บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ประวัติอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคิดเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายเดียวที่สามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างระบบกันสามารถสื่อสารกันได้นั้นได้มีการพัฒนาผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนด้วยกัน การหลอมรวมกันของการพัฒนาเหล่านั้นได้นำไปสู่เครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลายที่รู้จักกันในชื่อว่า อินเทอร์เน็ต การพัฒนาเหล่านั้นมีทั้งในแง่การพัฒนาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายและที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกัน
ความคิดเรื่องนี้ในครั้งแรก ๆ ปรากฏขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนำแนวคิดเหล่านี้ไปปฏิบัติได้จริงนั้นเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยีซึ่งนับได้ว่าเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่นั้นได้เริ่มแพร่หลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของเวิลด์ไวด์เว็บได้ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป
ในคริสต์ทศวรรษ 1950 ถึง 1960 ก่อนการแพร่หลายของการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายจนเป็นอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ส่วนมากยังคงมีข้อจำกัดเนื่องด้วยธรรมชาติของตัวเครือข่ายเอง ซึ่งทำให้การสื่อสารสามารถกระทำได้ระหว่างสถานีในเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น ข่ายงานบางแห่งมีเกตเวย์หรือบริดจ์ต่อระหว่างกัน หากแต่เกตเวย์หรือบริดจ์เหล่านั้นยังมีข้อจำกัดหรือมิฉะนั้นก็สร้างขึ้นเพื่อใช้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น วิธีเชื่อมต่อเครือข่ายที่ใช้กันในขณะนั้นวิธีหนึ่งมีพื้นฐานจากวิธีที่ใช้กับคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ซึ่งคือการยินยอมให้ (เทอร์มินัล) ที่อยู่ห่างไกลออกไปสามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ผ่านทาง วิธีนี้ใช้กันในคริสต์ทศวรรษ 1950 โดย เพื่อสนับสนุนการติดต่อกันระหว่างนักวิจัยที่อยู่ห่างไกลกัน ตัวอย่างเช่น เฮอร์เบิร์ต ไซมอน ในเมือง สามารถดำเนินงานวิจัยในเรื่องหรือปัญญาประดิษฐ์ ร่วมกับเหล่านักวิจัยซึ่งอยู่อีกฝั่งของทวีปในเมืองได้ ผ่านทางเครื่องปลายทางและสายเช่า
เครื่องปลายทางสามเครื่องและอาร์พา
ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกในการเรียกร้องการพัฒนาเครือข่ายระดับโลกคนหนึ่ง ได้เสนอความคิดของเขาไว้ในบทความวิชาการชื่อ "" ตีพิมพ์เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1960 ดังนี้
- "A network of such [computers], connected to one another by wide-band communication lines" which provided "the functions of present-day libraries together with anticipated advances in information storage and retrieval and [other] symbiotic functions. " —
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1962 ลิกไลเดอร์ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสำนักงานประมวลผลข้อมูลของ หน่วยงานของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา และได้ตั้งกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการภายในดาร์พาขึ้นกลุ่มหนึ่งเพื่อวิจัยทางคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ได้มีการติดตั้งเครื่องปลายทางขึ้นสามเครื่อง เครื่องหนึ่งติดตั้งที่ ในเมือง อีกเครื่องหนึ่งสำหรับในมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ และอีกเครื่องหนึ่งสำหรับซึ่งใช้ระบบปฏิบัติการ ในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทั้งสามเครื่องนี้มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งในบทบาทของสำนักประมวลผลข้อมูลฯ ความต้องการวิธีเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่ายของลิกไลเดอร์จะเห็นได้เป็นรูปธรรมจากปัญหาทางเทคนิคของโครงการนี้
- "For each of these three terminals, I had three different sets of user commands. So if I was talking online with someone at S.D.C. and I wanted to talk to someone I knew at Berkeley or M.I.T. about this, I had to get up from the S.D.C. terminal, go over and log into the other terminal and get in touch with them.
