แพ็กเกตสวิตชิง (อังกฤษ: packet switching) วิธีการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายดิจิทัลที่รวมกลุ่มข้อมูลที่จะส่งทั้งหมด-ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา, ชนิดหรือโครงสร้าง- จัดให้เป็นบล็อกที่มีขนาดเหมาะสมเรียกว่าแพ็กเกต ถูกนำเสนอครั้งแรกสำหรับการใช้งานทางทหารในช่วงต้นทศวรรษ 1960 และนำไปใช้บนเครือข่ายขนาดเล็กในปี 1968 วิธีการส่งข้อมูลในลักษณะนี้กลายเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีระบบเครือข่ายพื้นฐานที่อยู่เบื้องหลังอินเทอร์เน็ตและแลนส่วนใหญ่
แพ็กเกตสวิตชิงส่งมอบกระแสข้อมูล(ลำดับของแพ็กเกต)ต่อเนื่องแบบ variable-bit-rate ผ่านทางเครือข่ายที่ใช้ร่วมกัน เมื่อข้อมูลไหลไปตามเนทเวิร์คอะแดปเตอร์, สวิตช์, เราเตอร์และโหนดเครือข่ายอื่น ๆ แพ็กเกตจะถูกพักเอาไว้และเข้าคิว ซึ่งเป็นผลทำให้เกิดความล่าช้าและทรูพุทที่แปรไปตามปริมาณการจราจรในเครือข่าย
แพ็กเกตสวิตชิงแตกต่างไปจากกระบวนทัศน์ของเครือข่ายที่สำคัญอื่นอย่างเช่นเซอร์กิตสวิตชิง วิธีนั้นจะจำกัดจำนวนจุดเชื่อมต่อหรือเส้นทางเฉพาะระหว่างโหนดต่อโหนดด้วยอัตราความเร็วและความล่าช้าที่คงที่สำหรับการใช้งานพิเศษในช่วงเซสชั่นการสื่อสาร ในกรณีที่มีค่าธรรมเนียมในการใช้งาน (ตรงข้ามกับอัตราคงที่) เช่นในการให้บริการการสื่อสารเคลื่อนที่ เซอร์กิตสวิตชิงคิดค่าธรรมเนียมต่อหน่วยเวลาของการเชื่อมต่อ, แม้ในขณะที่ไม่มีข้อมูลที่เชื่อมต่อ, ในขณะที่แพ็กเกตสวิตชิงคิดค่าธรรมเนียมต่อหน่วยของข้อมูล
การสื่อสารโหมด Packet อาจจะนำมาใช้โดยมีหรือไม่มีโหนดส่งต่อช่วงกลาง (หรือเราเตอร์). ในทุกโหมดการสื่อสารแบบแพ็กเกต, ทรัพยากรเครือข่ายถูกบริหารโดยการจัดสรรแบนด์วิดท์มัลติเพล็กสถิติหรือแบบไดนามิก ในที่ซึ่งช่องทางการสื่อสารจะถูกแบ่งออกเป็นช่องทางหรือกระแสข้อมูลที่มีจำนวนตามใจชอบของตัวแปรอัตราความเร็วแบบตรรกะ การมัลติเพล็กสถิติ, การแยกและส่งแพ็กเกตและการเก็บและส่งต่ออื่น ๆทำให้การส่งผ่านข้อมูลเกิดเวลาแฝงและทรูพุทที่เปลี่ยนแปรไป แต่ละกระแสข้อมูลประกอบด้วยลำดับของแพ็กเกตซึ่งโดยปกติจะถูกส่งต่อโดย multiplexers และโหนดเครือข่ายช่วงกลางแบบไม่พร้อมกันด้วยวิธีเข้าก่อนออกก่อน หรือในทางเลือกอื่น แพ็กเกตอาจถูกส่งต่อไปตามกรรมวิธีที่มีหมายกำหนดการณ์ไว้เแล้ว เพื่อเข้าคิวอย่างยุติธรรม, เพื่อ traffic shaping หรือเพื่อให้ได้คุณภาพที่แตกต่างหรือการรับประกันในการให้บริการ เช่นการเข้าคิวยุติธรรมแบบถ่วงน้ำหนักหรือแบบอื่น ในกรณีที่ใช้สื่อทางกายภาพร่วมกัน, แพ็กเกตอาจถูกนำส่งตามวิธีการเข้าถึงแพ็กเกตโหมดแบบทวีคูณ
แพ็กเกตสวิตชิงแบบ connectionless และแบบ connection-oriented
