บทความนี้ไม่มีจาก |
ในทางคณิตศาสตร์ ผลรวม (อังกฤษ: summation) หมายถึงการบวกของเซตของจำนวน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เป็น ผลบวก (sum, total) จำนวนที่กล่าวถึงอาจเป็นจำนวนธรรมชาติ จำนวนเชิงซ้อน เมตริกซ์ หรือวัตถุอื่นที่ซับซ้อนกว่านั้น ผลรวมไม่จำกัดของลำดับเรียกว่าเป็นอนุกรม
สัญกรณ์
ผลรวมของลำดับ 1, 2, 4 คือ 1 + 2 + 4 = 7 ดังนั้นผลบวกก็คือ 7 และเนื่องจากการบวกมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ จึงไม่สำคัญที่จะแปลผล 1 + 2 + 4 ว่าเป็น (1 + 2) + 4 หรือ 1 + (2 + 4) เพราะถึงอย่างไรก็ให้ผลลัพธ์เหมือนกัน ดังนั้นเครื่องหมายวงเล็บจึงมักจะถูกละทิ้งในการเขียนผลรวม นอกจากนั้นการบวกจำนวนจำกัดมีสมบัติการสลับที่ จึงทำให้ลำดับในการบวกจำนวนก่อนหรือหลังก็ไม่ส่งผลต่อผลบวกสุดท้าย (สำหรับสมบัติการสลับที่ของการบวกจำนวนไม่จำกัด ดูเพิ่มที่การลู่เข้าสัมบูรณ์)
ถ้าหากผลรวมหนึ่งๆ มีพจน์มากเกินไปเกินกว่าจะเขียนให้แยกออกจากกัน มักจะย่อด้วยจุดไข่ปลาตรงตำแหน่งพจน์ที่หายไป ตัวอย่างเช่น ผลรวมของจำนวนธรรมชาติตั้งแต่ 1 ถึง 100 เขียนได้เป็น 1 + 2 + … + 99 + 100 = 5050
สัญกรณ์ซิกมาตัวใหญ่
คณิตศาสตร์มีสัญกรณ์พิเศษมาใช้เพื่อที่จะเขียนผลรวมให้กะทัดรัดมากขึ้น นั่นคือ สัญลักษณ์ผลรวม ∑ (U+2211) โดยยืมมาจากอักษรกรีกซิกมาตัวใหญ่ Σ ซึ่งนิยามการใช้ไว้ว่า
ตัวห้อยที่อยู่ข้างล่าง i เป็นสัญลักษณ์แทนดัชนีของผลรวม m คือขอบเขตล่างของผลรวม และ n คือขอบเขตบนของผลรวม การที่กำหนดให้ i = m หมายความว่าดัชนี i เริ่มตั้งแต่ค่าที่เท่ากับ m พจน์ถัดไปจะถูกสร้างขึ้นโดยเพิ่มค่า i ขึ้นไปทีละหนึ่งของค่าก่อนหน้า และหยุดเมื่อ i = n เราสามารถใช้ตัวแปรอื่นแทน i ก็ได้ เช่น
ถึงแม้ว่าชื่อของตัวแปรดัชนีจะไม่มีความสำคัญ เรามักจะใช้อักษรละตินช่วงกลาง (i ไปถึง q) เพื่อใช้แสดงจำนวนเต็มถ้าหากเกิดความสับสนขึ้น
บางครั้งเราอาจพบการเขียนแบบไม่เป็นทางการ โดยการตัดดัชนีและขอบเขตของผลรวมออกไป เมื่อสิ่งเหล่านี้ได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนแล้วในบริบท เช่น
- จะมีความหมายเทียบเท่ากับ
หรืออาจพบรูปแบบการใส่เงื่อนไขทางตรรกะลงไปแทน ซึ่งผลรวมนั้นตั้งใจที่จะบวกค่าที่ตรงตามเงื่อนไขเข้าด้วยกันทั้งหมด ตัวอย่างเช่น
คือผลรวมของ f (k) บนทุกจำนวนเต็ม k ที่อยู่ในช่วงดังกล่าว
คือผลรวมของ f (x) บนทุกสมาชิก x ในเซต S และ
คือผลรวมของ μ (d) บนทุกจำนวนเต็ม d ที่หาร n ได้ลงตัว เป็นต้น
นอกจากนี้ก็ยังมีอีกทางหนึ่งเพื่อนำเสนอแทนการใช้สัญลักษณ์ผลรวมจำนวนมาก เราอาจยุบเข้าด้วยกันได้ เช่น
- จะมีความหมายเหมือนกับ
สัญกรณ์ภาษาโปรแกรม
ในภาษาโปรแกรมบางภาษาใช้สัญกรณ์อย่างย่อแทนผลรวมคล้ายกับสัญกรณ์คณิตศาสตร์ อย่างเช่นภาษาไพทอน
sum (x[m:n+1])
sum (x(m:n))
+/x
ส่วนในภาษาอื่นๆ ที่ไม่มีสัญกรณ์แทนผลรวม ก็ต้องเขียนเป็นการวนรอบแทน เช่นภาษาวิชวลเบสิก/
Sum = 0 For I = M To N Sum = Sum + X (I) Next I
หรือภาษาซี/ซีพลัสพลัส/ซีชาร์ป/จาวา สมมติว่าตัวแปรที่เกี่ยวข้องถูกกำหนดค่าแล้ว
int i; int sum = 0; for (i = m; i <= n; i++) { sum += x[i]; }
ในบางกรณี การวนรอบก็สามารถย่อให้สั้นลงได้ อย่างเช่นภาษาเพิร์ล
$sum = 0; $sum += $x[$_] for ($m..$n) ;
x[m..n].inject{|a,b| a+b} x[m..n].inject (0) {|a,b| a+b}
สำหรับภาษาซีพลัสพลัส สามารถเรียกใช้ฟังก์ชันจากไลบรารีมาตรฐานได้
std::accumulate (&x[m], &x[n + 1], 0)
สังเกตว่าตัวอย่างข้างต้นจะเริ่มต้นด้วยการกำหนดให้ตัวแปรผลบวกเป็น 0 ซึ่งเป็นสมาชิกเอกลักษณ์สำหรับการบวก แต่บางภาษาจะกำหนดให้โดยอัตโนมัติ และของตัวอย่างทั้งหมดข้างต้น จะได้เป็นสเกลาร์ค่าหนึ่ง
กรณีพิเศษ
มีความเป็นไปได้ที่ผลรวมจะประกอบขึ้นจากสมาชิกน้อยกว่า 2 ตัว
- ถ้าผลรวมมีพจน์เดียวคือ x ดังนั้นผลบวกก็เท่ากับ x กรณีนี้จะเกิดเมื่อ m = n ตามนิยามข้างบน
- ถ้าผลรวมไม่มีพจน์ใดอยู่เลย ดังนั้นผลบวกก็เท่ากับ 0 เพราะว่า 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก ผลรวมชนิดนี้เรียกว่า ผลรวมว่าง กรณีนี้จะเกิดเมื่อ m > n หรือไม่มีสมาชิกใดตรงตามเงื่อนไขที่ระบุในผลรวม
การประมาณค่าด้วยปริพันธ์
การประมาณค่าของผลรวม สามารถคำนวณได้จากความสัมพันธ์ระหว่างผลรวมกับปริพันธ์ต่อไปนี้ สำหรับฟังก์ชันเพิ่ม f
และฟังก์ชันลด f
ส่วนการประมาณค่าแบบทั่วไป ดูได้ที่ (Euler-Maclaurin formula)
สำหรับฟังก์ชัน f ที่สามารถหาปริพันธ์ได้ในช่วง [a, b] ค่าของปริพันธ์สามารถประมาณค่าได้ด้วย (Riemann sum) ตัวอย่างเช่น สูตรต่อไปนี้คือผลบวกรีมันน์ข้างซ้ายที่แบ่งช่วงเป็น n ส่วนเท่ากัน
ซึ่งการประมาณค่านี้จะแม่นยำมากขึ้น เมื่อ n มีค่ามากขึ้น (ถูกแบ่งเป็นส่วนมากขึ้น) จนเข้าใกล้อนันต์
เอกลักษณ์
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นเอกลักษณ์ที่เกี่ยวกับผลรวมที่สำคัญ
- เมื่อ C เป็นค่าคงตัว (ดูเพิ่มที่)
- เมื่อ C เป็นค่าคงตัว
- เป็นนิยามของการคูณ เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มซึ่งเป็นตัวคูณของ x
- (ดูเพิ่มที่อนุกรมเลขคณิต)
- (กรณีพิเศษของอนุกรมเลขคณิต)
- เมื่อ เป็นจำนวนแบร์นูลลีตัวที่ k
- (ดูเพิ่มที่อนุกรมเรขาคณิต)
- (กรณีพิเศษของสูตรก่อนหน้านี้ เมื่อ m = 0)
- (ดูเพิ่มที่)
- (ดูเพิ่มที่ผลคูณของอนุกรม)
- (ดูเพิ่มที่)
- สำหรับ
อัตราการเติบโต
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นอัตราการเติบโต โดยใช้สัญกรณ์ทีตา
- สำหรับจำนวนจริง c ที่มากกว่า −1
- สำหรับจำนวนจริง c ที่มากกว่า 1
- สำหรับจำนวนจริง c ที่ไม่เป็นลบ
- สำหรับจำนวนจริง c, d ที่ไม่เป็นลบทั้งหมด
- สำหรับจำนวนจริง b > 1, c, d ที่ไม่เป็นลบทั้งหมด
ดูเพิ่ม
- ผลรวมตรวจสอบ (checksum)
- ผลคูณ
แหล่งข้อมูลอื่น
- Nicholas J. Higham, "The accuracy of floating point summation", SIAM J. Scientific Computing 14 (4), 783–799 (1993).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inthangkhnitsastr phlrwm xngkvs summation hmaythungkarbwkkhxngestkhxngcanwn sungcaihphllphthepn phlbwk sum total canwnthiklawthungxacepncanwnthrrmchati canwnechingsxn emtriks hruxwtthuxunthisbsxnkwann phlrwmimcakdkhxngladberiykwaepnxnukrmsykrnphlrwmkhxngladb 1 2 4 khux 1 2 4 7 dngnnphlbwkkkhux 7 aelaenuxngcakkarbwkmismbtikarepliynhmu cungimsakhythicaaeplphl 1 2 4 waepn 1 2 4 hrux 1 2 4 ephraathungxyangirkihphllphthehmuxnkn dngnnekhruxnghmaywngelbcungmkcathuklathinginkarekhiynphlrwm nxkcaknnkarbwkcanwncakdmismbtikarslbthi cungthaihladbinkarbwkcanwnkxnhruxhlngkimsngphltxphlbwksudthay sahrbsmbtikarslbthikhxngkarbwkcanwnimcakd duephimthikarluekhasmburn thahakphlrwmhnung miphcnmakekinipekinkwacaekhiynihaeykxxkcakkn mkcayxdwycudikhplatrngtaaehnngphcnthihayip twxyangechn phlrwmkhxngcanwnthrrmchatitngaet 1 thung 100 ekhiynidepn 1 2 99 100 5050 sykrnsikmatwihy khnitsastrmisykrnphiessmaichephuxthicaekhiynphlrwmihkathdrdmakkhun nnkhux sylksnphlrwm U 2211 odyyummacakxksrkriksikmatwihy S sungniyamkarichiwwa i mnxi xm xm 1 xm 2 xn 1 xn displaystyle sum i m n x i x m x m 1 x m 2 cdots x n 1 x n dd twhxythixyukhanglang i epnsylksnaethndchnikhxngphlrwm m khuxkhxbekhtlangkhxngphlrwm aela n khuxkhxbekhtbnkhxngphlrwm karthikahndih i m hmaykhwamwadchni i erimtngaetkhathiethakb m phcnthdipcathuksrangkhunodyephimkha i khunipthilahnungkhxngkhakxnhna aelahyudemux i n erasamarthichtwaeprxunaethn i kid echn k 26k2 22 32 42 52 62 90 displaystyle sum k 2 6 k 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 2 90 dd thungaemwachuxkhxngtwaeprdchnicaimmikhwamsakhy eramkcaichxksrlatinchwngklang i ipthung q ephuxichaesdngcanwnetmthahakekidkhwamsbsnkhun bangkhrngeraxacphbkarekhiynaebbimepnthangkar odykartddchniaelakhxbekhtkhxngphlrwmxxkip emuxsingehlaniidxthibayiwxyangchdecnaelwinbribth echn xi2 displaystyle sum x i 2 camikhwamhmayethiybethakb i 1nxi2 displaystyle sum i 1 n x i 2 dd hruxxacphbrupaebbkarisenguxnikhthangtrrkalngipaethn sungphlrwmnntngicthicabwkkhathitrngtamenguxnikhekhadwyknthnghmd twxyangechn 0 k lt 100f k displaystyle sum 0 leq k lt 100 f k dd khuxphlrwmkhxng f k bnthukcanwnetm k thixyuinchwngdngklaw x Sf x displaystyle sum x in S f x dd khuxphlrwmkhxng f x bnthuksmachik x inest S aela d nm d displaystyle sum d n mu d dd khuxphlrwmkhxng m d bnthukcanwnetm d thihar n idlngtw epntn nxkcaknikyngmixikthanghnungephuxnaesnxaethnkarichsylksnphlrwmcanwnmak eraxacyubekhadwyknid echn ℓ ℓ displaystyle sum ell ell camikhwamhmayehmuxnkb ℓ ℓ displaystyle sum ell sum ell dd sykrnphasaopraekrm inphasaopraekrmbangphasaichsykrnxyangyxaethnphlrwmkhlaykbsykrnkhnitsastr xyangechnphasaiphthxn sum x m n 1 phasafxraethrnaelaaemtaelb sum x m n x swninphasaxun thiimmisykrnaethnphlrwm ktxngekhiynepnkarwnrxbaethn echnphasawichwlebsik Sum 0 For I M To N Sum Sum X I Next I hruxphasasi siphlsphls sicharp cawa smmtiwatwaeprthiekiywkhxngthukkahndkhaaelw int i int sum 0 for i m i lt n i sum x i inbangkrni karwnrxbksamarthyxihsnlngid xyangechnphasaephirl sum 0 sum x for m n phasarubi x m n inject a b a b x m n inject 0 a b a b sahrbphasasiphlsphls samartheriykichfngkchncakilbrarimatrthanid std accumulate amp x m amp x n 1 0 sngektwatwxyangkhangtncaerimtndwykarkahndihtwaeprphlbwkepn 0 sungepnsmachikexklksnsahrbkarbwk aetbangphasacakahndihodyxtonmti aelakhxngtwxyangthnghmdkhangtn caidepnseklarkhahnung krniphiess mikhwamepnipidthiphlrwmcaprakxbkhuncaksmachiknxykwa 2 tw thaphlrwmmiphcnediywkhux x dngnnphlbwkkethakb x krninicaekidemux m n tamniyamkhangbn thaphlrwmimmiphcnidxyuely dngnnphlbwkkethakb 0 ephraawa 0 epnexklksnkarbwk phlrwmchnidnieriykwa phlrwmwang krninicaekidemux m gt n hruximmismachikidtrngtamenguxnikhthirabuinphlrwmkarpramankhadwypriphnthkarpramankhakhxngphlrwm samarthkhanwnidcakkhwamsmphnthrahwangphlrwmkbpriphnthtxipni sahrbfngkchnephim f s a 1bf s ds i abf i s ab 1f s ds displaystyle int s a 1 b f s ds leq sum i a b f i leq int s a b 1 f s ds dd aelafngkchnld f s ab 1f s ds i abf i s a 1bf s ds displaystyle int s a b 1 f s ds leq sum i a b f i leq int s a 1 b f s ds dd swnkarpramankhaaebbthwip duidthi Euler Maclaurin formula sahrbfngkchn f thisamarthhapriphnthidinchwng a b khakhxngpriphnthsamarthpramankhaiddwy Riemann sum twxyangechn sutrtxipnikhuxphlbwkrimnnkhangsaythiaebngchwngepn n swnethakn b an i 0n 1f a ib an abf x dx displaystyle frac b a n sum i 0 n 1 f left a i frac b a n right approx int a b f x dx dd sungkarpramankhanicaaemnyamakkhun emux n mikhamakkhun thukaebngepnswnmakkhun cnekhaiklxnnt limn b an i 0n 1f a ib an abf x dx displaystyle lim n rightarrow infty frac b a n sum i 0 n 1 f left a i frac b a n right int a b f x dx dd exklksntwxyangtxipniepnexklksnthiekiywkbphlrwmthisakhy n stC f n C n stf n displaystyle sum n s t C cdot f n C cdot sum n s t f n emux C epnkhakhngtw duephimthi i snf C n s 1 f C displaystyle sum i s n f C n s 1 f C emux C epnkhakhngtw n stf n n stg n n st f n g n displaystyle sum n s t f n sum n s t g n sum n s t left f n g n right n stf n n s pt pf n p displaystyle sum n s t f n sum n s p t p f n p n sjf n n j 1tf n n stf n displaystyle sum n s j f n sum n j 1 t f n sum n s t f n i mnx n m 1 x displaystyle sum i m n x n m 1 x i 1nx nx displaystyle sum i 1 n x nx epnniyamkhxngkarkhun emux n epncanwnetmsungepntwkhunkhxng x i mni n m 1 n m 2 displaystyle sum i m n i frac n m 1 n m 2 duephimthixnukrmelkhkhnit i 0ni i 1ni n n 1 2 displaystyle sum i 0 n i sum i 1 n i frac n n 1 2 krniphiesskhxngxnukrmelkhkhnit i 1ni2 n n 1 2n 1 6 n33 n22 n6 displaystyle sum i 1 n i 2 frac n n 1 2n 1 6 frac n 3 3 frac n 2 2 frac n 6 i 1ni3 n n 1 2 2 n44 n32 n24 i 1ni 2 displaystyle sum i 1 n i 3 left frac n n 1 2 right 2 frac n 4 4 frac n 3 2 frac n 2 4 left sum i 1 n i right 2 i 1ni4 n n 1 2n 1 3n2 3n 1 30 n55 n42 n33 n30 displaystyle sum i 1 n i 4 frac n n 1 2n 1 3n 2 3n 1 30 frac n 5 5 frac n 4 2 frac n 3 3 frac n 30 i 0nip n 1 p 1p 1 k 1pBkp k 1 pk n 1 p k 1 displaystyle sum i 0 n i p frac n 1 p 1 p 1 sum k 1 p frac B k p k 1 p choose k n 1 p k 1 emux Bk displaystyle B k epncanwnaebrnullitwthi k dd i mnxi xn 1 xmx 1 displaystyle sum i m n x i frac x n 1 x m x 1 duephimthixnukrmerkhakhnit i 0nxi xn 1 1x 1 displaystyle sum i 0 n x i frac x n 1 1 x 1 krniphiesskhxngsutrkxnhnani emux m 0 i 0ni2i 2 2n 1 n 1 displaystyle sum i 0 n i2 i 2 2 n 1 n 1 i 0ni2i 2n 1 n 22n displaystyle sum i 0 n frac i 2 i frac 2 n 1 n 2 2 n i 0nixi x 1 x 2 xn n x 1 1 1 displaystyle sum i 0 n ix i frac x 1 x 2 x n n x 1 1 1 i 0ni2xi x 1 x 3 1 x n 1 2xn 2n2 2n 1 xn 1 n2xn 2 displaystyle sum i 0 n i 2 x i frac x 1 x 3 1 x n 1 2 x n 2n 2 2n 1 x n 1 n 2 x n 2 dd i 0n ni 2n displaystyle sum i 0 n n choose i 2 n duephimthi i 0n 1 ik nk 1 displaystyle sum i 0 n 1 i choose k n choose k 1 iai jbj i jaibj displaystyle left sum i a i right left sum j b j right sum i sum j a i b j dd iai 2 2 i j lt iaiaj iai2 displaystyle left sum i a i right 2 2 sum i sum j lt i a i a j sum i a i 2 n abf n n baf n displaystyle sum n a b f n sum n b a f n n stf n n t sf n displaystyle sum n s t f n sum n t s f n n 0tf 2n n 0tf 2n 1 n 02t 1f n displaystyle sum n 0 t f 2n sum n 0 t f 2n 1 sum n 0 2t 1 f n n 0t i 0z 1f z n i n 0z t z 1f n displaystyle sum n 0 t sum i 0 z 1 f z cdot n i sum n 0 z cdot t z 1 f n b n stf n n stb f n displaystyle widehat b left sum n s t f n right prod n s t widehat b f n duephimthiphlkhunkhxngxnukrm n stln f n ln n stf n displaystyle sum n s t ln f n ln prod n s t f n limt n atf n n a f n displaystyle lim t rightarrow infty sum n a t f n sum n a infty f n duephimthi a b n i 0n ni a n i bi displaystyle a b n sum i 0 n n choose i a n i b i sahrb n b 1 bn2 b2 n 12b12n displaystyle sum n b 1 infty frac b n 2 b 2 sum n 1 2b frac 1 2n i 1nfi x i 1nfi x displaystyle left sum i 1 n f i x right prime sum i 1 n f i prime x limn i 0nf a b ani b an abf x dx displaystyle lim n to infty sum i 0 n f left a frac b a n i right cdot frac b a n int a b f x dx dd xtrakaretibottwxyangtxipniepnxtrakaretibot odyichsykrnthita i 1nic 8 nc 1 displaystyle sum i 1 n i c Theta n c 1 sahrbcanwncring c thimakkwa 1 i 1n1i 8 log n displaystyle sum i 1 n frac 1 i Theta log n i 1nci 8 cn displaystyle sum i 1 n c i Theta c n sahrbcanwncring c thimakkwa 1 i 1nlog i c 8 n log n c displaystyle sum i 1 n log i c Theta n cdot log n c sahrbcanwncring c thiimepnlb i 1nlog i c id 8 nd 1 log n c displaystyle sum i 1 n log i c cdot i d Theta n d 1 cdot log n c sahrbcanwncring c d thiimepnlbthnghmd i 1nlog i c id bi 8 nd log n c bn displaystyle sum i 1 n log i c cdot i d cdot b i Theta n d cdot log n c cdot b n sahrbcanwncring b gt 1 c d thiimepnlbthnghmd dd duephimphlrwmtrwcsxb checksum phlkhunaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phlrwm Nicholas J Higham The accuracy of floating point summation SIAM J Scientific Computing 14 4 783 799 1993