- "I said,it's obvious what to do (But I don't want to do it) : If you have these three terminals, there ought to be one terminal that goes anywhere you want to go where you have interactive computing. That idea is the ARPAnet." — ผู้ประพันธ์ "The Computer as a Communications Device" ร่วมกับลิกไลเดอร์ กล่าวในการสัมภาษณ์โดยหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์
แพกเกตสวิตชิง
ปัญหาหนึ่งในบรรดาปัญหาการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคือการเชื่อมต่อเครือข่ายทางกายภาพที่แตกต่างกันหลายเครือข่ายเข้าด้วยกันเสมือนเป็นเครือข่ายเชิงตรรกเครือข่ายเดียว ในคริสต์ทศวรรษ 1960 () () และ (เอ็มไอที) ได้ร่วมกันพัฒนาแนวคิดแพกเกตสวิตชิงและพัฒนาระบบตามแนวคิดนั้นขึ้น ความเชื่อที่ว่าอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถอยู่รอดได้หลังการโจมตีโดยอาวุธนิวเคลียร์นั้น มีรากฐานมากจากทฤษฎีที่แรนด์พัฒนาขึ้นในช่วงแรก ๆ นี่เอง งานวิจัยของบาแรนซึ่งศึกษาการกระจายเครือข่ายโดยไม่มีศูนย์กลางเพื่อหลีกเลี่ยงการความเสียหายจากการสู้รบซึ่งทำให้เครือข่ายไม่สามารถใช้การได้นั้น ได้นำไปสู่การพัฒนาแพกเกตสวิตชิงในเวลาต่อมา
เครือข่ายซึ่งนำไปสู่อินเทอร์เน็ต
อาร์พาเน็ต
เมื่อได้รับการเลื่อนตำแหน่งให้เป็นหัวหน้าสำนักงานประมวลผลข้อมูลของ เขาได้พยายามที่จะทำให้ความคิดของลิกลิเตอร์ในเรื่องระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นจริงขึ้นมา เทเลอร์ได้ขอตัวจากเอ็มไอที และตั้งโครงการเพื่อสร้างเครือข่ายดังกล่าวขึ้น การเชื่อมโยงเครือข่ายอาร์พาเน็ตครั้งแรกเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และ ในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1969 เครือข่ายได้เพิ่มเป็นสี่จุดในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1969 โดยเพิ่มและ หลังจากนั้น โดยอาศัยแนวคิดต่าง ๆ ที่ได้จากการพัฒนา ได้ถือกำเนิดขึ้นใน ค.ศ. 1972 และเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ใน ค.ศ. 1981 จำนวนโฮสต์ได้เพิ่มขึ้นเป็น 213 โฮสต์ และมีโฮสต์ใหม่เพิ่มขึ้นประมาณทุก ๆ 20 วัน
อาร์พาเน็ตได้กลายเป็นแก่นทางเทคนิคของสิ่งที่จะกลายเป็นอินเทอร์เน็ตในเวลาต่อมา และยังเป็นเครื่องมือหลักอันหนึ่งในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต การพัฒนาอาร์พาเน็ตนั้นมีศูนย์กลางอยู่ที่กระบวนการ ซึ่งมีไว้สำหรับการเสนอและกระจายเกณฑ์วิธีและระบบอินเทอร์เน็ต กระบวนการนี้ยังคงใช้จนกระทั่งปัจจุบัน อาร์เอฟซี 1 ซึ่งมีชื่อว่า "Host Software" เขียนโดยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส และตีพิมพ์เมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1969 ปีแรก ๆ ของอาร์พาเน็ตได้ถูกบันทึกไว้ในภาพยนตร์สารคดีปี 1972 เรื่อง Computer Networks: The Heralds of Resource Sharing
ความร่วมมือในระดับนานาชาติบนอาร์พาเน็ตนั้นนับว่าเบาบาง ด้วยเหตุผลทางการเมืองหลายข้อ นักวิจัยในยุโรปนั้นจึงข้องเกี่ยวกับการพัฒนาเครือข่าย X.25 มากกว่า ข้อยกเว้นที่ควรบันทึกไว้ได้แก่การเข้าร่วมของกลุ่มเครื่องวัดแผ่นดินไหวนอร์เวย์ ใน ค.ศ. 1972 ตามด้วยสวีเดนใน ค.ศ. 1973 โดยการเชื่อมโยงผ่านดาวเทียมที่สถานีภาคพื้นที่เมืองทานุม และ
อนึ่ง อาร์พา (ARPA) เปลี่ยนชื่อเป็น (DARPA) ใน ค.ศ. 1972 และมีการเปลี่ยนชื่อกลับไปกลับมาอีกหลายครั้ง แต่อาร์พาเน็ตยังคงใช้ชื่อเดิม
X.25
โดยอาศัยงานวิจัยของอาร์พา สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ได้พัฒนามาตรฐานเครือข่ายแพกเกตสวิตชิงขึ้นในรูปของ X.25 และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึง ค.ศ. 1974 X.25 ได้ก่อตั้งพื้นฐานสำหรับเครือข่าย ระหว่างสถาบันวิชาการและสถาบันวิจัยต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักรขึ้น ซึ่งในภายหลังได้กลายเป็น มาตรฐานขั้นต้นของไอทียูเกี่ยวกับ X.25 ได้รับการรับรองในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1976 โดยมาตรฐานดังกล่าวมีพื้นฐานอยู่บนแนวคิดเรื่อง
และได้ร่วมมือกันสร้างเครือข่ายแพกเกตสวิตชิงระดับนานาชาติขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้ชื่อว่า International Packet Switched Service (IPSS) ใน ค.ศ. 1978 เครือข่ายนี้เติบโตจากทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาไปยังแคนาดา ฮ่องกง และออสเตรเลียใน ค.ศ. 1981 เครือข่ายนี้ได้กลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายระดับโลกในคริสต์ทศวรรษ 1990
ต่างจากอาร์พาเน็ต X.25 นั้นมีให้ใช้ทั่วไปเพื่อการใช้งานทางธุรกิจด้วย X.25 ได้ถูกนำไปใช้ใน (public access network) โดยการหมุนโทรศัพท์ในยุคแรก ๆ เช่นและ ใน ค.ศ. 1979 คอมพิวเซิร์ฟเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่ให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ รวมทั้งมีบริการสอบถามแก้ไขปัญหาทางเทคนิคด้วย คอมพิวเซิร์ฟยังเป็นรายแรกที่ให้บริการสนทนาแบบเรียลไทม์ด้วยโปรแกรม CB Simulator นอกจากคอมพิวเซิร์ฟ ผู้ให้บริการเครือข่ายแบบหมุนโทรศัพท์รายอื่นมีอาทิ อเมริกาออนไลน์ และ นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (บีบีเอส) อีกหลายเครือข่าย เช่น สำหรับไฟโดเน็ตนั้นเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นงานอดิเรก ซึ่งหลายคนในนั้นเป็นแฮกเกอร์และนักวิทยุสมัครเล่น
UUCP
ใน ค.ศ. 1979 นักศึกษาสองคน ได้แก่ และ ได้เกิดความคิดที่จะใช้บอร์นอย่างง่าย ๆ เพื่อส่งข่าวและข้อความผ่านสายอนุกรมกับ ที่อยู่ใกล้กัน หลังจากซอฟต์แวร์ดังกล่าวได้เผยแพร่สู่สาธารณะ ข่ายของโฮสต์ที่ใช้ ก็ได้ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว เครือข่ายดังกล่าว ที่ต่อมาจะใช้ชื่อ UUCPnet ยังได้สร้างเกตเวย์และการเชื่อมโยงระหว่างและโฮสต์บีบีเอสแบบหมุนโทรศัพท์หลาย ๆ แห่งขึ้นด้วย เครือข่าย UUCP ได้แพร่หลายอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ต่ำกว่า และยังสามารถใช้สายเช่าที่มีอยู่เดิม ลิงก์ของ X.25 หรือการเชื่อมต่อของอาร์พาเน็ตได้ด้วย ใน ค.ศ. 1983 จำนวนโฮสต์ UUCP ได้เพิ่มขึ้นเป็น 550 โฮสต์ และเพิ่มเป็น 940 โฮสต์หรือเกือบสองเท่าใน ค.ศ. 1984
การรวมเครือข่ายเข้าด้วยกันและกำเนิดอินเทอร์เน็ต
TCP/IP
ได้มีความพยายามที่จะรวมวิธีติดต่อของเครือข่ายต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วเข้าด้วยกัน โดยจากและได้ขอตัวจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเพื่อทำงานร่วมกับเขาเพื่อแก้ปัญหานี้ ใน ค.ศ. 1973 ทั้งสองได้พัฒนาแนวทางแก้ไขขั้นมูลฐานขึ้น โดยในแนวทางนี้ ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์วิธีต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้โดยใช้แบบใดแบบหนึ่งร่วมกัน และแทนที่ตัวเครือข่ายจะรับผิดชอบเรื่องความเชื่อถือได้ของข้อมูลอย่างในอาร์พาเน็ต โฮสต์จะเป็นผู้รับผิดชอบแทน เซิร์ฟยกความดีความชอบเกี่ยวกับงานสำคัญ ๆ ในการออกแบบเกณฑ์วิธีนี้ให้แก่ , และ (ผู้ออกแบบเครือข่าย )
เมื่อบทบาทของตัวเครือข่ายได้ถูกลดลงจนเหลือน้อยที่สุดแล้ว จึงเป็นไปได้ที่จะเชื่อมเครือข่ายใด ๆ แทบทุกแบบเข้าด้วยกัน ไม่ว่าคุณลักษณะของเครือข่ายนั้น ๆ จะเป็นเช่นไร อันเป็นการแก้ปัญหาขั้นต้นที่คาห์นตั้งไว้ ได้เห็นชอบที่จะให้เงินทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ต้นแบบ และหลังจากการลงแรงเป็นเวลาหลายปี จึงได้มีการสาธิตเกตเวย์อย่างหยาบ ๆ เป็นครั้งแรกระหว่างเครือข่ายแพกเกตเรดิโอในกับ ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1977 ได้มีการสาธิตการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายสามแห่ง ซึ่งได้แก่ อาร์พาเน็ต, เครือข่ายแพกเกตเรดิโอ และเครือข่ายแอตแลนติกแพกเกตแซเทลไลต์ ซึ่งทั้งหมดอุปถัมภ์โดยดาร์พา ในส่วนของเกณฑ์วิธี เริ่มต้นจากข้อกำหนดคุณลักษณะรุ่นแรกของ TCP ใน ค.ศ. 1974 เกณฑ์วิธี (TCP/IP) ได้ก่อตัวเป็นรูปร่างซึ่งใกล้เคียงกับรูปแบบสุดท้ายในประมาณกลางปีถึงปลายปี ค.ศ. 1978 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องได้ตีพิมพ์เป็นอาร์เอฟซี 791, 792 และ 793 และได้ถูกนำไปใช้ ดาร์พาได้อุปถัมภ์หรือส่งเสริมการพัฒนาการนำ TCP/IP ไปใช้จริงในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ จากนั้นจึงได้กำหนดตารางเวลาในการโยกย้ายโฮสต์ทุกตัวในเครือข่ายแพกเกตของตนไปใช้ TCP/IP ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1983 เกณฑ์วิธี TCP/IP ได้กลายเป็นเกณฑ์วิธีเดียวที่ได้รับการรับรองบนอาร์พาเน็ต แทนที่เกณฑ์วิธี NCP ที่ใช้แต่เดิม
อ้างอิง
- (1960). "Man-Computer Symbiosis".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - "An Internet Pioneer Ponders the Next Revolution". An Internet Pioneer Ponders the Next Revolution. สืบค้นเมื่อ November 25.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|accessyear=
ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=
) ((help)) - "About Rand". Paul Baran and the Origins of the Internet. สืบค้นเมื่อ January 14.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|accessyear=
ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=
) ((help)) - (1998). Where Wizards Stay Up Late: The Origins Of The Internet. Simon & Schuster. 0-68-483267-4.
- (2001). "From the ARPANET to the Internet".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - "Events in British Telecomms History". Events in British TelecommsHistory. สืบค้นเมื่อ November 25.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|accessyear=
ถูกละเว้น แนะนำ (|access-date=
) ((help)) - , , , , , , , , (2003). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-04. สืบค้นเมื่อ 2007-08-11.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - , NCP/TCP Transition Plan, RFC 801
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul prawtisastrxinethxrent khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir prawtixinethxrent epnkarsuksakhwamepnmakhxngxinethxrent khwamkhideruxngekhruxkhaykhxmphiwetxrekhruxkhayediywthisamarthihphuichkhxmphiwetxrtangrabbknsamarthsuxsarknidnnidmikarphthnaphankhntxnhlaykhntxndwykn karhlxmrwmknkhxngkarphthnaehlannidnaipsuekhruxkhaykhxngekhruxkhaythnghlaythiruckkninchuxwa xinethxrent karphthnaehlannmithnginaengkarphthnaethkhonolyi aelakarrwmokhrngsrangphunthankhxngekhruxkhayaelathimixyuedimekhadwykn khwamkhideruxngniinkhrngaerk praktkhuninplaykhristthswrrs 1950 hakaetkarnaaenwkhidehlaniipptibtiidcringnnerimkhuninplaykhristthswrrs 1960 aela 1970 emuxthungkhristthswrrs 1980 ethkhonolyisungnbidwaepnphunthankhxngxinethxrentsmyihmnniderimaephrhlayxxkipthwolk inkhristthswrrs 1990 karmathungkhxngewildiwdewbidthaihkarichxinethxrentklayepnsingthiphbehnidthwip inkhristthswrrs 1950 thung 1960 kxnkaraephrhlaykhxngkarechuxmtxrahwangekhruxkhaycnepnxinethxrentinpccubn swnmakyngkhngmikhxcakdenuxngdwythrrmchatikhxngtwekhruxkhayexng sungthaihkarsuxsarsamarthkrathaidrahwangsthaniinekhruxkhayediywknethann khaynganbangaehngmiektewyhruxbridctxrahwangkn hakaetektewyhruxbridcehlannyngmikhxcakdhruxmichannksrangkhunephuxichephiyngkhrngediywethann withiechuxmtxekhruxkhaythiichkninkhnannwithihnungmiphunthancakwithithiichkbkhxmphiwetxremnefrm sungkhuxkaryinyxmih ethxrminl thixyuhangiklxxkipsamarthtidtxkbekhruxngkhxmphiwetxridphanthang withiniichkninkhristthswrrs 1950 ody ephuxsnbsnunkartidtxknrahwangnkwicythixyuhangiklkn twxyangechn ehxrebirt ismxn inemuxng samarthdaeninnganwicyineruxnghruxpyyapradisth rwmkbehlankwicysungxyuxikfngkhxngthwipinemuxngid phanthangekhruxngplaythangaelasayechaekhruxngplaythangsamekhruxngaelaxarphasungepnphubukebikinkareriykrxngkarphthnaekhruxkhayradbolkkhnhnung idesnxkhwamkhidkhxngekhaiwinbthkhwamwichakarchux tiphimphemuxeduxnmkrakhm kh s 1960 dngni A network of such computers connected to one another by wide band communication lines which provided the functions of present day libraries together with anticipated advances in information storage and retrieval and other symbiotic functions ineduxntulakhm kh s 1962 likiledxridrbkaraetngtngepnhwhnasanknganpramwlphlkhxmulkhxng hnwyngankhxngkrathrwngklaohmshrthxemrika