แพ็กเกตสวิตชิงมีสองโหมดที่สำคัญคือ; (1) แบบ connectionless หรือที่เรียกว่าดาต้าแกรมสวิตชิง, และ (2) แบบ connection-oriented ที่เรียกว่าเซอร์กิตสวิตชิงเสมือน ในโหมดแรกแต่ละแพ็กเกตจะประกอบด้วยข้อมูลที่อยู่หรือเส้นทางทั้งหมด แพ็กเกตจะถูกส่งแยกกันไปในแต่ละเส้นทาง บางครั้งไม่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง ในโหมดที่สองเส้นทางการเชื่อมต่อจะถูกกำหนดล่วงหน้าในโหนดที่ต่อเนื่องกันก่อนที่จะแพ็กเกตใดๆจะถูกส่งออกไป แพ็กเกตจะมี connection identifier -แทนที่จะเป็นข้อมูลแอดเดรสเหมือนแบบ connectionless-และมีการส่งข้อมูลเรียงตามลำดับก่อนหลัง
การให้บริการจริงอาจใช้วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น โพรโทคอล connectionless ได้แก่อีเธอร์เน็ต, IP และ UDP; โพรโทคอล connection oriented ได้แก่ X.25, frame relay, MPLS) และ TCP
ในเครือข่าย connection-oriented แต่ละแพ็กเกตจะมีป้ายรหัสการเชื่อมต่อแทนที่จะเป็นที่อยู่. ข้อมูลที่อยู่จะถูกโอนไปที่แต่ละโหนดในระหว่างขั้นตอนการ set-up เท่านั้น เมื่อเส้นทางไปยังปลายทางถูกค้นหาพบ รายการจะถูกเพิ่มลงในตารางการสวิตช์ในแต่ละโหนดที่มีการเชื่อมต่อ. โพรโทคอลของการส่งสัญญาณจะถูกนำมาใช้เพื่อช่วยให้แอปพลิเคชันทำการระบุความต้องการของมันและเพื่อให้เครือข่ายระบุความสามารถที่ทำได้และระบุค่าที่ยอมรับได้สำหรับพารามิเตอร์บริการที่จะต้องเจรจาต่อรอง การส่งแพ็กเกตไปตามเส้นทางเป็นเรื่องง่ายมากเพราะมันแค่ต้องการให้โหนดทำการค้นหา ID ในตาราง ส่วนหัวของแพ็กเกตจะมีขนาดเล็กเนื่องจากมันแค่ประกอบด้วยข้อมูล ID และข้อมูลอื่นๆ (เช่นความยาว, เวลาประทับหรือหมายเลขลำดับ) ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละแพ็กเกต
ในเครือข่าย connectionless, แต่ละแพ็กเกตจะมีป้ายบอกที่อยู่ปลายทาง, ที่อยู่ต้นทางและหมายเลขพอร์ต, และอาจจะมีป้ายกำกับเพื่อบอกหมายเลขลำดับของแพ็กเกตด้วย สิ่งนี้ไม่เพียงพอสำหรับเส้นทางที่กำหนดที่จะช่วยให้แพ็กเกตสามารถหาทางไปยังปลายทางของมันได้ ซึ่งหมายความว่าส่วนหัวของแพ็กเกตต้องการข้อมูลมากขึ้นซึ่งจะทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น และข้อมูลนี้จะต้องไป look-up ในหน่วยความจำเก็บเนื้อหา แต่ละแพ็กเกตที่ถูกส่งอาจจะไปผ่านเส้นทางที่แตกต่างกัน เป็นไปได้สูงที่ระบบ connectionless อาจต้องทำงานมากกับทุกแพ็กเกตเท่ากับที่ระบบ connection-oriented ต้องทำในการ set-up แต่ด้วยข้อมูลที่น้อยกว่าตามความต้องการของแอปพลิเคชันเลเยอร์ ที่ปลายทาง, ข้อความ/ข้อมูลต้นฉบับจะถูกประกอบขึ้นใหม่ในลำดับที่ถูกต้องตามลำดับหมายเลขแพ็กเกต ดังนั้นการเชื่อมต่อเสมือน, หรือที่รู้จักกันว่าเป็นวงจรเสมือนหรือ byte stream, ถูกจัดให้กับ end user ใช้โดยโพรโทคอลชั้น transport, ถึงแม้ว่าโหนดเครือข่ายช่วงกลางให้บริการเครือข่ายแบบ connection-oriented ก็ตาม
แพ็กเกตสวิตชิงในเครือข่าย
แพ็กเกตสวิตชิงถูกใช้ในการ optimize ความสามารถของช่องทางที่มีอยู่ในเครือข่ายโทรคมนาคมดิจิทัล เช่นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อลดความล่าช้าของการส่ง (เวลาที่ใช้สำหรับข้อมูลที่จะส่งผ่านเครือข่าย) และเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของการสื่อสาร
การใช้งานแพ็กเกตสวิตชิงที่ดีที่สุดเป็นที่รู้จักกันคืออินเทอร์เน็ตและแลนส่วนใหญ่ อินเทอร์เน็ตดำเนินการโดยชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตโดยใช้ความหลากหลายของเทคโนโลยีชั้น link layer ตัวอย่างเช่น Ethernet และFrame Relay เป็นเรื่องธรรมดา เทคโนโลยีใหม่โทรศัพท์มือถือ (เช่น GPRS, I-โหมด) ก็ใช้แพ็กเกตสวิตชิง
X.25 เป็นการใช้งานที่โดดเด่นของแพ็กเกตสวิตชิงในการที่มันให้วงจรเสมือนกับผู้ใช้ วงจรเสมือนดังกล่าวรองรับแพ็กเกตที่ความยาวแปรได้ ในปี 1978, X.25 เป็นเครือข่ายแพ็กเกตนานาชาติและในเชิงพาณิชย์ครั้งแรก มีชื่อว่า International Packet Switched Service (IPSS), ATM (Asynchronous Transfer Mode) ก็เป็นเทคโนโลยีวงจรเสมือนซึ่งใช้เซลล์ถ่ายทอดความยาวคงที่แบบ connection oriented
แพ็กเกตสวิตชิงแบบเดตาแกรมถูกเรียกว่าเครือข่าย connectionless เพราะไม่มีการเชื่อมต่อจริง เทคโนโลยีเช่น MกกฟหกฟหกหกหกหPLS และ RSVP สร้างวงจรเสมือนเหนือเครือข่ายดาต้าแกรม วงจรเสมือนเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสร้างกลไกการ failover ที่แข็งแกร่งและการจัดสรรแบนด์วิดธ์สำหรับการใช้งานที่ไวต่อความล่าช้า MPLS และต้นตระกูลของมัน, เช่นเดียวกับ ATM, ถูกเรียกว่าเทคโนโลยี "fast packet" จริงๆแล้ว MPLS ถูกเรียกว่า "ATM ที่ไม่มีเซลล์". ถึงอย่างไรก็ตาม เราเตอร์สมัยใหม่ไม่จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเหล่านี้เพื่อให้สามารถส่งต่อแพ็กเกตที่ความยาวแปรได้ที่ความเร็วข้ามเครือข่ายเป็น multigigabit
X.25 vs. Frame Relay packet switching
ทั้ง X.25 และ Frame Relay ให้การเชื่อมต่อแบบ connection-oriented หรือที่เรียกว่า virtual circuit switching ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง X.25 และ Frame Relay ก็คือ X.25 เป็นโพรโทคอลที่เชื่อถือได้โดยการร้องขอซ้ำอัตโนมัติทีละโหนด ในขณะที่ Frame Relay เป็นโพรโทคอลที่ไม่น่าเชื่อถือและแพ็กเกตสูงสุดคือ 1,000 ไบต์
การส่งใหม่ใด ๆ จะต้องดำเนินการโดยโพรโทคอลชั้นที่สูงกว่า โพรโทคอล X.25 เป็น network layer protocol และเป็นส่วนหนึ่งของชุดโพรโทคอล X.25 ที่รู้จักกันว่าเป็นชุดโพรโทคอล OSI มันถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในเครือข่ายสวิตชิงในช่วงทศวรรษ 1980 และปี 1990 ตอนต้น, เช่นเป็นทางเลือกให้วงจร circuit mode terminal switching และสำหรับเครื่องเอทีเอ็ม Frame relay เป็นการพัฒนาต่อจาก X.25 ความเรียบง่ายของ Frame Relay ทำให้มันเร็วกว่าและมีประสิทธิภาพด้านค่าใช้จ่ายดีกว่า X.25 Frame relay เป็น data link layer protocol และไม่ได้จัดหาที่อยู่ตรรกะและกำหนดเส้นทางให้, มันจะถูกใช้สำหรับการเชื่อมต่อ "กึ่งถาวร" เท่านั้น. ในขณะที่ X.25 ยังสามารถที่จะทำการเชื่อมต่อสำหรับแต่ละเซสชั่นการสื่อสารได้ Frame Relay ถูกนำมาใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างระบบแลนด้วยกันหรือกลุ่มของ LAN ส่วนใหญ่ในปี 1990 โดยบริษัทขนาดใหญ่ที่มีความต้องการที่จะจัดการจราจรโทรคมนาคมขนาดใหญ่ข้ามเครือข่ายบริเวณกว้าง(แวน)
ถึงแม้ว่า Frame Relay จะมีประโยชน์, บริษัทข้ามชาติจำนวนมากยังยึดติดกับ X.25 ในสหรัฐอเมริกา X.25 ถูกนำมาใช้อย่างมากในเครือข่ายภาครัฐและการเงินที่ใช้โปรแกรมเมนเฟรม หลายบริษัทไม่ได้ตั้งใจจะข้ามไปยัง Frame Relay เพราะมันถูกกว่าบนเครือข่ายที่ช้ากว่า ในบางส่วนของโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและภูมิภาคอเมริกาใต้, X.25 เป็นเทคโนโลยีเดียวที่มี
การทำงานของ แพ็กเกตสวิตชิง
เครือข่ายแพ็กเกตสวิตชิงเป็นการรวมเอาข้อดีของเครือข่ายทั้งสองมารวมกัน คือ เครือข่ายเซอร์กิตสวิตชิง (Circuit Switching) และเครือข่ายแมสเสจต์สวิตชิง (Message Switching) เข้าด้วยกัน และกำจัดข้อเสียของเครือข่ายทั้งสองชนิดนี้ด้วย แต่ลักษณะทั่วไปแล้วเครือข่ายแพ็กเกตสวิตชิงจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับเครือข่ายแมสเสจสวิตชิงมากกว่า
สำหรับการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็กเกตสวิตชิง ข้อมูลจะถูกส่งออกไปทีละแพ็กเกตเรียง ลำดับตามกันโดยใช้วิธี (Store-and-forward) ถ้ามีข้อผิดพลาดในแพ็กเกตเกิตขึ้น สวิตช์นั้นก็จะทำการร้องขอให้สวิตช์ก่อนหน้านั้นส่งเฉพาะแพ็กเกตที่มีความผิดพลาดนั้นมาให้ ใหม่ ไม่จำเป็นจะต้องรอให้ผู้ส่งทำการส่งข้อมูลมาให้ครบทุกแพ็กเกตแล้วจึงค่อยส่งข้อมูลไป ให้สถานีอื่นต่อไป การทำงานแบบนี้จะทำให้การส่งข้อมูลในเครือข่ายแพ็กเกตสวิตชิงสามารถ ทำงาน ได้เร็วมากจนดูเหมือนกับไม่มีการเก็บกักข้อมูลเลย แบบนี้ก็ดีนะ
เทคโนโลยีของ Packet Switching
Time Domain Multiplexing ระบบ TDM เป็นการมัลติเพล็กซ์ที่แต่ละช่องสัญญาณมีแบนด์วิดธ์แบบคงที่ (Fixed Bandwidth) ซี่งจะใช้ งานได้ดีมากสำหรับการรับส่งที่ต้องการอัตราบิตที่ต่อเนื่อง (Continous Bit Rate : CBR) เช่น traditional voice and video แต่ถ้าจะใช้งานกับข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีทราฟฟิกเป็นแบบ bursty traffic (ทราฟฟิกที่มีขนาดไม่คงที่คืออาจจะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดอย่างฉับพลัน)
ประโยชน์ของ Packet Switching
- รับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง และใช้เวลาในการส่งน้อยเหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันเช่น WAN
- มีความผิดพลาดในการรับส่งข้อมูลน้อยมากๆ
- สามารถลดคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กลง และสามารถกระจายศูนย์กลาง ประมวลผลได้
- สามารถรองรับการเชื่อมต่อกับเครือข่ายที่องค์กรใช้งาน เช่น ICP/IP
- ควบคุมค่าใช้จ่ายได้คงที่แน่นอน
- รับประกันความรวดเร็วในการส่งข้อมูล (Committed Information Rate – CIR)
ดูเพิ่ม
- Message switching
- Circuit switching
- Store and forward delay
- Time-Driven Switching - a bufferless approach to packet switching
- Public switched data network
- Packet switched network
- Optical burst switching
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aephkektswitching xngkvs packet switching withikarsuxsarkhxmulinekhruxkhaydicithlthirwmklumkhxmulthicasngthnghmd imwacaepnenuxha chnidhruxokhrngsrang cdihepnblxkthimikhnadehmaasmeriykwaaephkekt thuknaesnxkhrngaerksahrbkarichnganthangthharinchwngtnthswrrs 1960 aelanaipichbnekhruxkhaykhnadelkinpi 1968 withikarsngkhxmulinlksnaniklayepnhnunginethkhonolyirabbekhruxkhayphunthanthixyuebuxnghlngxinethxrentaelaaelnswnihy aephkektswitchingsngmxbkraaeskhxmul ladbkhxngaephkekt txenuxngaebb variable bit rate phanthangekhruxkhaythiichrwmkn emuxkhxmulihliptamenthewirkhxaaedpetxr switch eraetxraelaohndekhruxkhayxun aephkektcathukphkexaiwaelaekhakhiw sungepnphlthaihekidkhwamlachaaelathruphuththiaepriptamprimankarcracrinekhruxkhay aephkektswitchingaetktangipcakkrabwnthsnkhxngekhruxkhaythisakhyxunxyangechnesxrkitswitching withinncacakdcanwncudechuxmtxhruxesnthangechphaarahwangohndtxohnddwyxtrakhwamerwaelakhwamlachathikhngthisahrbkarichnganphiessinchwngesschnkarsuxsar inkrnithimikhathrrmeniyminkarichngan trngkhamkbxtrakhngthi echninkarihbrikarkarsuxsarekhluxnthi esxrkitswitchingkhidkhathrrmeniymtxhnwyewlakhxngkarechuxmtx aeminkhnathiimmikhxmulthiechuxmtx inkhnathiaephkektswitchingkhidkhathrrmeniymtxhnwykhxngkhxmul karsuxsarohmd Packet xaccanamaichodymihruximmiohndsngtxchwngklang hruxeraetxr inthukohmdkarsuxsaraebbaephkekt thrphyakrekhruxkhaythukbriharodykarcdsrraebndwidthmltiephlksthitihruxaebbidnamik inthisungchxngthangkarsuxsarcathukaebngxxkepnchxngthanghruxkraaeskhxmulthimicanwntamicchxbkhxngtwaeprxtrakhwamerwaebbtrrka karmltiephlksthiti karaeykaelasngaephkektaelakarekbaelasngtxxun thaihkarsngphankhxmulekidewlaaefngaelathruphuththiepliynaeprip aetlakraaeskhxmulp rakxbdwyladbkhxngaephkektsungodypkticathuksngtxody multiplexers aelaohndekhruxkhaychwngklangaebbimphrxmkndwywithiekhakxnxxkkxn hruxinthangeluxkxun aephkektxacthuksngtxiptamkrrmwithithimihmaykahndkarniweaelw ephuxekhakhiwxyangyutithrrm ephux traffic shaping hruxephuxihidkhunphaphthiaetktanghruxkarrbprakninkarihbrikar echnkarekhakhiwyutithrrmaebbthwngnahnkhruxaebbxun inkrnithiichsuxthangkayphaphrwmkn aephkektxacthuknasngtamwithikarekhathungaephkektohmdaebbthwikhunaephkektswitchingaebb connectionless aelaaebb connection orientedaephkektswitchingmisxngohmdthisakhykhux 1 aebb connectionless hruxthieriykwadataaekrmswitching aela 2 aebb connection oriented thieriykwaesxrkitswitchingesmuxn inohmdaerkaetlaaephkektcaprakxbdwykhxmulthixyuhruxesnthangthnghmd aephkektcathuksngaeykknipinaetlaesnthang bangkhrngimepniptamladbkxnhlng inohmdthisxngesnthangkarechuxmtxcathukkahndlwnghnainohndthitxenuxngknkxnthicaaephkektidcathuksngxxkip aephkektcami connection identifier aethnthicaepnkhxmulaexdedrsehmuxnaebb connectionless aelamikarsngkhxmuleriyngtamladbkxnhlng karihbrikarcringxacichwithikarxyangidxyanghnungkhangtn ophrothkhxl connectionless idaekxiethxrent IP aela UDP ophrothkhxl connection oriented idaek X 25 frame relay MPLS aela TCP inekhruxkhay connection oriented aetlaaephkektcamipayrhskarechuxmtxaethnthicaepnthixyu khxmulthixyucathukoxnipthiaetlaohndinrahwangkhntxnkar set up ethann emuxesnthangipyngplaythangthukkhnhaphb raykarcathukephimlngintarangkarswitchinaetlaohndthimikarechuxmtx ophrothkhxlkhxngkarsngsyyancathuknamaichephuxchwyihaexpphliekhchnthakarrabukhwamtxngkarkhxngmnaelaephuxihekhruxkhayrabukhwamsamarththithaidaelarabukhathiyxmrbidsahrbpharamietxrbrikarthicatxngecrcatxrxng karsngaephkektiptamesnthangepneruxngngaymakephraamnaekhtxngkarihohndthakarkhnha ID intarang swnhwkhxngaephkektcamikhnadelkenuxngcakmnaekhprakxbdwykhxmul ID aelakhxmulxun echnkhwamyaw ewlaprathbhruxhmayelkhladb sungaetktangknipinaetlaaephkekt inekhruxkhay connectionless aetlaaephkektcamipaybxkthixyuplaythang thixyutnthangaelahmayelkhphxrt aelaxaccamipaykakbephuxbxkhmayelkhladbkhxngaephkektdwy singniimephiyngphxsahrbesnthangthikahndthicachwyihaephkektsamarthhathangipyngplaythangkhxngmnid sunghmaykhwamwaswnhwkhxngaephkekttxngkarkhxmulmakkhunsungcathaihmikhnadihykhun aelakhxmulnicatxngip look up inhnwykhwamcaekbenuxha aetlaaephkektthithuksngxaccaipphanesnthangthiaetktangkn epnipidsungthirabb connectionless xactxngthanganmakkbthukaephkektethakbthirabb connection oriented txngthainkar set up aetdwykhxmulthinxykwatamkhwamtxngkarkhxngaexpphliekhchneleyxr thiplaythang khxkhwam khxmultnchbbcathukprakxbkhunihminladbthithuktxngtamladbhmayelkhaephkekt dngnnkarechuxmtxesmuxn hruxthiruckknwaepnwngcresmuxnhrux byte stream thukcdihkb end user ichodyophrothkhxlchn transport thungaemwaohndekhruxkhaychwngklangihbrikarekhruxkhayaebb connection oriented ktamaephkektswitchinginekhruxkhayaephkektswitchingthukichinkar optimize khwamsamarthkhxngchxngthangthimixyuinekhruxkhayothrkhmnakhmdicithl echnekhruxkhaykhxmphiwetxr ephuxldkhwamlachakhxngkarsng ewlathiichsahrbkhxmulthicasngphanekhruxkhay aelaephuxephimkhwamaekhngaekrngkhxngkarsuxsar karichnganaephkektswitchingthidithisudepnthiruckknkhuxxinethxrentaelaaelnswnihy xinethxrentdaeninkarodychudophrothkhxlxinethxrentodyichkhwamhlakhlaykhxngethkhonolyichn link layer twxyangechn Ethernet aelaFrame Relay epneruxngthrrmda ethkhonolyiihmothrsphthmuxthux echn GPRS I ohmd kichaephkektswitching X 25 epnkarichnganthioddednkhxngaephkektswitchinginkarthimnihwngcresmuxnkbphuich wngcresmuxndngklawrxngrbaephkektthikhwamyawaeprid inpi 1978 X 25 epnekhruxkhayaephkektnanachatiaelainechingphanichykhrngaerk michuxwa International Packet Switched Service IPSS ATM Asynchronous Transfer Mode kepnethkhonolyiwngcresmuxnsungichesllthaythxdkhwamyawkhngthiaebb connection oriented aephkektswitchingaebbedtaaekrmthukeriykwaekhruxkhay connectionless ephraaimmikarechuxmtxcring ethkhonolyiechn MkkfhkfhkhkhkhPLS aela RSVP srangwngcresmuxnehnuxekhruxkhaydataaekrm wngcresmuxnepnpraoychnxyangyinginkarsrangklikkar failover thiaekhngaekrngaelakarcdsrraebndwidthsahrbkarichnganthiiwtxkhwamlacha MPLS aelatntrakulkhxngmn echnediywkb ATM thukeriykwaethkhonolyi fast packet cringaelw MPLS thukeriykwa ATM thiimmiesll thungxyangirktam eraetxrsmyihmimcaepntxngichethkhonolyiehlaniephuxihsamarthsngtxaephkektthikhwamyawaepridthikhwamerwkhamekhruxkhayepn multigigabitX 25 vs Frame Relay packet switchingthng X 25 aela Frame Relay ihkarechuxmtxaebb connection oriented hruxthieriykwa virtual circuit switching khwamaetktangthisakhyrahwang X 25 aela Frame Relay kkhux X 25 epnophrothkhxlthiechuxthuxidodykarrxngkhxsaxtonmtithilaohnd inkhnathi Frame Relay epnophrothkhxlthiimnaechuxthuxaelaaephkektsungsudkhux 1 000 ibt karsngihmid catxngdaeninkarodyophrothkhxlchnthisungkwa ophrothkhxl X 25 epn network layer protocol aelaepnswnhnungkhxngchudophrothkhxl X 25 thiruckknwaepnchudophrothkhxl OSI mnthukichknxyangaephrhlayinekhruxkhayswitchinginchwngthswrrs 1980 aelapi 1990 txntn echnepnthangeluxkihwngcr circuit mode terminal switching aelasahrbekhruxngexthiexm Frame relay epnkarphthnatxcak X 25 khwameriybngaykhxng Frame Relay thaihmnerwkwaaelamiprasiththiphaphdankhaichcaydikwa X 25 Frame relay epn data link layer protocol aelaimidcdhathixyutrrkaaelakahndesnthangih mncathukichsahrbkarechuxmtx kungthawr ethann inkhnathi X 25 yngsamarththicathakarechuxmtxsahrbaetlaesschnkarsuxsarid Frame Relay thuknamaichinkarechuxmtxrahwangrabbaelndwyknhruxklumkhxng LAN swnihyinpi 