ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (อังกฤษ: Nuclear reaction) ในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์และเคมีนิวเคลียร์ หมายถึงกระบวนการที่นิวเคลียส 2 ตัวของอะตอมเดียวกัน หรือนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งและอนุภาคย่อย ของอีกอะตอมหนึ่งจากภายนอกอะตอมนั้น ชนกัน ทำให้เกิดนิวเคลียสใหม่หนึ่งตัวหรือมากกว่าหนึ่งตัวที่มีจำนวนอนุภาคย่อยแตกต่างจากนิวเคลียสที่เริ่มต้นกระบวนการ ดังนั้นปฏิกิริยานิวเคลียร์จะต้องทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอย่างน้อยหนึ่งนิวไคลด์ ไปเป็นอย่างอื่น หากนิวเคลียสหนึ่งมีปฏิกิริยากับอีกนิวเคลียสหนึ่งหรืออนุภาคอื่นและพวกมันก็แยกออกจากกันโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของนิวไคลด์ใด ๆ กระบวนการนี้เป็นแต่เพียงประเภทหนึ่งของการกระเจิงของนิวเคลียสเท่านั้น ไม่ใช่ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ในหลักการ ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นจากการชนกันของอนุภาคมากกว่าสองอนุภาค แต่เป็นไปได้น้อยมากที่นิวเคลียสมากกว่าสองตัวจะมาชนกันในเวลาเดียวกันและสถานที่เดียวกัน เหตุการณ์ดังกล่าวจึงเป็นของหายากเป็นพิเศษ (ดูกระบวนการสามอัลฟา ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งที่ใกล้เคียงกับการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์สามเส้า) "ปฏิกิริยานิวเคลียร์" เป็นคำที่หมายความถึงการเปลี่ยนแปลงที่"ถูกเหนี่ยวนำให้เกิด"ในนิวไคลด์ ดังนั้นมันจึงไม่สามารถนำไปใช้กับการสลายกัมมันตรังสีชนิดใด ๆ ได้ (เพราะโดยคำจำกัดความแล้ว การสลายกัมมันตรังสีเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเอง)
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ในธรรมชาติจะเกิดขึ้นจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างรังสีคอสมิกและสสาร และปฏิกิริยานิวเคลียร์สามารถถูกประดิษฐ์ขึ้นเพื่อให้ได้พลังงานนิวเคลียร์ในอัตราที่ปรับได้ตามความต้องการ บางทีปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่โดดเด่นมากที่สุดจะเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ในวัสดุที่แตกตัวได้ (อังกฤษ: fissionable material) เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นและปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันต่างๆขององค์ประกอบเบาที่ผลิตพลังงานให้กับดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย ทั้งสองประเภทในการเกิดปฏิกิริยานี้ถูกใช้ในการผลิตอาวุธนิวเคลียร์
สัญลักษณ์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์อาจจะแสดงในรูปแบบที่คล้ายกับสมการเคมี ซึ่งมวลนิ่งจะต้องสมดุลกันสำหรับแต่ละด้านของสมการ และการแปลงของอนุภาคจะต้องเป็นไปตามกฎของการอนุรักษ์ที่แน่นอน เช่นการอนุรักษ์ของประจุและจำนวนแบริออน (จำนวนมวลอะตอมรวม) ตัวอย่างของสัญลักษณ์หนึ่งจะเป็นดังต่อไปนี้:
+ → 4
2He+ ?
เพื่อความสมดุลของสมการข้างต้นสำหรับมวล ประจุและเลขมวล นิวเคลียสตัวที่สองด้านขวาจะต้องมีเลขอะตอมเป็น 2 และเลขมวลเป็น 4; ดังนั้น มันจึงยังคงเป็นฮีเลียม-4 ดังนั้นสมการที่สมบูรณ์จึงเป็น:
หรือเพียงแค่:
+ → 2 4
2He
แทนที่จะใช้สมการเต็มรูปแบบดังกล่าวข้างต้น ในหลาย ๆ สถานการณ์ สัญลักษณ์ที่มีขนาดกะทัดรัดจะถูกใช้เพื่ออธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่างๆ รูปแบบของแบบฟอร์มนี้คือ A(b,c)D เทียบเท่ากับ A + b ได้ c + D. อนุภาคเบาทั่วไปมักจะถูกย่อให้สั้นแบบนี้ โดย p สำหรับโปรตอน n สำหรับนิวตรอน d สำหรับ ดิวเทอเรียม, α แทนอนุภาคแอลฟา หรือฮีเลียม-4, β สำหรับอนุภาคบีตาหรืออิเล็กตรอน, γ สำหรับรังสีแกมมา ฯลฯ ปฏิกิริยาดังกล่าวข้างต้นจะถูกเขียนเป็น Li-6(d,α)α
ประวัติ
ในปี 1917, เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดก็สามารถประสบความสำเร็จในการแปลงร่างของไนโตรเจนให้เป็นแก๊สออกซิเจนที่มหาวิทยาลัยแห่งแมนเชสเตอร์ โดยการใช้อนุภาคแอลฟายิงไปที่ไนโตรเจน 14N + α → 17O + p นี่เป็นการสังเกตครั้งแรกของปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดขึ้น, นั่นคือ, ปฏิกิริยาที่อนุภาคจากการสลายตัวหนึ่งถูกใช้ในการแปลงให้เป็นอีกนิวเคลียสหนึ่ง ในที่สุดในปี 1932 ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, ปฏิกิริยานิวเคลียร์และการแปลงพันธ์ทางนิวเคลียร์ที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นอย่างสมบูรณ์ถูกทำได้สำเร็จโดยเพื่อนร่วมงานของรัทเธอร์ฟอร์ด นายจอห์น Cockcroft และนายเออร์เนส วอลตัน พวกเขาใช้โปรตอนที่ถูกเร่งความเร็วแบบประดิษฐ์ยิงเข้าใส่ลิเธียม-7 เพื่อแยกนิวเคลียสออกเป็นสองอนุภาคแอลฟา การทดลองนี้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายว่าเป็น "การแยกอะตอม" แม้ว่ามันจะไม่ใช่ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นแบบทันสมัยที่มีการค้นพบภายหลังในปี 1938 ในองค์ประกอบหนักโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน นายอ็อตโต ฮาห์นและนายฟริตซ์ Straßmann
การอนุรักษ์พลังงาน
พลังงานจลน์อาจถูกปล่อยออกมาในระหว่างการเกิดปฏิกิริยา (หรือปฏิกิริยาคายความร้อน (อังกฤษ: exothermic reaction)) หรือพลังงานจลน์อาจจะต้องมีการใส่เข้าไปเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา (หรือปฏิกิริยาดูดความร้อน (อังกฤษ: endothermic reaction)) ซึ่งสามารถคำนวณได้โดยการอ้างอิงไปยังตารางของ'มวลนิ่งของอนุภาค' (อังกฤษ: particle rest mass) ที่แม่นยำมากต่อไปนี้ ตามตารางที่อ้างอิงถึง นิวเคลียสของ 6
3Li มีมวลอะตอมสัมพันธ์ที่ 6.015 หน่วยมวลอะตอม (ตัวย่อ u), ดิวเทอเรียมมี 2.014 u และนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มี 4.0026 u ดังนั้น:
- มวลนิ่งรวมด้านซ้าย = 6.015 + 2.014 = 8.029 u
- มวลนิ่งรวมด้านขวา = 2 × 4.0026 = 8.0052 u
- มวลนิ่งขาดหายไป = 8.029 – 8.0052 = 0.0238 u
ในปฏิกิริยานิวเคลียร์หนึ่ง พลังงานสัมพันธ์ (อังกฤษ: relativistic energy) รวมจะถูกอนุรักษ์ เพราะฉะนั้น มวลนิ่ง "ที่ขาดหายไป" จึงต้องเกิดขึ้นอีกครั้งในรูปของพลังงานจลน์ที่ถูกปล่อยออกไปในระหว่างปฏิกิริยา; แหล่งที่มาของมันคือพลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียส (อังกฤษ: nuclear binding energy) (พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล [นิวเคลียร์]) เมื่อใช้สูตรสมดุลมวล-พลังงาน E = mc² ของ Einstein ปริมาณของพลังงานที่ปล่อยออกมาก็จะสามารถกำหนดได้ ก่อนอื่นเราต้องรู้พลังงานเทียบเท่าของหนึ่งหน่วยมวลอะตอม:
- 1 u c² = (1.66054 × 10−27 kg) × (2.99792 × 108 m/s)²
- = 1.49242 × 10−10 kg (m/s)² = 1.49242 × 10−10 J (Joule)
- × (1 / 1.60218 × 10−13 J)
- = 931.49 MeV,
ดังนั้น 1 u c² = 931.49 MeV.
ดังนั้นพลังงานที่ปล่อยออกมาจะเท่ากับ 0.0238 × 931 MeV = 22.2 MeV
พูดอีกอย่างคือ: มวลจะลดลง 0.3% ซึ่งสอดคล้องกับ 0.3% ของ 90 PJ/กก. เท่ากับ 270 TJ/kg
นี้เป็นจำนวนที่มากของพลังงานสำหรับปฏิกิริยานิวเคลียร์หนึ่ง จำนวนที่สูงมากนี้เป็นเพราะพลังงานยึดเหนี่ยวต่อ'นิวคลีออน'ของนิวเคลียสของฮีเลียม-4 ที่สูงผิดปกติ เพราะนิวเคลียสของ He-4 เป็น "วิเศษสองเท่า" (นิวเคลียสของ He-4 จะเสถียรแบบที่ไม่ปกติและถูกผูกมัดกันไว้อย่างแน่นหนาด้วยเหตุผลเดียวกันกับที่อะตอมของฮีเลียมเป็นก๊าซเฉื่อย นั่นคือ แต่ละคู่ของโปรตอนและนิวตรอนใน He-4 ครอบครองวงโคจรนิวเคลียร์เต็ม 1s ในลักษณะเดียวกับที่คู่ของอิเล็กตรอนในอะตอมของฮีเลียมครอบครองวงโคจรอิเล็กตรอนเต็ม 1s) ด้วยเหตุนี้อนุภาคแอลฟาจะปรากฏขึ้นบ่อยครั้งทางด้านขวามือของปฏิกิริยานิวเคลียร์
พลังงานที่ปล่อยออกมาในปฏิกิริยานิวเคลียร์จะปรากฏขึ้นส่วนใหญ่ในหนึ่งในสามวิธีต่อไปนี้:
- พลังงานจลน์ของอนุภาคของผลิตภัณฑ์
- การปล่อยโฟตอนพลังงานสูงมากที่เรียกว่ารังสีแกมมา
- พลังงานบางอย่างอาจยังคงอยู่ในนิวเคลียสที่เรียกว่าระดับพลังงาน metastable
เมื่อนิวเคลียสของผลิตภัณฑ์อยู่ในสภาวะ metastable สถานะสามารถบ่งชี้ได้โดยการวางเครื่องหมายดอกจัน ("*") ถัดจากหมายเลขอะตอมของมัน พลังงานนี้จะถูกปล่อยออกในที่สุดผ่านการสลายตัวของนิวเคลียร์ (อังกฤษ: nuclear decay) ซึ่งเป็นการสลายให้กัมมันตรังสี
นอกจากนี้จำนวนเล็กน้อยของพลังงานยังอาจเกิดขึ้นในรูปแบบของรังสีเอกซ์ โดยทั่วไปนิวเคลียสของผลิตภัณฑ์ที่มีเลขอะตอมที่แตกต่างกัน และทำให้รูปแบบของเปลือกของอิเล็กตรอนผิดไป ในขณะที่อิเล็กตรอนจัดเรียงตัวมันเองและลดระดับพลังงานลง รังสีเอกซ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงภายใน (รังสีเอกซ์ที่มีเส้นการแผ่ (อังกฤษ: emission line) ที่ถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจน) อาจจะถูกปลดปล่อยออกมา
ค่า Q และความสมดุลของพลังงาน
ในการเขียนสมการการเกิดปฏิกิริยา คล้ายกับสมการทางเคมี สารหนึ่งอาจบวกเข้าไปและให้พลังงานจากปฏิกิริยาทางด้านขวา เช่น:
- นิวเคลียสเป้าหมาย + วัตถุยิงเข้าไป → นิวเคลียสสุดท้าย + วัตถุปล่อยทิ้ง + ค่า Q
สำหรับกรณีเฉพาะที่กล่าวถึงข้างต้น พลังงานปฏิกิริยาได้ถูกคำนวณเป็นค่า Q = 22.2 MeV ดังนั้น:
พลังงานปฏิกิริยา ("ค่า Q") จะเป็นบวกสำหรับปฏิกิริยา exothermal และเป็นลบสำหรับปฏิกิริยา endothermal ในทางตรงกันข้าม มันมีความแตกต่างระหว่างผลรวมของพลังงานจลน์ในด้านสุดท้ายกับในด้านเริ่มต้น แต่ในทางกลับกัน มันก็ยังมีความแตกต่างเช่นกันระหว่างมวลนิ่งนิวเคลียร์ในด้านเริ่มต้นกับในด้านสุดท้าย (เราได้คำนวณค่า Q ข้างต้นในวิธีนี้)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ถ้าสมการของการเกิดปฏิกิริยามีความสมดุล มันไม่ได้หมายความว่าปฏิกิริยาได้เกิดขึ้นจริง อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับพลังงานของอนุภาคและฟลักซ์ของอนุภาคและภาคตัดขวางของปฏิกิริยา ตัวอย่างหนึ่งของพื้นที่เก็บขนาดใหญ่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาคือฐานข้อมูล REACLIB ที่ได้รับการดูแลรักษาโดยสถาบันร่วมสำหรับดาราศาสตร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
นิวตรอนเมื่อเทียบกับไอออน
ในการกระทบกันครั้งแรกซึ่งจะเริ่มปฏิกิริยา อนุภาคต้องวิ่งเข้าหากันอย่างใกล้ชิดพอเพื่อให้แรงช่วงสั้นสามารถจะส่งผลต่อกัน เนื่องจากอนุภาคนิวเคลียร์ที่พบมากที่สุดจะมีประจุเป็นบวก ซึ่งหมายความว่าพวกมันจะต้องเอาชนะแรงผลักไฟฟ้าสถิตแรงสูงก่อนที่ปฏิกิริยาจะสามารถเริ่มต้นขึ้น แม้ว่านิวเคลียสเป้าหมายเป็นส่วนหนึ่งของอะตอมที่เป็นกลาง อนุภาคอื่น ๆ จะต้องเจาะลึกไปไกลกว่าเมฆอิเล็กตรอนและเข้าไปใกล้กับนิวเคลียสซึ่งมีประจุบวก ดังนั้นอนุภาคดังกล่าวจะต้องถูกเร่งความเร็วตั้งแต่แรกให้มีพลังงานที่สูง ตัวอย่างเช่น โดย:
- เครื่องเร่งอนุภาค
- การสลายของนิวเคลียสหรือการสลายให้กัมมันตรังสี (อนุภาคแอลฟาเป็นชนิดหลักที่น่าสนใจที่นี่ เนื่องจากรังสีบีตาและแกมมายากที่จะมีส่วนร่วมในปฏิกิริยานิวเคลียร์)
- อุณหภูมิที่สูงอย่างมาก เป็นหลักล้านองศาเพื่อสร้างปฏิกิริยาเทอโมนิวเคลียร์
- รังสีคอสมิก
นอกจากนี้ เนื่องจากแรงผลักเป็นสัดส่วนกับผลผลิตของทั้งสองประจุ ปฏิกิริยาระหว่างนิวเคลียสที่หนักด้วยกันจะหาได้ยากกว่าปฏิกิริยาระหว่างนิวเคลียสหนักและนิวเคลียสเบา และจำเป็นต้องมีระดับพลังงานเริ่มต้นที่สูงกว่าอีกด้วย ในขณะที่ปฏิกิริยาระหว่างสองนิวเคลียสเบาเป็นสิ่งที่พบมากที่สุด
นิวตรอน ในทางตรงกันข้าม ไม่มีประจุไฟฟ้าที่จะทำให้เกิดแรงผลัก และสามารถที่จะเริ่มต้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่พลังงานต่ำมาก ในความเป็นจริง ที่พลังงานอนุภาคที่ต่ำอย่างมาก (ที่สอดคล้องกับการสมดุลความร้อนที่อุณหภูมิห้อง) ความยาวคลื่นแบบ de Broglie ของนิวตรอนจะเพิ่มขึ้นอย่างมาก อาจจะเพิ่มภาคตัดขวางการดักจับของมันให้สูงขี้นอย่างมาก ที่ระดับพลังงานใกล้กับค่า resonances ของนิวเคลียสที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นนิวตรอนพลังงานต่ำอาจจะทำให้เกิดปฏิกิริยามากกว่านิวตรอนพลังงานสูงด้วยซ้ำ
ประเภทของปฏิกิริยาที่โดดเด่น
ในขณะที่ปฏิกิริยานิวเคลียร์สามารถเกิดขึ้นได้หลายวิธี มีหลายชนิดที่พบบ่อย หรือโดดเด่นไปเลย ตัวอย่างได้แก่ :
- ปฏิกิริยาฟิวชั่น - นิวเคลียสเบาสองตัวรวมตัวเข้าด้วยกันเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า ด้วยอนุภาคที่เพิ่มเข้าไป (ปกติเป็นโปรตอนหรือนิวตรอน) ถูกโยนออกมาเพื่อการอนุรักษ์โมเมนตัม
- ปฏิกิริยาฟิชชั่น - นิวเคลียสหนึ่งถูกชนโดยอนุภาคหนึ่งที่มีพลังงานและโมเมนตัมเพียงพอที่จะเคาะให้แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยจำนวนมาก
- การปล่อยรังสีแกมมาโดยการเหนี่ยวนำ มีเพียงโฟตอนเท่านั้นที่มีส่วนร่วมในการสร้างและทำลายสถานะของการกระตุ้นนิวเคลียส
- การสลายให้อนุภาคแอลฟา - ถึงแม้ว่าจะถูกขับเคลื่อนโดยแรงพื้นฐานเช่นเดียวกันกับฟิชชันเกิดเอง การสลาย α ก็มักจะถือว่าแยกออกจากการเหนี่ยวนำ ความคิดที่มักจะอ้างบ่อยๆว่า "ปฏิกิริยานิวเคลียร์" จะถูกกักบริเวณให้อยู่ในกระบวนการที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง "การสลายกัมมันตรังสี" เป็นกลุ่มย่อยของ "ปฏิกิริยานิวเคลียร์" ที่เกิดขึ้นเองมากกว่าที่จะถูกเหนี่ยวนำให้เกิด ยกตัวอย่าง ที่เรียกว่า "อนุภาคแอลฟาร้อน" ที่มีพลังงานสูงผิดปกติอาจมีการผลิตจริงในฟิชชันที่เกิดโดยการเหนี่ยวนำแบบสามชิ้นแตกที่มีประจุ (อังกฤษ: induced ternary fission) ซึ่งเป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบเหนี่ยวนำ (ตรงข้ามกับฟิชชันเกิดเอง) อนุภาคแอลฟาดังกล่าวเกิดขึ้นจากฟิวชั่นสามชิ้นแตกที่เกิดขึ้นเองเช่นกัน
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นที่เหนี่ยวนำโดยนิวตรอน - นิวเคลียสที่หนักมากตัวหนึ่ง เกิดขึ้นเองหรือหลังจากการดูดซับอนุภาคเบาเพิ่มเติม (ปกติจะเป็นนิวตรอน) แยกออกเป็นสองหรือสามชิ้นในบางครั้ง นี่คือปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิด การฟิชชั่นที่เกิดชึ้นเอง ซึ่งเกิดขึ้นโดยปราศจากความช่วยเหลือของนิวตรอน มักจะไม่ถือว่าเป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่ส่วนใหญ่ มันก็ไม่ได้เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิด
ปฏิกิริยาโดยตรง
การยิงด้วยพลังงานปานกลางจะถ่ายเทพลังงานหรือได้รับนิวคลีออนหรือสูญเสียนิวคลีออนให้กับนิวเคลียสในการกระทบกันอย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว (10−21 วินาที) การถ่ายเทพลังงานและโมเมนตัมมีขนาดค่อนข้างเล็ก แต่ก็เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการทดลองฟิสิกส์นิวเคลียร์ เพราะกลไกการเกิดปฏิกิริยามักจะง่ายพอที่จะคำนวณด้วยความถูกต้องเพียงพอที่จะตรวจสอบโครงสร้างของนิวเคลียสเป้าหมาย
การกระเจิงที่ไม่ยืดหยุ่น
บทความหลัก: Inelastic scattering
จะมีการถ่ายโอนเฉพาะพลังงานและโมเมนตัมเท่านั้น
- (p,p') มีการทดสอบถึงความแตกต่างระหว่างสถานะต่าง ๆ ของนิวเคลียร์
- (α,α') มีการวัดรูปทรงและขนาดของพื้นผิวนิวเคลียร์ เนื่องจากอนุภาค α ที่กระทบกับนิวเคลียสมีปฏิกิริยาที่รุนแรงมากกว่า การกระเจิงของอนุภาค α ที่ตื้นและไม่ยืดหยุ่นและแบบยืดหยุ่นจะมีความไวต่อรูปร่างและขนาดของเป้าหมาย เช่นแสงที่กระจายจากวัตถุสีดำขนาดเล็ก
- (e,e') จะเป็นประโยชน์สำหรับการทดสอบโครงสร้างภายใน เนื่องจากอิเล็กตรอนทั้งหลายจะมีปฏิสัมพันธ์ที่รุนแรงน้อยกว่าที่โปรตอนและนิวตรอนทำ พวกมันเข้าไปถึงศูนย์กลางของเป้าหมายและฟังก์ชันคลื่นของพวกมันจะมีการบิดเบือนน้อยกว่าโดยการผ่านทะลุนิวเคลียส
ปฏิกิริยาการถ่ายโอน
ปกติที่พลังงานต่ำปานกลาง นิวคลีออนหนึ่งตัวหรือมากกว่าจะถูกถ่ายโอนระหว่างกระสุนและเป้าหมาย สิ่งเหล่านี้มีประโยชน์ในการศึกษาโครงสร้างเปลือกนอกของนิวเคลียส
- ปฏิกิริยา (α,n) และ (α,p). บางส่วนของการศึกษด้านปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เก่าแก่ที่สุดจะเกี่ยวข้องกับอนุภาคแอลฟาที่ผลิตโดยการสลายให้อนุภาคแอลฟา มีการกระเทาะนิวคลีออนออกจากนิวเคลียสเป้าหมาย
- ปฏิกิริยา (d,n) และ (d,p). ลำแสงดิวเทอรอนปะทะเข้ากับเป้าหมาย; นิวเคลียสของเป้าหมายทำการดูดซับนิวตรอนหรือโปรตอนอย่างใดอย่างหนึ่งจากดิวเทอรอน สารดืวเทอรอนมีการผูกติดกันอย่างหลวมเสียจนกระทั่งการดักจับเป็นไปเกือบจะเหมือนกับเป็นการดักจับโปรตอนหรือนิวตรอน นิวเคลียสของสารประกอบอาจก่อตัวขึ้น ทำให้นิวตรอนที่เกิดเพิ่มเติมถูกปล่อยออกมาอย่างช้า ๆ ปฏิกิริยา (d,n) จะถูกใช้ในการสร้างนิวตรอนที่มีพลังงาน
- ปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนแบบประหลาด (Kaon(K), Pion(π)) ถูกใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับ hypernucleus
- ปฏิกิริยา 14N(α,p)17O ที่ดำเนินการโดยรัทเธอร์ฟอร์ดในปี 1917 (ถูกรายงานในปี 1919) โดยทั่วไปถือว่าเป็นการทดลองเกี่ยวกับการแปลงพันธ์นิวเคลียร์ครั้งแรก
ปฏิกิริยากับนิวตรอน
→ | → | → | |||
---|---|---|---|---|---|
(n,α) | + n → T + α | + n → 7Li + α | 17O + n → 14C + α | 21Ne + n → 18O + α | 37Ar + n → 34S + α |
+ n → T + p | 7Be + n → 7Li + p | + n → 14C + p | 22Na + n → 22Ne + p |
ปฏิกิริยาทั้งหลายที่เกิดกับนิวตรอนต่างๆมีความสำคัญในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และอาวุธนิวเคลียร์ ในขณะที่ปฏิกิริยานิวตรอนที่รู้จักกันดีคือ (อังกฤษ: neutron scattering), การจับยึดนิวตรอนและนิวเคลียร์ฟิชชั่น สำหรับบางนิวเคลียสเบา (โดยเฉพาะ'นิวเคลียสแปลกแปลก') ปฏิกิริยากับนิวตรอนความร้อนส่วนใหญ่จะเป็นปฏิกิริยาแบบถ่ายโอน ดังนี้:
บางปฏิกิริยามีความเป็นไปได้เฉพาะกับนิวตรอนเร็วเท่านั้น ได้แก่:
- ปฏิกิริยา (n,2n) จะผลิตโพรแทกทิเนียม-231 และ U-232 จำนวนเล็กน้อยใน'วัฏจักรทอเรียม'ซึ่งในทางตรงข้ามเป็นผลิตภัณฑ์ที่ค่อนข้างปลอดกัมมันตภาพรังสีอย่างสูง
- 9Be + n → 2α + 2n สามารถสร้างบางนิวตรอนเพิ่มเติมในต้วสะท้อนนิวตรอนที่ใช้สารเบริลเลียมของอาวุธนิวเคลียร์ชนิดหนึ่ง
- 7Li + n → + α + n มีส่วนร่วมแบบไม่คาดคิดทีให้ผลลัพธ์เพิ่มเติมใน Castle Bravo, Castle Romeo, และ Castle Yankee ทั้งสามรายการนี้เป็นการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ที่ให้ผลลัพธ์สูงสุดที่ดำเนินการโดยสหรัฐอเมริกา
ปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบผสม
การถ่ายโอนพลังงานไปให้กับนิวเคลียสสามารถเกิดขึ้นได้โดยการยิงด้วยกระสุนพลังงานต่ำหรือด้วยอนุภาคพลังงานสูง ทำให้เกิดพลังงานบนนิวเคลียสจำนวนมากเกินไปที่จะผูกพันอนุภาคภายในนิวเคลียสนั้นให้สามารถเกาะกลุ่มร่วมกันได้อย่างเต็มที่ ในระดับเวลาประมาณ 10−19 วินาที อนุภาค มักจะเป็นนิวตรอน จะถูก "ต้ม" จนแตกออก นั่นคือมันจะยังคงเกาะติดอยู่ด้วยกันจนกระทั่งพลังงานที่มากพอปรากฏขึ้นบนนิวตรอนจนมีความเข้มข้นพอที่นิวตรอนนั้นจะหลุดออกจากแรงดึงดูดที่มีร่วมกัน อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะยากที่จะถูกต้มจนแตกออกอันเนื่องมาจากเครื่องกั้นของคูลอมบ์ (อังกฤษ: coulomb barrier) นิวเคลียสกึ่งผูกพันที่ถูกกระตุ้นจะถูกเรียกว่า นิวเคลียสผสม (อังกฤษ: compound nucleus)
(e, e' xn), (γ, xn) ที่มีพลังงานต่ำ (xn หมายถึงนิวตรอนหนึ่งหรือมากกว่า) เมื่อรังสีแกมมาหรือ'พลังงานรังสีแกมมาเสมือน' อยู่ใกล้กับ giant dipole resonance พลังงานหรือรังสีเหล่านี้จะเพิ่มความจำเป็นสำหรับ'การป้องกันรังสี'รอบ'เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน'
ข้อมูลเพิ่มเติม: การแบ่งแยกนิวเคลียส
อ้างอิง
- The Astrophysics Spectator: Hydrogen Fusion Rates in Stars
- R. J. D. Tilley Understanding solids: the science of materials, John Wiley and Sons, 2004, , p. 495
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-02. สืบค้นเมื่อ 2015-11-11.
- a table of atomic masses
แหล่งข้อมูลอื่น
- M.G. Bowler, Nuclear Physics, Pergamon Press 1973.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ptikiriyaniwekhliyr xngkvs Nuclear reaction insakhafisiksniwekhliyraelaekhminiwekhliyr hmaythungkrabwnkarthiniwekhliys 2 twkhxngxatxmediywkn hruxniwekhliyskhxngxatxmhnungaelaxnuphakhyxy khxngxikxatxmhnungcakphaynxkxatxmnn chnkn thaihekidniwekhliysihmhnungtwhruxmakkwahnungtwthimicanwnxnuphakhyxyaetktangcakniwekhliysthierimtnkrabwnkar dngnnptikiriyaniwekhliyrcatxngthaihekidkarepliynaeplngkhxngxyangnxyhnungniwikhld ipepnxyangxun hakniwekhliyshnungmiptikiriyakbxikniwekhliyshnunghruxxnuphakhxunaelaphwkmnkaeykxxkcakknodyimmikarepliynaeplnglksnakhxngniwikhldid krabwnkarniepnaetephiyngpraephthhnungkhxngkarkraecingkhxngniwekhliysethann imichptikiriyaniwekhliyrtamaebbcalxngaesdngptikiriyaniwekhliyrni lithium 6 6 3 Li aela diwethxeriym 2 1 H thaptikiriyaknthaihekidniwekhliys 8 4 Be thimiaerngkratunkhnadklangxyangsung caknnmncaslaythnthiklayepnxnuphakhaexlfakhxng helium 4 4 2 He 2 tw oprtxnthukaesdngdwylukklmsiaedng aelaniwtrxnthukaesdngdwylukklmsinaengin inhlkkar ptikiriyasamarthekidkhuncakkarchnknkhxngxnuphakhmakkwasxngxnuphakh aetepnipidnxymakthiniwekhliysmakkwasxngtwcamachnkninewlaediywknaelasthanthiediywkn ehtukarndngklawcungepnkhxnghayakepnphiess dukrabwnkarsamxlfa sungepntwxyanghnungthiiklekhiyngkbkarekidptikiriyaniwekhliyrsamesa ptikiriyaniwekhliyr epnkhathihmaykhwamthungkarepliynaeplngthi thukehniywnaihekid inniwikhld dngnnmncungimsamarthnaipichkbkarslaykmmntrngsichnidid id ephraaodykhacakdkhwamaelw karslaykmmntrngsiepnkrabwnkarthiekidkhunexng ptikiriyaniwekhliyrinthrrmchaticaekidkhuncakkarptismphnthrahwangrngsikhxsmikaelassar aelaptikiriyaniwekhliyrsamarththukpradisthkhunephuxihidphlngnganniwekhliyrinxtrathiprbidtamkhwamtxngkar bangthiptikiriyaniwekhliyrthioddednmakthisudcaepnptikiriyalukosniwekhliyrinwsduthiaetktwid xngkvs fissionable material ephuxehniywnaihekidptikiriyaniwekhliyrfichchnaelaptikiriyaniwekhliyrfiwchntangkhxngxngkhprakxbebathiphlitphlngnganihkbdwngxathityaeladwngdawthnghlay thngsxngpraephthinkarekidptikiriyanithukichinkarphlitxawuthniwekhliyrsylksnptikiriyaniwekhliyrxaccaaesdnginrupaebbthikhlaykbsmkarekhmi sungmwlningcatxngsmdulknsahrbaetladankhxngsmkar aelakaraeplngkhxngxnuphakhcatxngepniptamkdkhxngkarxnurksthiaennxn echnkarxnurkskhxngpracuaelacanwnaebrixxn canwnmwlxatxmrwm twxyangkhxngsylksnhnungcaepndngtxipni 4 2 He ephuxkhwamsmdulkhxngsmkarkhangtnsahrbmwl pracuaelaelkhmwl niwekhliystwthisxngdankhwacatxngmielkhxatxmepn 2 aelaelkhmwlepn 4 dngnn mncungyngkhngepnhieliym 4 dngnnsmkarthismburncungepn 4 2 He 4 2 He hruxephiyngaekh 2 4 2 He aethnthicaichsmkaretmrupaebbdngklawkhangtn inhlay sthankarn sylksnthimikhnadkathdrdcathukichephuxxthibayptikiriyaniwekhliyrtang rupaebbkhxngaebbfxrmnikhux A b c D ethiybethakb A b id c D xnuphakhebathwipmkcathukyxihsnaebbni ody p sahrboprtxn n sahrbniwtrxn d sahrb diwethxeriym a aethnxnuphakhaexlfa hruxhieliym 4 b sahrbxnuphakhbitahruxxielktrxn g sahrbrngsiaekmma l ptikiriyadngklawkhangtncathukekhiynepn Li 6 d a aprawtiinpi 1917 exxrenst rthethxrfxrdksamarthprasbkhwamsaercinkaraeplngrangkhxnginotrecnihepnaeksxxksiecnthimhawithyalyaehngaemnechsetxr odykarichxnuphakhaexlfayingipthiinotrecn 14N a 17O p niepnkarsngektkhrngaerkkhxngptikiriyaniwekhliyrthithukehniywnaihekidkhun nnkhux ptikiriyathixnuphakhcakkarslaytwhnungthukichinkaraeplngihepnxikniwekhliyshnung inthisudinpi 1932 thimhawithyalyekhmbridc ptikiriyaniwekhliyraelakaraeplngphnththangniwekhliyrthithukpradisthkhunxyangsmburnthukthaidsaercodyephuxnrwmngankhxngrthethxrfxrd naycxhn Cockcroft aelanayexxrens wxltn phwkekhaichoprtxnthithukerngkhwamerwaebbpradisthyingekhaisliethiym 7 ephuxaeykniwekhliysxxkepnsxngxnuphakhaexlfa karthdlxngniepnthiruckknaephrhlaywaepn karaeykxatxm aemwamncaimichptikiriyaniwekhliyrfichchnaebbthnsmythimikarkhnphbphayhlnginpi 1938 inxngkhprakxbhnkodynkwithyasastrchaweyxrmn nayxxtot hahnaelanayfrits Strassmannkarxnurksphlngnganphlngnganclnxacthukplxyxxkmainrahwangkarekidptikiriya hruxptikiriyakhaykhwamrxn xngkvs exothermic reaction hruxphlngnganclnxaccatxngmikarisekhaipephuxihekidptikiriya hruxptikiriyadudkhwamrxn xngkvs endothermic reaction sungsamarthkhanwnidodykarxangxingipyngtarangkhxng mwlningkhxngxnuphakh xngkvs particle rest mass thiaemnyamaktxipni tamtarangthixangxingthung niwekhliyskhxng 6 3 Li mimwlxatxmsmphnththi 6 015 hnwymwlxatxm twyx u diwethxeriymmi 2 014 u aelaniwekhliyskhxnghieliym 4 mi 4 0026 u dngnn mwlningrwmdansay 6 015 2 014 8 029 u mwlningrwmdankhwa 2 4 0026 8 0052 u mwlningkhadhayip 8 029 8 0052 0 0238 u inptikiriyaniwekhliyrhnung phlngngansmphnth xngkvs relativistic energy rwmcathukxnurks ephraachann mwlning thikhadhayip cungtxngekidkhunxikkhrnginrupkhxngphlngnganclnthithukplxyxxkipinrahwangptikiriya aehlngthimakhxngmnkhuxphlngnganyudehniywniwekhliys xngkvs nuclear binding energy phlngnganyudehniyw phlngnganyudehniywkhxngoprtxnaelaniwtrxninniwekhliys mikhaethakbphlngnganthinxythisudsahrbkaraeykniwekhliysxxkepnoprtxnaelaniwtrxn nxkcakniynghmaythung phlngnganyudehniywkhxngxielktrxndwy sungmikhaethakbphlngnganthitxngichephuxaeykxielktrxnxxkmacakxatxmhruxomelkul niwekhliyr emuxichsutrsmdulmwl phlngngan E mc khxng Einstein primankhxngphlngnganthiplxyxxkmakcasamarthkahndid kxnxuneratxngruphlngnganethiybethakhxnghnunghnwymwlxatxm 1 u c 1 66054 10 27 kg 2 99792 108 m s 1 49242 10 10 kg m s 1 49242 10 10 J Joule 1 1 60218 10 13 J 931 49 MeV dngnn 1 u c 931 49 MeV dngnnphlngnganthiplxyxxkmacaethakb 0 0238 931 MeV 22 2 MeV phudxikxyangkhux mwlcaldlng 0 3 sungsxdkhlxngkb 0 3 khxng 90 PJ kk ethakb 270 TJ kg niepncanwnthimakkhxngphlngngansahrbptikiriyaniwekhliyrhnung canwnthisungmakniepnephraaphlngnganyudehniywtx niwkhlixxn khxngniwekhliyskhxnghieliym 4 thisungphidpkti ephraaniwekhliyskhxng He 4 epn wiesssxngetha niwekhliyskhxng He 4 caesthiyraebbthiimpktiaelathukphukmdkniwxyangaennhnadwyehtuphlediywknkbthixatxmkhxnghieliymepnkasechuxy nnkhux aetlakhukhxngoprtxnaelaniwtrxnin He 4 khrxbkhrxngwngokhcrniwekhliyretm 1s inlksnaediywkbthikhukhxngxielktrxninxatxmkhxnghieliymkhrxbkhrxngwngokhcrxielktrxnetm 1s dwyehtunixnuphakhaexlfacapraktkhunbxykhrngthangdankhwamuxkhxngptikiriyaniwekhliyr phlngnganthiplxyxxkmainptikiriyaniwekhliyrcapraktkhunswnihyinhnunginsamwithitxipni phlngnganclnkhxngxnuphakhkhxngphlitphnth karplxyoftxnphlngngansungmakthieriykwarngsiaekmma phlngnganbangxyangxacyngkhngxyuinniwekhliysthieriykwaradbphlngngan metastable emuxniwekhliyskhxngphlitphnthxyuinsphawa metastable sthanasamarthbngchiidodykarwangekhruxnghmaydxkcn thdcakhmayelkhxatxmkhxngmn phlngngannicathukplxyxxkinthisudphankarslaytwkhxngniwekhliyr xngkvs nuclear decay sungepnkarslayihkmmntrngsi nxkcaknicanwnelknxykhxngphlngnganyngxacekidkhuninrupaebbkhxngrngsiexks odythwipniwekhliyskhxngphlitphnththimielkhxatxmthiaetktangkn aelathaihrupaebbkhxngepluxkkhxngxielktrxnphidip inkhnathixielktrxncderiyngtwmnexngaelaldradbphlngnganlng rngsiexksthimikarepliynaeplngphayin rngsiexksthimiesnkaraeph xngkvs emission line thithukkahndiwxyangchdecn xaccathukpldplxyxxkmakha Q aelakhwamsmdulkhxngphlngnganinkarekhiynsmkarkarekidptikiriya khlaykbsmkarthangekhmi sarhnungxacbwkekhaipaelaihphlngngancakptikiriyathangdankhwa echn niwekhliysepahmay wtthuyingekhaip niwekhliyssudthay wtthuplxything kha Q dd sahrbkrniechphaathiklawthungkhangtn phlngnganptikiriyaidthukkhanwnepnkha Q 22 2 MeV dngnn 2 4 2 He 22 2 MeV phlngnganptikiriya kha Q caepnbwksahrbptikiriya exothermal aelaepnlbsahrbptikiriya endothermal inthangtrngknkham mnmikhwamaetktangrahwangphlrwmkhxngphlngnganclnindansudthaykbindanerimtn aetinthangklbkn mnkyngmikhwamaetktangechnknrahwangmwlningniwekhliyrindanerimtnkbindansudthay eraidkhanwnkha Q khangtninwithini xtrakarekidptikiriyathasmkarkhxngkarekidptikiriyamikhwamsmdul mnimidhmaykhwamwaptikiriyaidekidkhuncring xtrakarekidptikiriyakhunxyukbphlngngankhxngxnuphakhaelaflkskhxngxnuphakhaelaphakhtdkhwangkhxngptikiriya twxyanghnungkhxngphunthiekbkhnadihykhxngxtrakarekidptikiriyakhuxthankhxmul REACLIB thiidrbkarduaelrksaodysthabnrwmsahrbdarasastrfisiksniwekhliyrniwtrxnemuxethiybkbixxxninkarkrathbknkhrngaerksungcaerimptikiriya xnuphakhtxngwingekhahaknxyangiklchidphxephuxihaerngchwngsnsamarthcasngphltxkn enuxngcakxnuphakhniwekhliyrthiphbmakthisudcamipracuepnbwk sunghmaykhwamwaphwkmncatxngexachnaaerngphlkiffasthitaerngsungkxnthiptikiriyacasamartherimtnkhun aemwaniwekhliysepahmayepnswnhnungkhxngxatxmthiepnklang xnuphakhxun catxngecaalukipiklkwaemkhxielktrxnaelaekhaipiklkbniwekhliyssungmipracubwk dngnnxnuphakhdngklawcatxngthukerngkhwamerwtngaetaerkihmiphlngnganthisung twxyangechn ody ekhruxngerngxnuphakh karslaykhxngniwekhliyshruxkarslayihkmmntrngsi xnuphakhaexlfaepnchnidhlkthinasnicthini enuxngcakrngsibitaaelaaekmmayakthicamiswnrwminptikiriyaniwekhliyr xunhphumithisungxyangmak epnhlklanxngsaephuxsrangptikiriyaethxomniwekhliyr rngsikhxsmik nxkcakni enuxngcakaerngphlkepnsdswnkbphlphlitkhxngthngsxngpracu ptikiriyarahwangniwekhliysthihnkdwykncahaidyakkwaptikiriyarahwangniwekhliyshnkaelaniwekhliyseba aelacaepntxngmiradbphlngnganerimtnthisungkwaxikdwy inkhnathiptikiriyarahwangsxngniwekhliysebaepnsingthiphbmakthisud niwtrxn inthangtrngknkham immipracuiffathicathaihekidaerngphlk aelasamarththicaerimtnptikiriyaniwekhliyrthiphlngngantamak inkhwamepncring thiphlngnganxnuphakhthitaxyangmak thisxdkhlxngkbkarsmdulkhwamrxnthixunhphumihxng khwamyawkhlunaebb de Broglie khxngniwtrxncaephimkhunxyangmak xaccaephimphakhtdkhwangkardkcbkhxngmnihsungkhinxyangmak thiradbphlngnganiklkbkha resonances khxngniwekhliysthiekiywkhxng dngnnniwtrxnphlngngantaxaccathaihekidptikiriyamakkwaniwtrxnphlngngansungdwysapraephthkhxngptikiriyathioddedninkhnathiptikiriyaniwekhliyrsamarthekidkhunidhlaywithi mihlaychnidthiphbbxy hruxoddednipely twxyangidaek ptikiriyafiwchn niwekhliysebasxngtwrwmtwekhadwyknepnniwekhliysthihnkkwa dwyxnuphakhthiephimekhaip pktiepnoprtxnhruxniwtrxn thukoynxxkmaephuxkarxnurksomemntm ptikiriyafichchn niwekhliyshnungthukchnodyxnuphakhhnungthimiphlngnganaelaomemntmephiyngphxthicaekhaaihaetkxxkepnchinelkchinnxycanwnmak karplxyrngsiaekmmaodykarehniywna miephiyngoftxnethannthimiswnrwminkarsrangaelathalaysthanakhxngkarkratunniwekhliys karslayihxnuphakhaexlfa thungaemwacathukkhbekhluxnodyaerngphunthanechnediywknkbfichchnekidexng karslay a kmkcathuxwaaeykxxkcakkarehniywna khwamkhidthimkcaxangbxywa ptikiriyaniwekhliyr cathukkkbriewnihxyuinkrabwnkarthithukehniywnaihekidepnsingthiimthuktxng karslaykmmntrngsi epnklumyxykhxng ptikiriyaniwekhliyr thiekidkhunexngmakkwathicathukehniywnaihekid yktwxyang thieriykwa xnuphakhaexlfarxn thimiphlngngansungphidpktixacmikarphlitcringinfichchnthiekidodykarehniywnaaebbsamchinaetkthimipracu xngkvs induced ternary fission sungepnptikiriyaniwekhliyraebbehniywna trngkhamkbfichchnekidexng xnuphakhaexlfadngklawekidkhuncakfiwchnsamchinaetkthiekidkhunexngechnkn ptikiriyaniwekhliyrfichchnthiehniywnaodyniwtrxn niwekhliysthihnkmaktwhnung ekidkhunexnghruxhlngcakkardudsbxnuphakhebaephimetim pkticaepnniwtrxn aeykxxkepnsxnghruxsamchininbangkhrng nikhuxptikiriyaniwekhliyrthithukehniywnaihekid karfichchnthiekidchunexng sungekidkhunodyprascakkhwamchwyehluxkhxngniwtrxn mkcaimthuxwaepnptikiriyaniwekhliyr thiswnihy mnkimidepnptikiriyaniwekhliyrthithukehniywnaihekidptikiriyaodytrng karyingdwyphlngnganpanklangcathayethphlngnganhruxidrbniwkhlixxnhruxsuyesiyniwkhlixxnihkbniwekhliysinkarkrathbknxyangrwderwephiyngkhrngediyw 10 21 winathi karthayethphlngnganaelaomemntmmikhnadkhxnkhangelk aetkepnpraoychnxyangyinginkarthdlxngfisiksniwekhliyr ephraaklikkarekidptikiriyamkcangayphxthicakhanwndwykhwamthuktxngephiyngphxthicatrwcsxbokhrngsrangkhxngniwekhliysepahmay karkraecingthiimyudhyun bthkhwamhlk Inelastic scattering camikarthayoxnechphaaphlngnganaelaomemntmethann p p mikarthdsxbthungkhwamaetktangrahwangsthanatang khxngniwekhliyr a a mikarwdrupthrngaelakhnadkhxngphunphiwniwekhliyr enuxngcakxnuphakh a thikrathbkbniwekhliysmiptikiriyathirunaerngmakkwa karkraecingkhxngxnuphakh a thitunaelaimyudhyunaelaaebbyudhyuncamikhwamiwtxruprangaelakhnadkhxngepahmay echnaesngthikracaycakwtth usidakhnadelk e e caepnpraoychnsahrbkarthdsxbokhrngsrangphayin enuxngcakxielktrxnthnghlaycamiptismphnththirunaerngnxykwathioprtxnaelaniwtrxntha phwkmnekhaipthungsunyklangkhxngepahmayaelafngkchnkhlunkhxngphwkmncamikarbidebuxnnxykwaodykarphanthaluniwekhliysptikiriyakarthayoxn pktithiphlngngantapanklang niwkhlixxnhnungtwhruxmakkwacathukthayoxnrahwangkrasunaelaepahmay singehlanimipraoychninkarsuksaokhrngsrangepluxknxkkhxngniwekhliys ptikiriya a n aela a p bangswnkhxngkarsuksdanptikiriyaniwekhliyrthiekaaekthisudcaekiywkhxngkbxnuphakhaexlfathiphlitodykarslayihxnuphakhaexlfa mikarkraethaaniwkhlixxnxxkcakniwekhliysepahmay ptikiriya d n aela d p laaesngdiwethxrxnpathaekhakbepahmay niwekhliyskhxngepahmaythakardudsbniwtrxnhruxoprtxnxyangidxyanghnungcakdiwethxrxn sarduwethxrxnmikarphuktidknxyanghlwmesiycnkrathngkardkcbepnipekuxbcaehmuxnkbepnkardkcboprtxnhruxniwtrxn niwekhliyskhxngsarprakxbxackxtwkhun thaihniwtrxnthiekidephimetimthukplxyxxkmaxyangcha ptikiriya d n cathukichinkarsrangniwtrxnthimiphlngngan ptikiriyaaelkepliynaebbprahlad Kaon K Pion p thukichinkarsuksaekiywkb hypernucleus ptikiriya 14N a p 17O thidaeninkarodyrthethxrfxrdinpi 1917 thukraynganinpi 1919 odythwipthuxwaepnkarthdlxngekiywkbkaraeplngphnthniwekhliyrkhrngaerkptikiriyakbniwtrxn n a n T a n 7Li a 17O n 14C a 21Ne n 18O a 37Ar n 34S a n T p 7Be n 7Li p n 14C p 22Na n 22Ne p ptikiriyathnghlaythiekidkbniwtrxntangmikhwamsakhyinekhruxngptikrnniwekhliyraelaxawuthniwekhliyr inkhnathiptikiriyaniwtrxnthiruckkndikhux xngkvs neutron scattering karcbyudniwtrxnaelaniwekhliyrfichchn sahrbbangniwekhliyseba odyechphaa niwekhliysaeplkaeplk ptikiriyakbniwtrxnkhwamrxnswnihycaepnptikiriyaaebbthayoxn dngni bangptikiriyamikhwamepnipidechphaakbniwtrxnerwethann idaek ptikiriya n 2n caphlitophraethkthieniym 231 aela U 232 canwnelknxyin wtckrthxeriym sunginthangtrngkhamepnphlitphnththikhxnkhangplxdkmmntphaphrngsixyangsung 9Be n 2a 2n samarthsrangbangniwtrxnephimetimintwsathxnniwtrxnthiichsarebrileliymkhxngxawuthniwekhliyrchnidhnung 7Li n a n miswnrwmaebbimkhadkhidthiihphllphthe phimetimin Castle Bravo Castle Romeo aela Castle Yankee thngsamraykarniepnkarthdsxbxawuthniwekhliyrthiihphllphthsungsudthidaeninkarodyshrthxemrikaptikiriyaniwekhliyraebbphsm karthayoxnphlngnganipihkbniwekhliyssamarthekidkhunidodykaryingdwykrasunphlngngantahruxdwyxnuphakhphlngngansung thaihekidphlngnganbnniwekhliyscanwnmakekinipthicaphukphnxnuphakhphayinniwekhliysnnihsamarthekaaklumrwmknidxyangetmthi inradbewlapraman 10 19 winathi xnuphakh mkcaepnniwtrxn cathuk tm cnaetkxxk nnkhuxmncayngkhngekaatidxyudwykncnkrathngphlngnganthimakphxpraktkhunbnniwtrxncnmikhwamekhmkhnphxthiniwtrxnnncahludxxkcakaerngdungdudthimirwmkn xnuphakhthimipracuiffacayakthicathuktmcnaetkxxkxnenuxngmacakekhruxngknkhxngkhulxmb xngkvs coulomb barrier niwekhliyskungphukphnthithukkratuncathukeriykwa niwekhliysphsm xngkvs compound nucleus e e xn g xn thimiphlngnganta xn hmaythungniwtrxnhnunghruxmakkwa emuxrngsiaekmmahrux phlngnganrngsiaekmmaesmuxn xyuiklkb giant dipole resonance phlngnganhruxrngsiehlanicaephimkhwamcaepnsahrb karpxngknrngsi rxb ekhruxngerngxnuphakhxielktrxn khxmulephimetim karaebngaeykniwekhliysxangxingThe Astrophysics Spectator Hydrogen Fusion Rates in Stars R J D Tilley Understanding solids the science of materials John Wiley and Sons 2004 ISBN 0 470 85275 5 p 495 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 09 02 subkhnemux 2015 11 11 a table of atomic massesaehlngkhxmulxunM G Bowler Nuclear Physics Pergamon Press 1973 ISBN 0 08 016983 Xbthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk