พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 (เขมร: ជ័យវរ្ម័នទី២; ป. 770–850) (ค. 802–850) เป็นเจ้าชายพระนคร และเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรพระนครองค์แรก หลังจากรวมอารยธรรมขอมเป็นหนึ่งเดียว อาณาจักรพระนครเป็นอารยธรรมที่โดดเด่นในอินโดจีนตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 ถึงกลางศตวรรษที่ 15 พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เป็นกษัตริย์พระนครผู้ประกาศอิสรภาพจากชวา โดยพระองค์ได้ทำการสถาปนาเมืองหลวงหลายแห่ง เช่น มเหนทรบรรพต และหริหราลัย ก่อนที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 จะเสด็จขึ้นครองราชย์ มีการต่อสู้กันมากในหมู่ผู้ปกครองท้องถิ่นซึ่งปกครองส่วนต่าง ๆ ของอาณาจักร โดยพบจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ซึ่งพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้พรรณนาพระองค์ว่าเป็นนักรบและกษัตริย์ผู้ทรงอำนาจสูงสุดในสมัยนั้น นักประวัติศาสตร์เคยลงความเห็นว่ารัชสมัยของพระองค์เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 802 - 835
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พระบาทปรเมศวร | |||||
พระมหากษัตริย์พระนคร | |||||
ครองราชย์ | ค.ศ. 802–850 | ||||
ก่อนหน้า | พระเจ้ามหิปติวรมัน (ในฐานะพระมหากษัตริย์เจนละ) | ||||
ถัดไป | พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 | ||||
เจ้าชายพระนคร | |||||
ดำรงพระยศ | ราว ค.ศ. 770–802 | ||||
ถัดไป | พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 | ||||
พระราชสมภพ | ราว ค.ศ. 770 | ||||
สวรรคต | ค.ศ. 850 (80 พรรษา) อังกอร์, อาณาจักรพระนคร | ||||
คู่อภิเษก | (พระนางกัมพุชราลักษมี) | ||||
พระราชบุตร | พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 | ||||
| |||||
ราชสกุล | วรมัน (ราชสกุล) | ||||
ศาสนา | พราหมณ์-ฮินดู |
พระราชประวัติ
จารึกปราสาทสด๊กก๊อกธม กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เมื่อเสด็จกลับจากชวา ในขณะนั้นพระชนมายุได้ 20 พรรษา พระองค์ได้รวบรวมบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่น ต่อมาได้ทรงประกอบพระราชพิธีอันศักดิ์สิทธิ์บนเขาพนมกุเลน หรือ มเหนทรบรรพต โดยการประกาศเอกราชจากชวา และสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระจักรพรรดิราช จากนั้นทรงทำสงครามเพื่อรวมเอาดินแดนของอาณาจักรใกล้เคียงรวมเข้ากับ อาณาจักรพระนคร พระองค์ได้ทำสงครามปราบปรามอาณาจักรตะบองขะมุม (อาณาจักรของชาวกูย) ซึ่งมีฐานอำนาจอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก เมืองอัตตะปือ และบริเวณอีสานใต้ เพื่อสงบศึกพระนางพิณสวรรครามาวตีผู้ปกครองเมืองวิเภทะ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ, ประเทศไทย) จึงถวายธิดานามว่าปาวิตรา แด่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เพื่อให้อภิเษกสมรส ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงสถาปนาพระนางปาวิตราเทวี ขึ้นเป็นพระอัครมเหสีพระนามว่า พระนางกัมพุชราชลักษมี และแต่งตั้งพระเชษฐาของพระนางปาวิตราคือ วิษณุวาล เป็น ขุนพลและผู้ดูแลพระคลังส่วนพระองค์ ต่อมาวิษณุวาลกลายเป็นขุนพลผู้ยิ่งใหญ่ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ในการทำสงครามเพื่อขยายอาณาจักรพระนครออกไปจนกว้างใหญ่ จารึกศิวศักติ กล่าวว่าพระเจ้าชัยวรมันที่2 ทรงโปรดให้สร้างปราสาทพระวิหารเพื่อถวายแด่พระศิวะ และใด้กำหนดพื้นที่หลายแห่งบริเวณพระวิหารและใกล้เคียงเป็นเขตศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า "ภวาลัย"
