ในทางเคมี ธาตุหลังยูเรเนียม (อังกฤษ: transuranium element, transuranic element) เป็นธาตุเคมีซึ่งมีเลขอะตอมมากกว่า 92 (เลขอะตอมของยูเรเนียม) ธาตุเหล่านี้เป็นธาตุไม่เสถียรและจะสลายตัวให้รังสีจนกลายสภาพไปเป็นธาตุอื่น
ภาพรวม
ในบรรดาธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 1 ถึง 92 ทุกธาตุ ยกเว้นสี่ธาตุ (เทคนีเชียม, โพรมีเทียม, แอสทาทีน และแฟรนเซียม) สามารถถูกพบได้โดยง่ายเป็นปริมาณมากบนโลก โดยพบเป็นไอโซโทปเสถียร หรือมีครึ่งชีวิตยาวนานมาก หรือถูกสร้างขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ทั่วไปจากการสลายของยูเรเนียม
อย่างไรก็ตาม ธาตุทั้งหมดที่มีเลขอะตอมสูงกว่านั้น ถูกพบครั้งแรกในห้องปฏิบัติการ ยกเว้นเนปทูเนียมและพลูโตเนียม ธาตุเหล่านี้ล้วนแต่เป็นธาตุกัมมันตรังสี โดยมีครึ่งชีวิตสั้นกว่ามาก ดังนั้นอะตอมใด ๆ ของธาตุเหล่านี้ หากเกิดขึ้นขณะที่โลกก่อตัวขึ้นนั้น จึงได้สลายตัวไปนานแล้วนับตั้งแต่ตอนนั้น ในหินซึ่งอุดมไปด้วยยูเรเนียมมีเนปทูเนียมและพลูโตเนียมเจือปนอยู่ในปริมาณเล็กน้อย และธาตุทั้งสองนี้ได้รับการผลิตขึ้นอีกเล็กน้อยระหว่างการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ในชั้นบรรยากาศ เนปทูเนียมและพลูโตเนียมซึ่งผลิตขึ้นนั้นมาจากการจับนิวตรอนในแร่ยูเรเนียมพร้อมกับการสลายให้อนุภาคบีตาอีกสองรอบ (238U → → → )
ธาตุหลังยูเรเนียมซึ่งสามารถถูกพบบนโลกปัจจุบันเป็นธาตุที่ถูกสังเคราะห์ขึ้น ไม่ว่าจะโดยเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือเครื่องเร่งอนุภาค ครึ่งชีวิตของธาตุเหล่านี้มีแนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แต่ยกเว้นบางธาตุ รวมไปถึงดุบเนียมและคูเรียมอีกหลายไอโซโทป ความผิดปกติในแนวโน้มดังกล่าวเพิ่มเติมยังได้รับการทำนายโดยเกล็นน์ ที. ซีบอร์ก และถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ "หมู่เกาะแห่งเสถียรภาพ"
ธาตุหลังยูเรเนียมหนักสามารถผลิตได้ยากและใช้ต้นทุนสูง และมูลค่าของมันจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามเลขอะตอม ในปี พ.ศ. 2551 ยูเรเนียมระดับอาวุธมีมูลค่า 4,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อกรัม ส่วนแคลิฟอร์เนียมมีมูลค่าอยู่ที่ 60,000,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อกรัม เนื่องจากความยากในการผลิต จึงไม่มีธาตุชนิดใดที่หนักกว่าแคลิฟอร์เนียมมีการนำไปใช้ในทางอุตสาหกรรมหรือถูกผลิตขึ้นในปริมาณมาก
ธาตุหลังยูเรเนียมซึ่งยังไม่ถูกค้นพบ หรือถูกค้นพบแล้วแต่ยังไม่ได้มีการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ จะใช้ชื่อธาตุที่เป็นระบบของ IUPAC ไปพลางก่อน เนื่องจากการตั้งชื่อธาตุหลังยูเรเนียมนี้เป็นแหล่งที่มาของการโต้เถียงกัน
ธาตุหนักยิ่งยวด
ธาตุหนักยิ่งยวด เป็น เริ่มตั้งแต่รัทเทอร์ฟอร์เดียม (เลขอะตอม 104) ธาตุเหล่านี้ล้วนแต่ถูกสังเคราะห์ขึ้นโดยมนุษย์ทั้งสิ้น และปัจจุบันยังไม่สามารถถูกนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากครึ่งชีวิตอันสั้นของพวกมันซึ่งทำให้ธาตุเหล่านี้สลายตัวไปภายในเวลาไม่กี่นาทีไปจนถึงไม่กี่มิลลิวินาที ซึ่งยังทำให้ธาตุเหล่านี้สามารถศึกษาได้ยากยิ่งอีกด้วย
ธาตุหนักยิ่งยวดล้วนแต่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีการสังเคราะห์ขึ้นอย่างต่อเนื่องในคริสต์ศตวรรษที่ 21 เมื่อเทคโนโลยีพัฒนาต่อไป ธาตุเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นโดยการยิงธาตุในเครื่องเร่งอนุภาค ยกตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของแคลิฟอร์เนียม-249 และคาร์บอน-12 ก่อให้เกิดเป็นรัทเทอร์ฟอร์เดียม ธาตุเหล่านี้ถูกสังเคราะห์ขึ้นในระดับอะตอมและยังไม่สามารถค้นพบวิธีการสังเคราะห์ขึ้นในปริมาณมาก
อ้างอิง
- "Price of Plutonium". The Physics Factbook.
- Rodger C. Martin and Steven E. Kos. (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (pdf)เมื่อ 2012-10-06. สืบค้นเมื่อ 2011-06-09.
- Heenen, P. H.; Nazarewicz, W. (2002). "Quest for superheavy nuclei". Europhysics News. 33: 5. doi:10.1051/epn:2002102.
- Greenwood, N. N. (1997). "Recent developments concerning the discovery of elements 100–111". Pure and Applied Chemistry. 69: 179. doi:10.1351/pac199769010179.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangekhmi thatuhlngyuereniym xngkvs transuranium element transuranic element epnthatuekhmisungmielkhxatxmmakkwa 92 elkhxatxmkhxngyuereniym thatuehlaniepnthatuimesthiyraelacaslaytwihrngsicnklaysphaphipepnthatuxuntarangthatuphrxmkbthasylksnsithatutamkhrungchiwitkhxngixosothpthiesthiyrthisud thatuesthiyr thatukmmntrngsisungmiixosothpthimikhrungchiwityawnanmak odymikhrungchiwitnankwasilanpi pldplxyrngsixxkmainprimanelknxymak thatukmmntrngsisungxacepnxntraytxsukhphaphelknxy ixosothpthiesthiyrthisudkhxngthatuehlanimikhrungchiwitxyurahwang 800 thung 34 000 pi mikarnaipichinthangphanichyxyubang thatukmmntrngsisungthrabkndiwamikhwamesiyngtxkhwamplxdphysung ixosothpthiesthiyrthisudmikhrungchiwitxyurahwang 1 wnthung 103 pi dwyrngsithipldplxyxxkmathaihthatuehlanimiskyphaphinkarnaipichinechingphanichyidephiyngelknxy thatukmmntrngsixyangying ixosothpthiesthiyrthisudmikhrungchiwitxyurahwangimkinathithunghnungwn thatuehlanixntraytxsukhphaphxyangrunaerng miimkichnidethannthithukichnxkehnuxipcakkarwicyebuxngtn thatukmmntrngsixyangrunaerng thatuehlanimikhwamrukhwamekhaicekiywkbphwkmnnxymakenuxngcakkhwamimesthiyraelakmmntphaphrngsiphaphrwminbrrdathatuthimielkhxatxmtngaet 1 thung 92 thukthatu ykewnsithatu ethkhniechiym ophrmiethiym aexsthathin aelaaefrnesiym samarththukphbidodyngayepnprimanmakbnolk odyphbepnixosothpesthiyr hruxmikhrungchiwityawnanmak hruxthuksrangkhunepnphlitphnththwipcakkarslaykhxngyuereniym xyangirktam thatuthnghmdthimielkhxatxmsungkwann thukphbkhrngaerkinhxngptibtikar ykewnenpthueniymaelaphluoteniym thatuehlanilwnaetepnthatukmmntrngsi odymikhrungchiwitsnkwamak dngnnxatxmid khxngthatuehlani hakekidkhunkhnathiolkkxtwkhunnn cungidslaytwipnanaelwnbtngaettxnnn inhinsungxudmipdwyyuereniymmienpthueniymaelaphluoteniymecuxpnxyuinprimanelknxy aelathatuthngsxngniidrbkarphlitkhunxikelknxyrahwangkarthdlxngxawuthniwekhliyrinchnbrryakas enpthueniymaelaphluoteniymsungphlitkhunnnmacakkarcbniwtrxninaeryuereniymphrxmkbkarslayihxnuphakhbitaxiksxngrxb 238U thatuhlngyuereniymsungsamarththukphbbnolkpccubnepnthatuthithuksngekhraahkhun imwacaodyekhruxngptikrnniwekhliyrhruxekhruxngerngxnuphakh khrungchiwitkhxngthatuehlanimiaenwonmldlngemuxelkhxatxmephimkhun aetykewnbangthatu rwmipthungdubeniymaelakhueriymxikhlayixosothp khwamphidpktiinaenwonmdngklawephimetimyngidrbkarthanayodyeklnn thi sibxrk aelathukcdxyuinhmwdhmu hmuekaaaehngesthiyrphaph thatuhlngyuereniymhnksamarthphlitidyakaelaichtnthunsung aelamulkhakhxngmncaephimkhunxyangrwderwtamelkhxatxm inpi ph s 2551 yuereniymradbxawuthmimulkha 4 000 dxllarshrthtxkrm swnaekhlifxreniymmimulkhaxyuthi 60 000 000 dxllarshrthtxkrm enuxngcakkhwamyakinkarphlit cungimmithatuchnididthihnkkwaaekhlifxreniymmikarnaipichinthangxutsahkrrmhruxthukphlitkhuninprimanmak thatuhlngyuereniymsungyngimthukkhnphb hruxthukkhnphbaelwaetyngimidmikartngchuxxyangepnthangkar caichchuxthatuthiepnrabbkhxng IUPAC ipphlangkxn enuxngcakkartngchuxthatuhlngyuereniymniepnaehlngthimakhxngkarotethiyngknthatuhnkyingywdtaaehnngkhxngthatuhnkyingywdintarangthatu thatuhnkyingywd epn erimtngaetrthethxrfxrediym elkhxatxm 104 thatuehlanilwnaetthuksngekhraahkhunodymnusythngsin aelapccubnyngimsamarththuknaipichihekidpraoychnid enuxngcakkhrungchiwitxnsnkhxngphwkmnsungthaihthatuehlanislaytwipphayinewlaimkinathiipcnthungimkimilliwinathi sungyngthaihthatuehlanisamarthsuksaidyakyingxikdwy thatuhnkyingywdlwnaetthuksngekhraahkhuninchwngkhrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 20 aelayngmikarsngekhraahkhunxyangtxenuxnginkhriststwrrsthi 21 emuxethkhonolyiphthnatxip thatuehlanithuksrangkhunodykaryingthatuinekhruxngerngxnuphakh yktwxyangechn ptikiriyaniwekhliyrfiwchnkhxngaekhlifxreniym 249 aelakharbxn 12 kxihekidepnrthethxrfxrediym thatuehlanithuksngekhraahkhuninradbxatxmaelayngimsamarthkhnphbwithikarsngekhraahkhuninprimanmakxangxing Price of Plutonium The Physics Factbook Rodger C Martin and Steven E Kos PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim pdf emux 2012 10 06 subkhnemux 2011 06 09 Heenen P H Nazarewicz W 2002 Quest for superheavy nuclei Europhysics News 33 5 doi 10 1051 epn 2002102 Greenwood N N 1997 Recent developments concerning the discovery of elements 100 111 Pure and Applied Chemistry 69 179 doi 10 1351 pac199769010179