterius non sit qui suus esse potest hmaykhwamwa xyaplxyihmiikhrthisamarthepntwkhxngtwexngidipepnkhxngphuxun prchyaaephraeslssechuxinaenwkhidkhxngchawkrikeruxngthatuthngsi aetekhakidesnxaenwkhidephimetiminxikradbhnungwa ckrwalidthuksrangkhuncak tria prima sungprakxbdwy prxth kamathn aelaeklux thatuthngsamniimichthatuthieraruckinpccubn aetepnhlkkarkwang thiihkbthukwtthuthngaeknenuxphayinaelaruprangphaynxk prxthepntwthaihekidepliynaeplngsthana karhlxmehlwaelakarraehy kamathnepntwechuxmrahwangwtthuaelakarepliynaeplngsthana karephaihm aelaekluxepntwthaihekidkaraekhngtw karaekhngtwaelakarkhwbaenn yktwxyangechn karephaimcaid khwnekidcakprxth ifekidcakkamathn aelakhiethaekidcakeklux aenwkhidnikichniyamkbexklksnkhxngmnusyidechnkn khuxkamathnpraktepncitwiyyan xarmnaelakhwamikhr ekluxaethnrangkay aelaprxthepntwaethnkhwamkhid cintnakar karaeykaeyadichw aelapyyaradbsung cakkarthakhwamekhaicthrrmchatikhxng tria prima inechingekhmithaihaephthysamarthkhnphbwithikarrksaorkhtidtxidkarsnbsnunthangkaraephthyaephraeslssepnphurierimkarichaerthatuaelasarekhmiinthangkaraephthy inthangluklbekhamxngwaorkhphyikhecbaelasukhphaphnnkhunxyukbkhwamlngtwkhxngmnusyaelathrrmchati ekhaichwithithiaetktangipcakkhnxunkxnhnani karichkarepriybethiybniimidxyuinlksna khxngcitwiyyanbrisuththi aetxyuinlksnathimnusytxngxyuinsmdulkhxngaerthatuinrangkay aelaxakarecbpwybangprakarkhxngrangkayksamarthrksaihhayiddwysarekhmi phlcakaenwkhideruxngkhwamsmdulni epriybmnusyidkbckrwalelk inckrwalihy dwykhwamruphumipyyainsmynn thiruckdawekhraah 7 dwng olhabnolk 7 chnid aelaxwywaphayin 7 xyang dwykhwamthi 7 epnelkhphiesscungaethndawekhraah olha aelaxwywatang tamtarangdngni dwngdaw olha xwywadwngxathity thxng hwicdwngcnthr engin smxngdawphvhs dibuk tbdawsukr thxngaedng itdawesar takw mamdawxngkhar ehlk thungnadidawphuth prxth pxd echuxorkhekidcakyaphiscakdwngdaw aetyaphisimcaepntxngepnsingthielwrayesmxip ephraasarphisbangtwksamarthlangphisdwyknexngid dngsuphasitthiwa singchwraykthalayknexngid dwyehtunncungthaihsarphisepnphldiinthangkaraephthy ephraathukxyanginckrwalmikhwamsmphnthekiywoyngsungknaelakn sarthiepnpraoychnthangkaraephthysamarthphbidinsmuniphr aelasarprakxbthangekhmi khwamehnkhxngaephraeslssineruxngnithaihekhathukkhbxxkcakkhristckr inthanaphuthithamhakhwamaetktangrahwangphusrangaelaphuthuksrang ekhasrupaenwkhwamkhidkhxngekhawa khncanwnmakidklawthungkarelnaeraeprthatuwaerasuksaephuxsrangthxngaelaenginaetsahrbchn nnimichepahmaykhxngkarsuksaeruxngniephraaepahmaykhxngchnkhux karwiekhraahvththiaelakhunsmbtiinthangkaraephthyethann hipphxkhrathisidhyibykeruxngthvstithiwaxakarecbpwynnekidcakkhwamimsmdulkhxngkhxngehlwsixyanginrangkayxnidaek eluxd esmha nadida aelanadi aenwkhwamkhidnithuknaiptxyxdodykaeln sungmixiththiphlxyangmakaelathawrtxkhwamechuxthangkaraephthy cnkrathngchwngklangkhxngthswrrsthi 185 karrksathimikhxoddednkhuxichxaharechphaathicachwyinkarchwychalangkhxngesiyxxkkhwbkhukbkarthayeluxdxxkephuxkhunkhwamsmdulihkbkhxngehlwsichnidinrangkay idthukaephraeslssesnxaenwkhidihmwaxakarecbpwyinkhnerannimidekidcakphayinaetekidcakrangkaythukthalaydwypccyphaynxk phlnganchinobwaedngkhxngaephraeslsskhuxkarrksaaelaaenwthangkarpxngknkhnnganehmuxngcakecbpwyaelaxntraycaknganolhaaelaekhayngekhiynhnngsuxeruxngrangkaymnusyotaenwkhidkhxngkaelnxikdwyaephraeslsskbphiswithyaaephraeslssphuthukkhnannamwaepnbidaaehngwichaphiswithyaklawiwwa sarthukchnidepnphisaelaimmisaridthiimepnphis yabangprimanethannthicaepnphis hruxeriykngay wa primanyathaihepnphis cakkhaklawkhangtnsrupidwa sarthiphicarnawamiphismakthaichinprimannxykcaplxdphy aetinthangklbknsarthiphicarnawaimepnphisthaichmakkekidphisidehmuxnknphlnganphlngantiphimphkhnayngmichiwitxyu Die grosse Wundarzney Ulm 1536 Hans Varnier Augsburg Haynrich Stayner Steyner 1536 Frankfurt M Georg Raben Weygand Hanen 1536 Vom Holz Guaico 1529 Vonn dem Bad Pfeffers in Oberschwytz gelegen 1535 Prognostications 1536 phlnganhlngesiychiwit Wundt unnd Leibartznei Frankfurt M 1549 Christian Egenolff 1555 Christian Egenolff 1561 Chr Egenolff Erben Von der Wundartzney Ph Theophrasti von Hohenheim beyder Artzney Doctoris 4 Bucher Peter Perna 1577 Von den Krankheiten so die Vernunfft Berauben Basel 1567 Opus Chirurgicum Bodenstein Basel 1581 Huser quart edition medicinal and philosophical treatises Basel 1589 Chirurgical works Huser Basel 1591 und 1605 Zetzner Strassburg edition medicinal and philosophical treatises 1603 Kleine Wund Artzney Strassburg Ledertz 1608 Opera omnia medico chemico chirurgica Genevae Vol3 1658 Philosophia magna tractus aliquot Coln 1567 Philosophiae et Medicinae utriusque compendium Basel 1568 Liber de Nymphis sylphis pygmaeis et salamandris et de caeteris spiritibusbthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk Pagel 1982 p 6 citing K Bittel Ist Paracelsus 1493 oder 1494 geboren Med Welt 16 1942 p 1163 J Strebel Theophrastus von Hohenheim Samtliche Werke vol 1 1944 p 38 The most frequently cited assumption that Paracelsus was born in late 1493 is due to Sudhoff Paracelsus Ein deutsches Lebensbild aus den Tagen der Renaissance 1936 p 11 Einsiedeln was under the jurisdiction of Schwyz from 1394 onward see Geoffrey Davenport Ian McDonald Caroline Moss Gibbons Editors The Royal College of Physicians and Its Collections An Illustrated History Royal College of Physicians 2001 p 48 Digitaal Wetenschapshistorisch Centrum DWC KNAW Franciscus dele Boe Manchester Guardian 19 October 1905 The physician and philosopher Sir Thomas Browne www levity com Josephson Storm Jason 2017 The Myth of Disenchantment Magic Modernity and the Birth of the Human Sciences Chicago University of Chicago Press p 55 ISBN 0 226 40336 X Center for Interdisciplinary Studies in Society and Culture Concordia University Montreal 22 March 2013 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 28 July 2014 subkhnemux 9 February 2018 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Josephson Storm 2017 238 Paracelsus self identifies as Swiss ich bin von Einsidlen dess Lands ein Schweizer in grosse Wundartznei vol 1 p 56 and names Carinthia as his second fatherland das ander mein Vatterland Karl F H Marx Zur Wurdigung des Theophrastus von Hohenheim 1842 p 3 Allen G Debus Paracelsus and the medical revolution of the Renaissance A 500th Anniversary Celebration from the National Library of Medicine 1993 p 3 Paracelsus Britannica subkhnemux 24 November 2011