สถาปนาลัทธิเทวราชา
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้รับการยกย่องว่าเป็นกษัตริย์ผู้วางรากฐานของระบอบกษัตริย์แบบสมมุติเทพ หรือลัทธิบูชาบุคคลที่นิยามว่ากษัตริย์คือเทพเจ้าที่ลงมาจุติเพื่อปกครองและให้ความช่วยเหลือมนุษย์ กษัตริย์ทรงเปรียบเสมือนองค์สมมุติเทพ เป็นอวตารของเทพเจ้าปางต่างๆที่เสด็จลงมายังโลกมนุษย์ โดยจุดเริ่มต้นของระบอบเทวราชในอาณาจักรขะแมร์เกิดจากการประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์เพื่อส่งผ่านจิตวิญญาณของเทพเจ้าลงในร่างของกษัตริย์มนุษย์พิธีนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 802 บนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ "มเหนทรบรรพต" ปัจจุบันเป็นที่รู้จักในนาม พนมกุเลน เพื่อเฉลิมฉลองความเป็นอิสระของ "อาณาจักรพระนคร" และเพื่อประกาศพระเกียรติยศของกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่เป็นดั่งเทพเจ้า ในพิธีนี้พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์และสมมุติเทพโดยพราหมณ์ศิวไกวัลย์ จารึกจากปราสาทสด๊กก๊อกธมระบุว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้ให้พราหมณ์ขึ้นไปประกอบพิธีเทวราชเพื่อสถาปนาให้พระองค์เป็นเทวราชาที่เขาพนมกุเลน และพระองค์ทรงประกาศเอกราชจากชวาด้วย
ประกาศเอกราชจากชวา
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงเป็นเจ้าชายจากอาณาจักรเจละทรงไปศึกษาเล่าเรียนบนเกาะชวาในฐานะ “ราชบุตรบุญธรรม” ซึ่งมีความหมายเดียวกับการเป็น “องค์ประกัน” เมื่อเจ้าชายชัยวรมันที่ 2 เสด็จกลับจากชวาทรงรวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นในนาม “อาณาจักรพระนคร” (Khmer Empire) ทรงนำคติในลัทธิบูชาบุคคลมาเผยแพร่และทรงเริ่มต้นสร้างศาสนสถานเพื่อบูชาเทพเจ้า เมื่อพระองค์เสด็จกลับมาครองอาณาจักรเจนละน้ำแล้วพระองค์จึงวางแผนที่จะประกาศอิสรภาพจากชวา เมื่อชวาล่วงรู้ ในปี ค.ศ. 780 กษัตริย์ชวาแห่งราชวงศ์ ไศเลนทร์ (Sailendra) ได้ยกทัพเรือบุกเข้าปราบปราม พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้หลบหนีไปยังอินทรปุระในปี ค.ศ. 781 ต่อมาในปี ค.ศ. 790 ได้ประกาศสงครามขับไล่ชาวชวาออกจากดินแดนของ "อาณาจักรเจนละน้ำ" ทรงสามารถขับไล่ชวาออกไปได้สำเร็จในปี ศ.ศ. 800 จากนั้นทรงรวมอาณาจักรเจนละบก และอาณาจักรเจนละน้ำเข้าด้วยกันสถาปนาเป็นอาณาจักรพระนคร และย้ายเมืองหลวงไปยังเทือกเขาพนมกูเลน โดยมีเมืองหลวงคือ "มเหนทรบรรพต" ทรงทำพิธีปราบดาภิเษกและประกาศเอกราชจากชวาในปี ค.ศ. 802
สวรรคต
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 สวรรคตเมื่อประมาณ ค.ศ.850 มีพระนามเมื่อสวรรคตแล้วว่า "พระบาทปรเมศวร"
อ้างอิง
- Jean Boisselier (1956). Trends in Khmer Art Volume 6 of Studies on Southeast Asia. Ithaca, N.Y. : Southeast Asia Program, Cornell University, 1989. p. 118. ISBN .
- Wolters, O. (1973). Jayavarman II's Military Power: The Territorial Foundation of the Angkor Empire. Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland, (1), 21. Retrieved July 8, 2020, from www.jstor.org/stable/25203407
- Charles Higham (2001). The Civilization of Angkor. University of California Press. p. 192-54. ISBN .
- ปาวิตรา-กัมพุชลักษมี สุดยอดสาวงามดินแดนเขาพระวิหาร จ.ศรีสะเกษ พ.ศ. 1348.bloggang.com,2555
- จารึกปราสาทเขาพระวิหาร ศิวศักติ K. ๓๘๒.
- เจ้าพิธีลัทธิเทวราช อยู่สด๊กก๊อกธม จ.สระแก้ว ชุมทางเครือข่ายอำนาจ.สุจิตต์ วงษ์เทศ,มติชนสุดสัปดาห์,2562
ก่อนหน้า | พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา (อาณาจักรพระนคร ) (พ.ศ. 1345 - พ.ศ. 1393) | พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraecachywrmnthi 2 ekhmr ជ យវរ ម នទ ២ p 770 850 kh 802 850 epnecachayphrankhr aelaepnphramhakstriyaehngxanackrphrankhrxngkhaerk hlngcakrwmxarythrrmkhxmepnhnungediyw xanackrphrankhrepnxarythrrmthioddedninxinodcintngaetstwrrsthi 9 thungklangstwrrsthi 15 phraecachywrmnthi 2 epnkstriyphrankhrphuprakasxisrphaphcakchwa odyphraxngkhidthakarsthapnaemuxnghlwnghlayaehng echn mehnthrbrrpht aelahrihraly kxnthiphraecachywrmnthi 2 caesdckhunkhrxngrachy mikartxsuknmakinhmuphupkkhrxngthxngthinsungpkkhrxngswntang khxngxanackr odyphbcarukkhxngphraecachywrmnthi 2 sungphraecachywrmnthi 2 idphrrnnaphraxngkhwaepnnkrbaelakstriyphuthrngxanacsungsudinsmynn nkprawtisastrekhylngkhwamehnwarchsmykhxngphraxngkherimtngaet kh s 802 835phraecachywrmnthi 2phrabathpremswrphramhakstriyphrankhrkhrxngrachykh s 802 850kxnhnaphraecamhiptiwrmn inthanaphramhakstriyecnla thdipphraecachywrmnthi 3ecachayphrankhrdarngphraysraw kh s 770 802thdipphraecachywrmnthi 3phrarachsmphphraw kh s 770swrrkhtkh s 850 80 phrrsa xngkxr xanackrphrankhrkhuxphiesk phranangkmphuchralksmi phrarachbutrphraecachywrmnthi 3phranametmphrakmretngxysrichywrmnethwa w ra km retng xy s richywr m methw rachskulwrmn rachskul sasnaphrahmn hinduphrarachprawticarukprasathsdkkxkthm klawthungphraecachywrmnthi 2 emuxesdcklbcakchwa inkhnannphrachnmayuid 20 phrrsa phraxngkhidrwbrwmbanemuxngihepnpukaephn txmaidthrngprakxbphrarachphithixnskdisiththibnekhaphnmkueln hrux mehnthrbrrpht odykarprakasexkrachcakchwa aelasthapnaphraxngkhkhunepnphrackrphrrdirach caknnthrngthasngkhramephuxrwmexadinaednkhxngxanackriklekhiyngrwmekhakb xanackrphrankhr phraxngkhidthasngkhramprabpramxanackrtabxngkhamum xanackrkhxngchawkuy sungmithanxanacxyubriewnethuxkekhaphnmdngrk emuxngxttapux aelabriewnxisanit ephuxsngbsukphranangphinswrrkhramawtiphupkkhrxngemuxngwiephtha pccubnxyuinekhtphunthicnghwdsrisaeks praethsithy cungthwaythidanamwapawitra aedphraecachywrmnthi 2 ephuxihxphiesksmrs txmaphraecachywrmnthi 2 thrngsthapnaphranangpawitraethwi khunepnphraxkhrmehsiphranamwa phranangkmphuchrachlksmi aelaaetngtngphraechsthakhxngphranangpawitrakhux wisnuwal epn khunphlaelaphuduaelphrakhlngswnphraxngkh txmawisnuwalklayepnkhunphlphuyingihykhxngphraecachywrmnthi 2 inkarthasngkhramephuxkhyayxanackrphrankhrxxkipcnkwangihy caruksiwskti klawwaphraecachywrmnthi2 thrngoprdihsrangprasathphrawiharephuxthwayaedphrasiwa aelaidkahndphunthihlayaehngbriewnphrawiharaelaiklekhiyngepnekhtskdisiththi eriykwa phwaly