1990 odybristhkhnadihythimikhwamtxngkarthicacdkarcracrothrkhmnakhmkhnadihykhamekhruxkhaybriewnkwang aewn thungaemwa Frame Relay camipraoychn bristhkhamchaticanwnmakyngyudtidkb X 25 inshrthxemrika X 25 thuknamaichxyangmakinekhruxkhayphakhrthaelakarenginthiichopraekrmemnefrm hlaybristhimidtngiccakhamipyng Frame Relay ephraamnthukkwabnekhruxkhaythichakwa inbangswnkhxngolkodyechphaaxyangyinginphumiphakhexechiyaepsifikaelaphumiphakhxemrikait X 25 epnethkhonolyiediywthimikarthangankhxng aephkektswitchingekhruxkhayaephkektswitchingepnkarrwmexakhxdikhxngekhruxkhaythngsxngmarwmkn khux ekhruxkhayesxrkitswitching Circuit Switching aelaekhruxkhayaemsesctswitching Message Switching ekhadwykn aelakacdkhxesiykhxngekhruxkhaythngsxngchnidnidwy aetlksnathwipaelwekhruxkhayaephkektswitchingcamilksnakhlaykhlungkbekhruxkhayaemsescswitchingmakkwa sahrbkarsngkhxmulphanekhruxkhayaephkektswitching khxmulcathuksngxxkipthilaaephkekteriyng ladbtamknodyichwithi Store and forward thamikhxphidphladinaephkektekitkhun switchnnkcathakarrxngkhxihswitchkxnhnannsngechphaaaephkektthimikhwamphidphladnnmaih ihm imcaepncatxngrxihphusngthakarsngkhxmulmaihkhrbthukaephkektaelwcungkhxysngkhxmulip ihsthanixuntxip karthanganaebbnicathaihkarsngkhxmulinekhruxkhayaephkektswitchingsamarth thangan iderwmakcnduehmuxnkbimmikarekbkkkhxmulely aebbnikdinaethkhonolyikhxng Packet SwitchingTime Domain Multiplexing rabb TDM epnkarmltiephlksthiaetlachxngsyyanmiaebndwidthaebbkhngthi Fixed Bandwidth singcaich nganiddimaksahrbkarrbsngthitxngkarxtrabitthitxenuxng Continous Bit Rate CBR echn traditional voice and video aetthacaichngankbkhxmulkhxngrabbkhxmphiwetxr thimithraffikepnaebb bursty traffic thraffikthimikhnadimkhngthikhuxxaccamikarepliynaeplngkhnadxyangchbphln praoychnkhxng Packet Switchingrbsngkhxmuliddwykhwamerwsung aelaichewlainkarsngnxyehmaasahrbkarechuxmtxrahwangkhxmphiwetxrhruxekhruxkhay LAN hlay ekhruxkhayekhadwyknechn WAN mikhwamphidphladinkarrbsngkhxmulnxymak samarthldkhxmphiwetxrihmikhnadelklng aelasamarthkracaysunyklang pramwlphlid samarthrxngrbkarechuxmtxkbekhruxkhaythixngkhkrichngan echn ICP IP khwbkhumkhaichcayidkhngthiaennxn rbpraknkhwamrwderwinkarsngkhxmul Committed Information Rate CIR duephimMessage switching Circuit switching Store and forward delay Time Driven Switching a bufferless approach to packet switching Public switched data network Packet switched network Optical burst switchingxangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Packet Switching