การจับยึดนิวตรอน (อังกฤษ: Neutron capture) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบหนึ่งที่ นิวเคลียสของอะตอม หนึ่งตัวและ นิวตรอน หนึ่งตัวหรือมากกว่ามีการชนกันและรวมเข้าด้วยกันทำให้เกิดเป็นนิวเคลียสตัวใหม่ที่หนักขึ้น เนื่องจากนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้า พวกมันจึงสามารถแทรกตัวเข้าสู่นิวเคลียสได้ง่ายกว่าโปรตอนประจุบวก ซึ่งจะถูกไล่ออกไปโดยไฟฟ้าสถิต
การจับยึดนิวตรอนมีบทบาทสำคัญในการสังเคราะห์นิวเคลียสโดยรังสีคอสมิกของธาตุที่หนัก ในดวงดาว มันสามารถเกิดขึ้นในสองวิธี ได้แก่ กระบวนการอย่างรวดเร็ว (r-process) หรือกระบวนการอย่างช้า (s-process) นิวเคลียสของมวลที่มากกว่า 56 ไม่สามารถเกิดขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ความร้อนได้ (เช่นโดยนิวเคลียร์ฟิวชัน) แต่สามารถเกิดขึ้นได้โดยการจับยึดนิวตรอน
อ้างอิง
- ; Hans Mes; Jacques Hebert (1966). "Progress of theoretical physics: Resonance in the Nucleus". Institute of Physics. Ottawa, Canada: University of Ottawa (Department of Physics). 3 (3): 556–600.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karcbyudniwtrxn xngkvs Neutron capture epnptikiriyaniwekhliyraebbhnungthi niwekhliyskhxngxatxm hnungtwaela niwtrxn hnungtwhruxmakkwamikarchnknaelarwmekhadwyknthaihekidepnniwekhliystwihmthihnkkhun enuxngcakniwtrxnimmipracuiffa phwkmncungsamarthaethrktwekhasuniwekhliysidngaykwaoprtxnpracubwk sungcathukilxxkipodyiffasthit karcbyudniwtrxnmibthbathsakhyinkarsngekhraahniwekhliysodyrngsikhxsmikkhxngthatuthihnk indwngdaw mnsamarthekidkhuninsxngwithi idaek krabwnkarxyangrwderw r process hruxkrabwnkarxyangcha s process niwekhliyskhxngmwlthimakkwa 56 imsamarthekidkhuncakptikiriyaniwekhliyrkhwamrxnid echnodyniwekhliyrfiwchn aetsamarthekidkhunidodykarcbyudniwtrxnxangxing Hans Mes Jacques Hebert 1966 Progress of theoretical physics Resonance in the Nucleus Institute of Physics Ottawa Canada University of Ottawa Department of Physics 3 3 556 600