sthapnalththiethwrachaphraecachywrmnthi 2 idrbkarykyxngwaepnkstriyphuwangrakthankhxngrabxbkstriyaebbsmmutiethph hruxlththibuchabukhkhlthiniyamwakstriykhuxethphecathilngmacutiephuxpkkhrxngaelaihkhwamchwyehluxmnusy kstriythrngepriybesmuxnxngkhsmmutiethph epnxwtarkhxngethphecapangtangthiesdclngmayngolkmnusy odycuderimtnkhxngrabxbethwrachinxanackrkhaaemrekidcakkarprakxbphithikrrmxnskdisiththiephuxsngphancitwiyyankhxngethphecalnginrangkhxngkstriymnusyphithiniekidkhunkhrngaerkinpi kh s 802 bnphuekhaskdisiththi mehnthrbrrpht pccubnepnthiruckinnam phnmkueln ephuxechlimchlxngkhwamepnxisrakhxng xanackrphrankhr aelaephuxprakasphraekiyrtiyskhxngkstriyphuyingihyepndngethpheca inphithiniphraecachywrmnthi 2 idrbkarsthapnakhunepnkstriyaelasmmutiethphodyphrahmnsiwikwly carukcakprasathsdkkxkthmrabuwaphraecachywrmnthi 2 idihphrahmnkhunipprakxbphithiethwrachephuxsthapnaihphraxngkhepnethwrachathiekhaphnmkueln aelaphraxngkhthrngprakasexkrachcakchwadwyprakasexkrachcakchwaphraecachywrmnthi 2 thrngepnecachaycakxanackreclathrngipsuksaelaeriynbnekaachwainthana rachbutrbuythrrm sungmikhwamhmayediywkbkarepn xngkhprakn emuxecachaychywrmnthi 2 esdcklbcakchwathrngrwbrwmxanackrihepnpukaephninnam xanackrphrankhr Khmer Empire thrngnakhtiinlththibuchabukhkhlmaephyaephraelathrngerimtnsrangsasnsthanephuxbuchaethpheca emuxphraxngkhesdcklbmakhrxngxanackrecnlanaaelwphraxngkhcungwangaephnthicaprakasxisrphaphcakchwa emuxchwalwngru inpi kh s 780 kstriychwaaehngrachwngs iselnthr Sailendra idykthpheruxbukekhaprabpram phraecachywrmnthi 2 idhlbhniipyngxinthrpurainpi kh s 781 txmainpi kh s 790 idprakassngkhramkhbilchawchwaxxkcakdinaednkhxng xanackrecnlana thrngsamarthkhbilchwaxxkipidsaercinpi s s 800 caknnthrngrwmxanackrecnlabk aelaxanackrecnlanaekhadwyknsthapnaepnxanackrphrankhr aelayayemuxnghlwngipyngethuxkekhaphnmkueln odymiemuxnghlwngkhux mehnthrbrrpht thrngthaphithiprabdaphieskaelaprakasexkrachcakchwainpi kh s 802swrrkhtphraecachywrmnthi 2 swrrkhtemuxpraman kh s 850 miphranamemuxswrrkhtaelwwa phrabathpremswr xangxingJean Boisselier 1956 Trends in Khmer Art Volume 6 of Studies on Southeast Asia Ithaca N Y Southeast Asia Program Cornell University 1989 p 118 ISBN 0877277052 Wolters O 1973 Jayavarman II s Military Power The Territorial Foundation of the Angkor Empire Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland 1 21 Retrieved July 8 2020 from www jstor org stable 25203407 Charles Higham 2001 The Civilization of Angkor University of California Press p 192 54 ISBN 9780520234420 pawitra kmphuchlksmi sudyxdsawngamdinaednekhaphrawihar c srisaeks ph s 1348 bloggang com 2555 carukprasathekhaphrawihar siwskti K 382 ecaphithilththiethwrach xyusdkkxkthm c sraaekw chumthangekhruxkhayxanac sucitt wngseths mtichnsudspdah 2562 kxnhna phraecachywrmnthi 2 thdipphramhakstriyaehngrachxanackrkmphucha xanackrphrankhr ph s 1345 ph s 1393 phraecachywrmnthi 3