บทความนี้ไม่มีจาก |
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของประเทศไทย ที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2501 และรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2502 ปัจจุบันเปิดสอนทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก ในหลักสูตร ธรณีวิทยา และ โลกศาสตร์ (วิทยาศาสตร์โลก)
Department of Geology, Faculty of Science, Chulalongkorn University | |
สถาปนา | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 |
---|---|
หัวหน้าภาควิชา | ผศ.ดร.อัคนีวุธ จิรภิญญากุล |
ที่อยู่ | |
มาสคอต | รูปของบรรพชีวินแอมโมไนต์และค้อนธรณีวิทยา |
เว็บไซต์ | www.geo.sc.chula.ac.th |
ประวัติภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาธรณีวิทยา วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 มีศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรักษาการหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา (สมัยนั้นเรียกแผนกวิชา) มีศาสตราจารย์ ดร. Th. H. F. Klompe ชาวฮอลันดา เป็นผู้ร่างหลักสูตร ร่วมกับกรมทรัพยากรธรณี (กรมโลหกิจเดิม) ต่อมาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการ ตามข้อบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการจัดเพิ่มแผนกวิชาในคณะต่างๆ แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2502 (ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2502)
ในช่วงต้นของการพัฒนาภาควิชา ภาควิชาธรณีวิทยาได้รับการช่วยเหลือทั้งด้านอุปกรณ์การสอน และการพัฒนาบุคลากร จากองค์กรทั้งในและต่างประเทศจำนวนมาก ปีแรกที่เปิดดำเนินการ ยังไม่มีอาคารสำนักงานของตนเอง ได้อาศัยห้อง 111 ตึกชีววิทยา และห้อง 216 ตึกเคมี 2 เป็นห้องเรียน ห้องสมุดได้อาศัยจากหลายแห่ง เช่น หอสมุดกลาง ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ ห้องสมุดภาควิชาเคมี ห้องสมุดภาควิชาชีววิทยา และ เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากภาควิชาธรณีวิทยามีอาจารย์ประจำอยู่เพียงคนเดียว คือ ศาสตราจารย์ ดร. Klompe การสอนนั้นย่อมจะต้องหนักบ้างเป็นธรรมดา แต่ก็มีอาจารย์พิเศษจากหน่วยงานต่าง ๆ มาช่วยสอนด้วย เช่น อาจารย์ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ อาจารย์ชุมเจษฎ์ ผู้เชี่ยวชาญธรณีวิทยา จากกรมทรัพยากรธรณี ดร. C.Y. Li นักธรณีวิทยาจาก ECAFE ศาสตราจารย์ ม.จ. ประสมสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นต้น สำหรับแผนที่ ตัวอย่างแร่หิน และอุปกรณ์การสอนอย่างอื่นที่ใช้ในการสอนนั้น ศาสตราจารย์ ดร. Klompe ได้นำติดตัวมาจากต่างประเทศบ้าง และได้รับการอุปถัมภ์จากกรมทรัพยากรธรณีบ้าง
ปี พ.ศ. 2502 ได้ย้ายที่ทำการภาควิชา จากห้อง 111 ตึกชีววิทยาหลังเก่า ไปอยู่ห้อง 233 ตึกชีววิทยาหลังใหม่ ซึ่งมีขนาดกว้างกว่าเดิม 3-4 เท่า พอมีเนื้อที่แบ่งเป็นห้องพักอาจารย์ได้ 1 ห้อง ห้องทำงานของเจ้าหน้าที่ได้ 1 ห้อง และจัดเป็นที่อ่านหนังสือ โดยมีตู้ โต๊ะ วาง 3-4 ตัว เรียกว่าพอเป็นห้องสมุดเล็ก ๆ ได้ บางครั้งก็อาศัยเป็นห้องปฏิบัติการ ดูแร่และหินในห้องนั้นได้ด้วย การเรียนการสอนก็ยังใช้อาจารย์ชุดเดิม และสถานที่เรียนเดิมทั้งหมด
กลางปี พ.ศ. 2503 ได้ย้ายที่ทำการภาควิชาอีกครั้งมาอยู่ที่ตึกห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ () ซึ่งสร้างเสร็จใหม่ ๆ เป็นอาคาร 4 ชั้นที่ทันสมัย มีหน้าต่างกระจกรอบด้าน ที่ทำการภาควิชาฯ อยู่บนชั้นที่ 3 และ 4 ของตึกห้องสมุดฯ ตั้งแต่ได้ย้ายที่เรียนและที่ทำการมาอยู่ที่ตึกห้องสมุดฯ แล้ว ภาควิชาธรณีวิทยาได้พัฒนาตัวเองเกือบทุกด้าน ตั้งแต่สถานที่ทำงาน ได้จัดให้เป็นสัดเป็นส่วน ห้องพักอาจารย์ ห้องธุรการ ห้องสมุด ห้องเก็บของ ห้องทำ ห้องปฏิบัติการ และห้องเรียนที่ทันสมัย ซึ่งส่วนมากใช้ฉายสไลด์ และภาพยนตร์ได้ด้วย อุปกรณ์การเรียนการสอนต่าง ๆ เช่น ตัวอย่างแร่และหิน กล้องจุลทรรศน์ และเครื่องใช้ในสนามเรามีครบครัน หนังสือนั้นได้รับบริจาคจากองค์การ USOM เป็นจำนวนมาก พร้อมทั้งรถยนต์จิ๊ปวิลลี่หน้ากบ 1 คัน และกล้องจุลทรรศน์อีก 2-3 กล้อง เป็นต้น ในปีนี้เองภาควิชาธรณีวิทยา ได้มีอาจารย์ประจำชาวต่างประเทศมาสอนเพิ่มอีก 1 คน คือ ดร. W.F. Beeser เป็นชาวฮอลันดา ชาติเดียวกับ ศาสตราจารย์ ดร. Klompe นั้นเอง ดร.W.F. Beeser ผู้นี้ภายหลังจากได้มาประจำทำการสอนแล้ว ได้ช่วยแบ่งเบางานด้านวิชาการของ ศาสตราจารย์ ดร. Klompe ไปได้มาก โดยเฉพาะวิชา Optics, , และ Fieldwork ต่อมาภายหลังจากการสอนมาครบ 4 ปีตามสัญญาแล้ว ได้ต่ออายุสัญญาจ้างอีกครั้งโดยไม่มีกำหนด ระยะเวลา ให้สอนไปจนกว่าจุฬาฯ จะบอกเลิกจ้าง ดร. Beeser ได้ทำการสอนที่ภาควิชาธรณีวิทยา มาตลอดตั้งแต่ต้น จนกระทั่งถึงแก่กรรม เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2525 รวมเวลาทำการสอนได้ประมาณ 22 ปีเศษ
ปี พ.ศ. 2509 คณะวิทยาศาสตร์ได้รับงบประมาณหมวดค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้างสำหรับสร้างตึกที่ทำการ ภาควิชาธรณีวิทยา และภาควิชาพฤกษศาสตร์ เป็นอาคารถาวร 4 ชั้น ทรงปั้นหยา ใช้เวลาก่อสร้างอยู่ประมาณ 1 ปี จึงแล้วเสร็จ คือ ตึกภาควิชาธรณีวิทยา และภาควิชาพฤกษศาสตร์ ในปัจจุบัน และเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2510 ภาควิชาธรณีวิทยาจึงได้ย้ายที่ทำการและอาคารเรียนอีกครั้ง จากตึกห้องสมุดคณะฯ มาอยู่ตึกธรณีวิทยาซึ่งสร้างเสร็จและส่งมอบเรียบร้อยแล้ว เป็นการถาวรตลอดมา จนกระทั่งปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2520 ภาควิชาธรณีวิทยา เริ่มเปิดให้มีการเรียนการสอน ในหลักสูตร (ปริญญาโท) สาขาวิชาธรณีวิทยาเป็นครั้งแรก หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2541 ภาควิชาธรณีวิทยาได้มีการพัฒนาอีกขั้นหนึ่ง โดยเปิดหลักสูตร (ปริญญาเอก) ในสาขาวิชาธรณีวิทยา และได้รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ให้ทำการรับนิสิตได้ในปีถัดไป และปี พ.ศ. 2542 ภาควิชาธรณีวิทยาได้รับการอนุมัติเปิดหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโลกศาสตร์ อีกหนึ่งหลักสูตร
สัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาฯ
- สัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาฯ เป็นรูปของบรรพชีวินแอมโมไนต์และค้อนธรณีวิทยา
- แอมโมไนต์ หนึ่งในสัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาฯ
- อีกหนึ่งในสัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาฯ
สัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของประเทศไทยที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2501 มีลักษณะเป็นรูปของหรือซากดึกดำบรรพ์หรือฟอสซิลของแอมโมไนต์และค้อนธรณีวิทยา ปัจจุบันยังไม่มีบันทึกว่า เพราะเหตุใดทางภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงเลือกใช้ทั้งสิ่งเป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงาน แต่เป็นที่ทราบกันดีว่า สำหรับค้อนธรณีวิทยานั้น เป็นอุปกรณ์สำคัญประจำตัวของนักธรณีวิทยาทุกคน ดังที่ปรากฏในบทเพลงประจำกลุ่มของกลุ่มนิสิตและนักศึกษาสาขาวิชาธรณีวิทยาที่ยังมีการสืบทอดและขับร้องให้นิสิตนักศึกษาที่เข้าใหม่ทุกคนได้เรียนรู้
ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปัจจุบัน มีนิสิตสำเร็จการศึกษาจากภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้วหลายรุ่น ด้วยความรักและความสัมพันธ์อันดีที่มีต่อกันระหว่างกลุ่มนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มนิสิตเหล่านี้จึงได้จัดตั้งหน่วยงานที่เรียกว่า ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีนโยบายการดำเนินงานของชมรมฯ ดังต่อไปนี้
- ส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
- ดำเนินการให้สมาชิกได้รับประโยชน์จากชมรมฯมากที่สุดโดยการบริการความช่วยเหลือและสงเคราะห์สมาชิก
- ส่งเสริม พัฒนา และเผยแพร่วิชาการธรณีวิทยาด้านต่าง ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานการประกอบอาชีพธรณีวิทยาให้ความร่วมมือกับชมรม สมาคมมหาวิทยาลัย หน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
- เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แก่สมาชิก
- เครื่องหมายของชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องหมายเป็น รูปหกเหลี่ยมซึ่งหมายถึง หน้าตัดผลึกทับทิมสยามล้อมวงกลม ซึ่งมีพระเกี้ยวอยู่ภายใน ระหว่างหกเหลี่ยมและวงกลมเขียนชื่อ "ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา" ไว้ด้านบนและ "CUGA" ไว้ด้านล่าง
- สื่อสัมพันธ์ ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอีกหนึ่งรูปแบบที่ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดทำขึ้น เพื่อดำเนินการตามนโยบายการดำเนินงานของชมรมฯ เป็นสื่อสัมพันธ์ที่เผยแพร่วิชาการธรณีวิทยาด้านต่าง ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานการประกอบอาชีพธรณีวิทยาภายในประเทศไทย และยังเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แก่สมาชิก
หน่วยงานในความร่วมมือของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรมทรัพยากรธรณี เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่มีการทำงานและการศึกษาด้านธรณีวิทยา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง ขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ร.ศ. 110 (พ.ศ. 2434) นับจนถึงขณะนี้ เป็นเวลา 115 ปีแล้ว และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับกระทรวงต่าง ๆ ตามยุคสมัย 6 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงเศรษฐการ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กรมทรัพยากรธรณี เมื่อครั้งสังกัด กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ชมรมนิสิตเก่าธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phakhwichathrniwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly epnhnwyngandankarsuksaaerkkhxngpraethsithy thiepidihmikareriynkarsxndanthrniwithyainradbmhawithyalyxyangepnthangkar odyepidthakarsxntngaet ph s 2501 aelarbxnumticaksphamhawithyalyihcdtngepnphakhwichathrniwithyakhuninkhnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly xyangepnthangkaremuxpi ph s 2502 pccubnepidsxnthnginradbpriyyatri oth aelaexk inhlksutr thrniwithya aela olksastr withyasastrolk phakhwichathrniwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyalyDepartment of Geology Faculty of Science Chulalongkorn Universitysthapna14 krkdakhm ph s 2502hwhnaphakhwichaphs dr xkhniwuth cirphiyyakulthixyukhnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly thnnphyaith aekhwngwngihm ekhtpthumwn krungethphmhankhrmaskhxtrupkhxngbrrphchiwinaexmomintaelakhxnthrniwithyaewbistwww geo sc chula ac thphakhwichathrniwithya cula thayemuxwnthi 11 tulakhm ph s 2548prawtiphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyalyphakhwichathrniwithya withyasastr culalngkrnmhawithyaly epidthakarsxnmatngaetpi ph s 2501 misastracary dr aethb nilanithi khnbdikhnawithyasastr aelarksakarhwhnaphakhwichathrniwithya smynneriykaephnkwicha misastracary dr Th H F Klompe chawhxlnda epnphuranghlksutr rwmkbkrmthrphyakrthrni krmolhkicedim txmaemuxwnthi 14 krkdakhm ph s 2502 cungidrbxnumticaksphamhawithyalyihcdtngepnphakhwichathrniwithyakhuninkhnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly xyangepnthangkar tamkhxbngkhbculalngkrnmhawithyaly wadwykarcdephimaephnkwichainkhnatang aehngculalngkrnmhawithyaly ph s 2502 prakas n wnthi 13 krkdakhm ph s 2502 inchwngtnkhxngkarphthnaphakhwicha phakhwichathrniwithyaidrbkarchwyehluxthngdanxupkrnkarsxn aelakarphthnabukhlakr cakxngkhkrthnginaelatangpraethscanwnmak piaerkthiepiddaeninkar yngimmixakharsankngankhxngtnexng idxasyhxng 111 tukchiwwithya aelahxng 216 tukekhmi 2 epnhxngeriyn hxngsmudidxasycakhlayaehng echn hxsmudklang hxngsmudkhnawithyasastr hxngsmudphakhwichaekhmi hxngsmudphakhwichachiwwithya aela epnswnihy enuxngcakphakhwichathrniwithyamixacarypracaxyuephiyngkhnediyw khux sastracary dr Klompe karsxnnnyxmcatxnghnkbangepnthrrmda aetkmixacaryphiesscakhnwyngantang machwysxndwy echn xacary cakkhnawiswkrrmsastr cula xacarychumecsd phuechiywchaythrniwithya cakkrmthrphyakrthrni dr C Y Li nkthrniwithyacak ECAFE sastracary m c prasmswsdi sukhswsdi cakkhnasthaptykrrmsastr cula epntn sahrbaephnthi twxyangaerhin aelaxupkrnkarsxnxyangxunthiichinkarsxnnn sastracary dr Klompe idnatidtwmacaktangpraethsbang aelaidrbkarxupthmphcakkrmthrphyakrthrnibang pi ph s 2502 idyaythithakarphakhwicha cakhxng 111 tukchiwwithyahlngeka ipxyuhxng 233 tukchiwwithyahlngihm sungmikhnadkwangkwaedim 3 4 etha phxmienuxthiaebngepnhxngphkxacaryid 1 hxng hxngthangankhxngecahnathiid 1 hxng aelacdepnthixanhnngsux odymitu ota wang 3 4 tw eriykwaphxepnhxngsmudelk id bangkhrngkxasyepnhxngptibtikar duaeraelahininhxngnniddwy kareriynkarsxnkyngichxacarychudedim aelasthanthieriynedimthnghmd klangpi ph s 2503 idyaythithakarphakhwichaxikkhrngmaxyuthitukhxngsmudkhnawithyasastr sungsrangesrcihm epnxakhar 4 chnthithnsmy mihnatangkrackrxbdan thithakarphakhwicha xyubnchnthi 3 aela 4 khxngtukhxngsmud tngaetidyaythieriynaelathithakarmaxyuthitukhxngsmud aelw phakhwichathrniwithyaidphthnatwexngekuxbthukdan tngaetsthanthithangan idcdihepnsdepnswn hxngphkxacary hxngthurkar hxngsmud hxngekbkhxng hxngtha hxngptibtikar aelahxngeriynthithnsmy sungswnmakichchaysild aelaphaphyntriddwy xupkrnkareriynkarsxntang echn twxyangaeraelahin klxngculthrrsn aelaekhruxngichinsnameramikhrbkhrn hnngsuxnnidrbbricakhcakxngkhkar USOM epncanwnmak phrxmthngrthyntcipwillihnakb 1 khn aelaklxngculthrrsnxik 2 3 klxng epntn inpiniexngphakhwichathrniwithya idmixacarypracachawtangpraethsmasxnephimxik 1 khn khux dr W F Beeser epnchawhxlnda chatiediywkb sastracary dr Klompe nnexng dr W F Beeser phuniphayhlngcakidmapracathakarsxnaelw idchwyaebngebangandanwichakarkhxng sastracary dr Klompe ipidmak odyechphaawicha Optics aela Fieldwork txmaphayhlngcakkarsxnmakhrb 4 pitamsyyaaelw idtxxayusyyacangxikkhrngodyimmikahnd rayaewla ihsxnipcnkwacula cabxkelikcang dr Beeser idthakarsxnthiphakhwichathrniwithya matlxdtngaettn cnkrathngthungaekkrrm emuxeduxnemsayn ph s 2525 rwmewlathakarsxnidpraman 22 piess pi ph s 2509 khnawithyasastridrbngbpramanhmwdkhathidin aelasingkxsrangsahrbsrangtukthithakar phakhwichathrniwithya aelaphakhwichaphvkssastr epnxakharthawr 4 chn thrngpnhya ichewlakxsrangxyupraman 1 pi cungaelwesrc khux tukphakhwichathrniwithya aelaphakhwichaphvkssastr inpccubn aelaemuxwnthi 26 minakhm ph s 2510 phakhwichathrniwithyacungidyaythithakaraelaxakhareriynxikkhrng caktukhxngsmudkhna maxyutukthrniwithyasungsrangesrcaelasngmxberiybrxyaelw epnkarthawrtlxdma cnkrathngpccubn pi ph s 2520 phakhwichathrniwithya erimepidihmikareriynkarsxn inhlksutr priyyaoth sakhawichathrniwithyaepnkhrngaerk hlngcaknninpi ph s 2541 phakhwichathrniwithyaidmikarphthnaxikkhnhnung odyepidhlksutr priyyaexk insakhawichathrniwithya aelaidrbkarxnumticaksphamhawithyaly ihthakarrbnisitidinpithdip aelapi ph s 2542 phakhwichathrniwithyaidrbkarxnumtiepidhlksutrpriyyamhabnthit sakhawichaolksastr xikhnunghlksutrsylksnkhxngphakhwichathrniwithya culasylksnkhxngphakhwichathrniwithya cula epnrupkhxngbrrphchiwinaexmomintaelakhxnthrniwithya aexmomint hnunginsylksnkhxngphakhwichathrniwithya cula xikhnunginsylksnkhxngphakhwichathrniwithya cula sylksnkhxngphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly sungepnhnwyngandankarsuksaaerkkhxngpraethsithythiepidihmikareriynkarsxndanthrniwithyainradbmhawithyalyxyangepnthangkar odyepidthakarsxntngaet ph s 2501 milksnaepnrupkhxnghruxsakdukdabrrphhruxfxssilkhxngaexmomintaelakhxnthrniwithya pccubnyngimmibnthukwa ephraaehtuidthangphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly cungeluxkichthngsingepnsylksnkhxnghnwyngan aetepnthithrabkndiwa sahrbkhxnthrniwithyann epnxupkrnsakhypracatwkhxngnkthrniwithyathukkhn dngthipraktinbthephlngpracaklumkhxngklumnisitaelanksuksasakhawichathrniwithyathiyngmikarsubthxdaelakhbrxngihnisitnksuksathiekhaihmthukkhnideriynruchmrmnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyalypccubn minisitsaerckarsuksacakphakhwichathrniwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyalyaelwhlayrun dwykhwamrkaelakhwamsmphnthxndithimitxknrahwangklumnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyaly klumnisitehlanicungidcdtnghnwynganthieriykwa chmrmnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyaly odyminoybaykardaeninngankhxngchmrm dngtxipnisngesrimaelakrachbkhwamsmphnthrahwangsmachikephuxesrimsrangkhwamsamkhkhiaelakhwamrwmmuxchwyehluxsungknaelakn daeninkarihsmachikidrbpraoychncakchmrmmakthisudodykarbrikarkhwamchwyehluxaelasngekhraahsmachik sngesrim phthna aelaephyaephrwichakarthrniwithyadantang ephuxykradbmatrthankarprakxbxachiphthrniwithyaihkhwamrwmmuxkbchmrm smakhmmhawithyaly hnwyngantang khxngrthaelaexkchnthnginaelatangpraeths epnsunyklanginkarrwbrwmaelaaelkepliynkhxmulkhawsar aeksmachikekhruxnghmaykhxngchmrmnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyaly ekhruxnghmayepn ruphkehliymsunghmaythung hnatdphlukthbthimsyamlxmwngklm sungmiphraekiywxyuphayin rahwanghkehliymaelawngklmekhiynchux chmrmnisitekathrniwithya iwdanbnaela CUGA iwdanlangsuxsmphnth chmrmnisitekathrniwithyaculalngkrnmhawithyaly epnxikhnungrupaebbthichmrmnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyaly idcdthakhun ephuxdaeninkartamnoybaykardaeninngankhxngchmrm epnsuxsmphnththiephyaephrwichakarthrniwithyadantang ephuxykradbmatrthankarprakxbxachiphthrniwithyaphayinpraethsithy aelayngepnsunyklanginkarrwbrwmaelaaelkepliynkhxmulkhawsar aeksmachikhnwynganinkhwamrwmmuxkhxngphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyalykrmthrphyakrthrni epnhnwynganaerkkhxngpraethsithythimikarthanganaelakarsuksadanthrniwithya phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5 idmiphrabrmrachoxngkar oprdeklaoprdkrahmxm ihprakastng khuninkrathrwngekstrathikar emuxwnthi 1 mkrakhm r s 110 ph s 2434 nbcnthungkhnani epnewla 115 piaelw aelatxmaidyaysngkdipkhunkbkrathrwngtang tamyukhsmy 6 krathrwng khux krathrwngmhadithy krathrwngphrakhlngmhasmbti krathrwngesrsthkar krathrwngxutsahkrrm aelakrathrwngphthnakaraehngchati ody idepliynchuxepn krmthrphyakrthrni emuxkhrngsngkd krathrwngphthnakaraehngchati phayhlngcakkarptiruprabbrachkaremuxwnthi 3 tulakhm ph s 2545 krmthrphyakrthrni idyaymasngkd krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmaehlngkhxmulxunphakhwichathrniwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly chmrmnisitekathrniwithya culalngkrnmhawithyaly 2006 03 05 thi ewyaebkaemchchin