aelaidtngklumxyangimepnthangkarphayindarphakhunklumhnungephuxwicythangkhxmphiwetxrodyechphaa idmikartidtngekhruxngplaythangkhunsamekhruxng ekhruxnghnungtidtngthi inemuxng xikekhruxnghnungsahrbinmhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy aelaxikekhruxnghnungsahrbsungichrabbptibtikar insthabnethkhonolyiaemssachuests thngsamekhruxngnimithanaepnswnhnunginbthbathkhxngsankpramwlphlkhxmul khwamtxngkarwithiechuxmtxknrahwangekhruxkhaykhxnglikiledxrcaehnidepnrupthrrmcakpyhathangethkhnikhkhxngokhrngkarni For each of these three terminals I had three different sets of user commands So if I was talking online with someone at S D C and I wanted to talk to someone I knew at Berkeley or M I T about this I had to get up from the S D C terminal go over and log into the other terminal and get in touch with them I said it s obvious what to do But I don t want to do it If you have these three terminals there ought to be one terminal that goes anywhere you want to go where you have interactive computing That idea is the ARPAnet phupraphnth The Computer as a Communications Device rwmkblikiledxr klawinkarsmphasnodyhnngsuxphimphniwyxrkithmsaephkektswitchingpyhahnunginbrrdapyhakarechuxmtxrahwangekhruxkhaykhuxkarechuxmtxekhruxkhaythangkayphaphthiaetktangknhlayekhruxkhayekhadwyknesmuxnepnekhruxkhayechingtrrkekhruxkhayediyw inkhristthswrrs 1960 aela exmixthi idrwmknphthnaaenwkhidaephkektswitchingaelaphthnarabbtamaenwkhidnnkhun khwamechuxthiwaxinethxrentthukphthnakhunephuxihsamarthxyurxdidhlngkarocmtiodyxawuthniwekhliyrnn mirakthanmakcakthvsdithiaerndphthnakhuninchwngaerk niexng nganwicykhxngbaaernsungsuksakarkracayekhruxkhayodyimmisunyklangephuxhlikeliyngkarkhwamesiyhaycakkarsurbsungthaihekhruxkhayimsamarthichkaridnn idnaipsukarphthnaaephkektswitchinginewlatxmaekhruxkhaysungnaipsuxinethxrentxarphaent emuxidrbkareluxntaaehnngihepnhwhnasanknganpramwlphlkhxmulkhxng ekhaidphyayamthicathaihkhwamkhidkhxngliklietxrineruxngrabbekhruxkhaysungechuxmtxknepncringkhunma ethelxridkhxtwcakexmixthi aelatngokhrngkarephuxsrangekhruxkhaydngklawkhun karechuxmoyngekhruxkhayxarphaentkhrngaerkepnkarechuxmoyngknrahwangmhawithyalyaekhlifxreniy lxsaexneclis aela inwnthi 29 tulakhm kh s 1969 ekhruxkhayidephimepnsicudinwnthi 5 thnwakhm kh s 1969 odyephimaela hlngcaknn odyxasyaenwkhidtang thiidcakkarphthna idthuxkaenidkhunin kh s 1972 aelaetibotkhunxyangrwderw in kh s 1981 canwnohstidephimkhunepn 213 ohst aelamiohstihmephimkhunpramanthuk 20 wn xarphaentidklayepnaeknthangethkhnikhkhxngsingthicaklayepnxinethxrentinewlatxma aelayngepnekhruxngmuxhlkxnhnunginkarphthnaethkhonolyithiichinxinethxrent karphthnaxarphaentnnmisunyklangxyuthikrabwnkar sungmiiwsahrbkaresnxaelakracayeknthwithiaelarabbxinethxrent krabwnkarniyngkhngichcnkrathngpccubn xarexfsi 1 sungmichuxwa Host Software ekhiynodycakmhawithyalyaekhlifxreniy lxsaexneclis aelatiphimphemux 7 emsayn kh s 1969 piaerk khxngxarphaentidthukbnthukiwinphaphyntrsarkhdipi 1972 eruxng Computer Networks The Heralds of Resource Sharing khwamrwmmuxinradbnanachatibnxarphaentnnnbwaebabang dwyehtuphlthangkaremuxnghlaykhx nkwicyinyuorpnncungkhxngekiywkbkarphthnaekhruxkhay X 25 makkwa khxykewnthikhwrbnthukiwidaekkarekharwmkhxngklumekhruxngwdaephndinihwnxrewy in kh s 1972 tamdwyswiednin kh s 1973 odykarechuxmoyngphandawethiymthisthaniphakhphunthiemuxngthanum aela xnung xarpha ARPA epliynchuxepn DARPA in kh s 1972 aelamikarepliynchuxklbipklbmaxikhlaykhrng aetxarphaentyngkhngichchuxedim X 25 odyxasynganwicykhxngxarpha shphaphothrkhmnakhmrahwangpraeths ixthiyu idphthnamatrthanekhruxkhayaephkektswitchingkhuninrupkhxng X 25 aelamatrthanxun thiekiywkhxng emuxthung kh s 1974 X 25 idkxtngphunthansahrbekhruxkhay rahwangsthabnwichakaraelasthabnwicytang inshrachxanackrkhun sunginphayhlngidklayepn matrthankhntnkhxngixthiyuekiywkb X 25 idrbkarrbrxngineduxnminakhm kh s 1976 odymatrthandngklawmiphunthanxyubnaenwkhideruxng aelaidrwmmuxknsrangekhruxkhayaephkektswitchingradbnanachatikhunepnkhrngaerk odyichchuxwa International Packet Switched Service IPSS in kh s 1978 ekhruxkhaynietibotcakthwipyuorpaelashrthxemrikaipyngaekhnada hxngkng aelaxxsetreliyin kh s 1981 ekhruxkhayniidklayepnokhrngsrangphunthankhxngekhruxkhayradbolkinkhristthswrrs 1990 tangcakxarphaent X 25 nnmiihichthwipephuxkarichnganthangthurkicdwy X 25 idthuknaipichin public access network odykarhmunothrsphthinyukhaerk echnaela in kh s 1979 khxmphiwesirfepnphuihbrikarrayaerkthiihphuichkhxmphiwetxrswnbukhkhlsamarthichiprsniyxielkthrxniksid rwmthngmibrikarsxbthamaekikhpyhathangethkhnikhdwy khxmphiwesirfyngepnrayaerkthiihbrikarsnthnaaebberiylithmdwyopraekrm CB Simulator nxkcakkhxmphiwesirf phuihbrikarekhruxkhayaebbhmunothrsphthrayxunmixathi xemrikaxxniln aela nxkcakniyngmiekhruxkhaykradankhawxielkthrxniks bibiexs xikhlayekhruxkhay echn sahrbifodentnnepnthiniyminhmuphuichkhxmphiwetxrepnnganxdierk sunghlaykhninnnepnaehkekxraelankwithyusmkhreln UUCP in kh s 1979 nksuksasxngkhn idaek aela idekidkhwamkhidthicaichbxrnxyangngay ephuxsngkhawaelakhxkhwamphansayxnukrmkb thixyuiklkn hlngcaksxftaewrdngklawidephyaephrsusatharna khaykhxngohstthiich kidkhyaytwkhunxyangrwderw ekhruxkhaydngklaw thitxmacaichchux UUCPnet yngidsrangektewyaelakarechuxmoyngrahwangaelaohstbibiexsaebbhmunothrsphthhlay aehngkhundwy ekhruxkhay UUCP idaephrhlayxyangrwderwenuxngcakmikhaichcaythitakwa aelayngsamarthichsayechathimixyuedim lingkkhxng X 25 hruxkarechuxmtxkhxngxarphaentiddwy in kh s 1983 canwnohst UUCP idephimkhunepn 550 ohst aelaephimepn 940 ohsthruxekuxbsxngethain kh s 1984karrwmekhruxkhayekhadwyknaelakaenidxinethxrentTCP IP idmikhwamphyayamthicarwmwithitidtxkhxngekhruxkhaytang dngthiidklawmaaelwekhadwykn odycakaelaidkhxtwcakmhawithyalysaetnfxrdephuxthanganrwmkbekhaephuxaekpyhani in kh s 1973 thngsxngidphthnaaenwthangaekikhkhnmulthankhun odyinaenwthangni khwamaetktangrahwangeknthwithitang cathuksxniwodyichaebbidaebbhnungrwmkn aelaaethnthitwekhruxkhaycarbphidchxberuxngkhwamechuxthuxidkhxngkhxmulxyanginxarphaent ohstcaepnphurbphidchxbaethn esirfykkhwamdikhwamchxbekiywkbngansakhy inkarxxkaebbeknthwithiniihaek aela phuxxkaebbekhruxkhay emuxbthbathkhxngtwekhruxkhayidthukldlngcnehluxnxythisudaelw cungepnipidthicaechuxmekhruxkhayid aethbthukaebbekhadwykn imwakhunlksnakhxngekhruxkhaynn caepnechnir xnepnkaraekpyhakhntnthikhahntngiw idehnchxbthicaihenginthuninkarphthnasxftaewrtnaebb aelahlngcakkarlngaerngepnewlahlaypi cungidmikarsathitektewyxyanghyab epnkhrngaerkrahwangekhruxkhayaephkekterdioxinkb txmaineduxnphvscikayn kh s 1977 idmikarsathitkarechuxmtxrahwangekhruxkhaysamaehng sungidaek xarphaent ekhruxkhayaephkekterdiox aelaekhruxkhayaextaelntikaephkektaesethlilt sungthnghmdxupthmphodydarpha inswnkhxngeknthwithi erimtncakkhxkahndkhunlksnarunaerkkhxng TCP in kh s 1974 eknthwithi TCP IP idkxtwepnruprangsungiklekhiyngkbrupaebbsudthayinpramanklangpithungplaypi kh s 1978 matrthanthiekiywkhxngidtiphimphepnxarexfsi 791 792 aela 793 aelaidthuknaipich darphaidxupthmphhruxsngesrimkarphthnakarna TCP IP ipichcringinrabbptibtikartang caknncungidkahndtarangewlainkaroykyayohstthuktwinekhruxkhayaephkektkhxngtnipich TCP IP inwnthi 1 mkrakhm kh s 1983 eknthwithi TCP IP idklayepneknthwithiediywthiidrbkarrbrxngbnxarphaent aethnthieknthwithi NCP thiichaetedimxangxing 1960 Man Computer Symbiosis a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help An Internet Pioneer Ponders the Next Revolution An Internet Pioneer Ponders the Next Revolution subkhnemux November 25 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help imruckpharamietxr accessyear thuklaewn aenana access date help About Rand Paul Baran and the Origins of the Internet subkhnemux January 14 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help imruckpharamietxr accessyear thuklaewn aenana access date help 1998 Where Wizards Stay Up Late The Origins Of The Internet Simon amp Schuster 0 68 483267 4 2001 From the ARPANET to the Internet a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Events in British Telecomms History Events in British TelecommsHistory subkhnemux November 25 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help imruckpharamietxr accessyear thuklaewn aenana access date help 2003 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 06 04 subkhnemux 2007 08 11 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help CS1 maint multiple names authors list lingk NCP TCP Transition Plan RFC 801 bthkhwamkarsuxsar aelaothrkhmnakhmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk