นาซีเยอรมนีได้จัดตั้งค่ายกักกันขึ้นตลอดดินแดนยึดครองของตน ค่ายกักกันนาซีในช่วงแรก ๆ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากในเยอรมนีภายหลัง ในปี ค.ศ. 1933 โดยตั้งใจที่จะคุมขังนักโทษการเมืองและผู้ต่อต้านรัฐบาล ค่ายกักกันดังกล่าวได้เพิ่มจำนวนขึ้นอีกในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เมื่อมีการคุมขังนักโทษการเมืองและกลุ่มบุคคลอีกหลายกลุ่มโดยไม่มีการไต่สวนหรือกระบวนการตุลาการ คำดังกล่าวเป็นคำยืมมาจาก ค่ายกักกันอังกฤษ ระหว่าง นักวิชาการเรื่องการล้างชาติโดยนาซี (Holocaust) ได้กำหนดข้อแตกต่างระหว่างค่ายกักกัน (ดังที่อธิบายในบทความนี้) แลค่ายมรณะ ซึ่งเป็นค่ายที่สร้างขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ในการสังหารประชากรจำนวนมากลงเพียงอย่างเดียว ได้แก่ ชาวยิวในทวีปยุโรป ชาวโปล ชาวยิปซี และชาติอื่น ๆ ค่ายมรณะรวมไปถึง เบลเซค โซบิบอร์ ทริบลิงก้า และเอาชวิตซ์-เบอร์เคนาว
ค่ายกักกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
ภายหลังการปะทุของสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1939 ค่ายกักกันนาซีได้กลายเป็นสถานที่คุมขังศัตรูของนาซี ระหว่างสงคราม ค่ายกักกันสำหรับ "ผู้ไม่พึงปรารถนา" นี้ได้แพร่กระจายไปทั่วทวีปยุโรป มีการสร้างค่ายใหม่ ๆ ขึ้นใกล้กับศูนย์กลางของประชากร "ผู้ไม่พึงปรารถนา" นี้ ซึ่งมักเพ่งเล็งไปยังประชาคมชาวยิว กลุ่มปัญญาชนชาวโปล พวกคอมมิวนิสต์ หรือโรมา ก่อนสงคราม ในโปแลนด์มีชาวยิวอาศัยอยู่หลายล้านคน ค่ายกักกันส่วนใหญ่มักพบเห็นในพื้นที่ของ ในดินแดนยึดครองโปแลนด์ เพื่อจุดประสงค์ด้านการขนส่ง นอกจากนี้ยังทำให้นาซีขนส่งชาวเยอรมันเชื้อสายยิวออกนอกประเทศได้อีกด้วย
ผู้ต้องขัง
กลุ่มผู้ต้องขังในค่ายกักกันส่วนใหญ่มีจำนวน 6 กลุ่ม โดยชาวยิวและเชลยศึกโซเวียตมีจำนวนมากที่สุด คือ หลายล้านคน นอกจากนี้ ยังมีพวกโรมา (หรือยิปซี), ชาวโปล, นักโทษการเมืองสายกลางหรือฝ่ายซ้าย, พวกรักร่วมเพศ, ผู้ซึ่งมีความบกพร่อง, ผู้นับถือลัทธิพยานพระเยโฮวาห์, นักบวชคาทอลิก, กลุ่มปัญญาชนยุโรปตะวันออก และอื่น ๆ รวมทั้งอาชญากรโดยทั่วไป สำหรับเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกจะถูกส่งไปยังค่ายกักกันในหลายจุดประสงค์ เขลยศึกเหล่านี้ที่เป็นยิว หรือที่พวกนาซีเชื่อว่าเป็นยิว มักจะถูกส่งไปยังค่ายเชลยศึกตามปกติ; อย่างไรก็ตาม มีจำนวนน้อยที่ถูกส่งไปยังค่ายกักกันภายใต้นโยบายต่อต้านชาวยิว
ในบางครั้ง ค่ายกักกันใช้เป็นที่คุมขังนักโทษสำคัญ อย่างเช่น นายพลซึ่งมีส่วนรู้เห็นในความพยายามลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น พลเรือเอก วิลเฮล์ม คานาริส ผู้ซึ่งถูกคุมตัวอยู่ที่ฟลอสเซนบูวร์ก เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 จนกระทั่งเขาถูกแขวนคอเมื่อวันที่ 9 เมษายน ไม่นานก่อนสงครามยุติ
ในค่ายกักกันส่วนใหญ่ มีการบังคับให้นักโทษสวมเครื่องแบบซึ่งบ่งชี้เอกลักษณ์ด้วยเข็มสีตามการจัดแบ่งประเภท: สามเหลี่ยมสีแดงสำหรับพวกคอมมิวนิสต์และนักโทษการเมืองอื่น ๆ, สามเหลี่ยมสีเขียวสำหรับอาชญากรทั่วไป, สีชมพูสำหรับชายรักร่วมเพศ, สีม่วงสำหรับผู้นับถือลัทธิพยานพระเยโฮวาห์, สีดำสำหรับพวกยิปซีและพวกที่หลีกหนีสังคม, และสีเหลืองสำหรับชาวยิว
การปฏิบัติต่อนักโทษ
นักโทษนับล้านเสียชีวิตในค่ายกักกันเนื่องจากการทำทารุณโดยเจตนา โรคระบาด การอดอาหาร และการใช้แรงงานหนัก หรือถูกประหารชีวิตเนื่องจากไม่สามารถใช้แรงงานได้ ชาวยิวมากกว่า 3 ล้านคนเสียชีวิตด้วยเหตุผลดังกล่าว ส่วนใหญ่เสียชีวิตในห้องรมแก๊ส แม้ว่าจะมีการสังหารนักโทษบางส่วนด้วยการยิงหรือด้วยวิธีการอื่น ๆ
การขนส่งนักโทษโดยรถรางบรรทุกมักจะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เมตตา ที่ซึ่งนักโทษจำนวนมากเสียชีวิตก่อนที่จะไปถึงจุดหมาย นักโทษจะถูกกักตัวอยู่ในรถราง ซึ่งบ่อยครั้งแล้วมักจะเป็นวันหรือเป็นสัปดาห์ โดยไม่มีน้ำหรืออาหาร หรือมิฉะนั้นก็มีให้น้อยมาก นักโทษจำนวนมากเสียชีวิตจากการขาดน้ำในอากาศร้อนจัดในฤดูร้อน หรือแข็งจนตายในฤดูหนาว นอกจากนี้ ค่ายกักกันพบเห็นในเยอรมนีด้วยเช่นกัน และในขณะที่มันมิได้รับการออกแบบมาเพื่อการสังหารหมู่อย่างเป็นระบบโดยเฉพาะ แต่นักโทษจำนวนมากก็เสียชีวิตจากสภาพแวดล้อมที่โหดร้ายหรือไม่ก็ถูกประหารชีวิต
ในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 หน่วยเอสเอส รวมทั้งแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโครงการปรานีฆาต ที-4 เริ่มต้นการสังหารนักโทษซึ่งได้รับเลือกใน "ปฏิบัติการ 14f13" กองตรวจค่ายกักกันได้จัดหมวดหมู่ไฟล์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการตายของนักโทษรวมกับ 14f และไฟล์ของนักโทษที่ถูกส่งตัวไปยังห้องรมแก๊สที-4 รวมกับ 14f13 ภายใต้ข้อบังคับทางด้านภาษาของเอสเอส นักโทษที่ได้รับเลือกจะระบุสำหรับ "การปฏิบัติอย่างพิเศษ (เยอรมัน: Sonderbehandlung) 14f13" นักโทษจะได้รับเลือกอย่างเป็นทางการ ขึ้นอยู่กับสภาพทางการแพทย์ของพวกเขา; กล่าวคือ ผู้ซึ่งไม่เหมาะสมต่อการใช้แรงงานอย่างถาวร เนื่องจากความเจ็บป่วย และอย่างไม่เป็นทางการ ได้ใช้หลักเกณฑ์ทางเชื้อชาติและการบำรุงพันธุ์มนุษย์: ชาวยิว ผู้พิการ และผู้ซึ่งมีประวัติอาชญากรรมหรือต่อต้านสังคม แต่สำหรับนักโทษชาวยิว ทางการไม่แสร้งทดสอบทางการแพทย์พวกเขาเสียด้วยซ้ำ: บันทึกการจับกุมทั้งหลายจะได้รับการระบุว่าเป็นการวินิจฉัยของแพทย์ทั้งสิ้น ในตอนต้นของปี ค.ศ. 1943 เมื่อมีความต้องการใช้แรงงานมากขึ้น และห้องรมแก๊สที่ค่ายเอาชวิตซ์เริ่มใช้การได้ ออกคำสั่งยกเลิกปฏิบัติการ 14f13
ภายหลังปี ค.ศ. 1942 มีการก่อตั้งค่ายย่อย ๆ ขนาดเล็กจำนวนมากขึ้นใกล้กับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อป้อนการบังคับใช้แรงงาน ได้ก่อตั้งเครื่องจักรผลิตยางสังเคราะห์ ในปี ค.ศ. 1942 ที่ (เอาชวิตซ์ 3); มีการก่อตั้งค่ายอื่น ๆ ขึ้นติดต่อกับโรงงานผลิตเครื่องบิน เหมืองถ่านหิน หรือเครื่องจักรผลิตเชื้อเพลิงจรวด สภาพแวดล้อมของนักโทษเลวร้ายมากและมักมีการส่งตัวนักโทษไปยังห้องรมแก๊สหรือถูกสังหาร หากพวกเขาทำงานได้ไม่รวดเร็วพอ
หลังจากการพิจารณาหลายครั้ง การประกาศชะตากรรมสุดท้ายของนักโทษชาวยิว ("การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย") ในปี ค.ศ. 1942 ณ ที่ประชุมวันน์เซ ไปถึงเจ้าหน้าที่ระดับสูง
เมื่อสงครามใกล้ยุติ ค่ายกักกันได้กลายมาเป็นแหล่งทดลองทางการแพทย์ การทดลองวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์ การแช่แข็งนักโทษเพื่อทดสอบผลกระทบที่มีต่อนักบิน และการทดลองและยาเพื่อการสังหารปรากฏในค่ายกักกันหลายแห่ง นักโทษสตรีมักถูกข่มขืนและทำให้ขายหน้าเป็นกิจวัตรในค่ายกักกัน
การปลดปล่อย
ค่ายกักกันหลายแห่งนี้ได้รับการปลดปล่อยโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ระหว่าง ค.ศ. 1943 และ ค.ศ. 1945 ซึ่งมักสายเกินกว่าจะสามารถช่วยเหลือนักโทษที่เหลืออยู่ อาทิ เมื่อกองกำลังสหราชอาณาจักรเข้าสู่ค่ายกักกันเบอร์เกน-เบลเซน ในปี ค.ศ. 1945 ทหารพบว่านักโทษ 60,000 คนมีชีวิตอยู่ แต่นักโทษกว่า 10,000 คน เสียชีวิตในสัปดาห์เดียวกันเนื่องจากไข้รากสาดใหญ่และการขาดอาหาร
ประเภทของค่าย
- ค่ายขั้นแรก(Early camps) โดยไม่มีโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม ได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วทุกที่ในเยอรมนีเมื่อนาซีได้ครองอำนาจในปี ค.ศ. 1933 ด้วยจำนวนมากเท่าที่มีของกองกำลังตำรวจทางการเมืองที่เติบโตอย่างไม่เป็นระเบียบและแพร่หลายราวกับ"เห็ดผุดขึ้นหลังฝนตก" ที่ฮิมเลอร์ได้นึกขึ้นได้ ค่ายขั้นแรกนี้ได้เรียกว่า "ค่ายป่า"(Wild camps) เพราะบางครั้งก็เกิดมาพร้อมกับการควบคุมดูแลน้อยนิดจากเจ้าหน้าที่ระดับสูง ได้อยู่ภายใต้ของทหารนาซี ตำรวจทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ตำรวจท้องถิ่นบางแห่งที่ใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ห้องเครื่องยนต์ ชั้นโรงเบียร์ ห้องเก็บของ ห้องใต้ดิน เป็นต้น
- ค่ายรัฐ(State camps)(เช่น ดาเคา, Oranienburg, Esterwegen)อยู่ในการดูแลของหน่วยเอสเอ เป็นค่ายต้นแบบสำหรับค่ายกักกันของหน่วยเอสเอสในอนาคต โดยมีนักโทษประมาณ 107,000 คนที่ได้เข้าไปอยู่ในที่แห่งนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935
- ค่ายเชลย(Hostage camps-Geisellager)เป็นที่รู้จักกันในฐานะเป็นค่ายคุกเรือนจำตำรวจ(เช่น Sint-Michielsgestel, Haaren)ที่เชลยถูกจับกุมและถูกฆ่าตายในเวลาต่อมาสำหรับการล้างแค้นที่ต่อต้าน
- ค่ายแรงงาน(Arbeitslager)ค่ายกักกันที่ได้ทำการกักตัวเหล่าเชลยให้ต้องทำงานอย่างหนักภายใต้ความโหดร้ายและทารุณ บางส่วนของเหล่านี้เป้นค่ายย่อย เรียกว่า "ค่ายภายนอก"(Aussenlager) ถูกสร้างขึ้นรอบๆค่ายกลางใหญ่(Stammlager) หรือทำหน้าที่เป็น "ค่ายปฏิบัติการ"ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อความจำเป็นชั่วคราว
- ค่ายเชลยศึก(Kriegsgefangenen-Mannschafts-Stammlager / Stalag) a.k.a. ค่ายหลักสำหรับเชลยที่ถูกจับขังในช่วงสงคราม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- One of the best-known examples was the 168 British Commonwealth and U.S. aviators held for a time at . (See: luvnbdy/secondwar/fact_sheets/pow Veterans Affairs Canada, 2006, “Prisoners of War in the Second World War”[] and National Museum of the USAF, “Allied Victims of the Holocaust”.) Two different reasons are suggested for this: the Nazis wanted to make an example of the (“terror-instilling aviators”), or they classified the downed fliers as spies because they were out of uniform, carrying false papers, or both when apprehended.
- See, for example, Joseph Robert White, 2006, “Flint Whitlock. Given Up for Dead: American GIs in the Nazi Concentration Camp at Berga” (book review)
- “Germany and the Camp System” PBS Radio website
- Friedlander, Henry (1995). The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution. Chapel Hill: University of North Carolina Press. p. 144.
- Friedlander, Henry (1995). The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution. Chapel Hill: University of North Carolina Press. pp. 147–148.
- Friedlander, Henry (1995). The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution. Chapel Hill: University of North Carolina Press. p. 150.
- Morrissette, Alana M.: The Experiences of Women During the Holocaust 2008-02-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, p. 7.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Pages show pictures and videos of the day taken at places connected with World War II (Second World War) 2018-08-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Yad VaShem—The Holocaust Martyrs' and Heroes' Remembrance Authority 2016-02-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- United States Holocaust Memorial Museum Personal Histories - Camps 2006-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at
- The Holocaust History Project 2004-09-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Official US National Archive Footage of Nazi camps
- Holocaust sites in Germany, Austria, Poland, Czech Republic, France 2007-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Concentration Camps at
- Memory of the Camps, as shown by
- [1] Private visit – Aug 2007
- Podcast with one of 2,000 Danish policemen in Buchenwald 2007-10-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Nazi Concentration Camp Page with links to original documents!!
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nasieyxrmniidcdtngkhaykkknkhuntlxddinaednyudkhrxngkhxngtn khaykkknnasiinchwngaerk ephimcanwnkhunxyangmakineyxrmniphayhlng inpi kh s 1933 odytngicthicakhumkhngnkothskaremuxngaelaphutxtanrthbal khaykkkndngklawidephimcanwnkhunxikinchwngkhristthswrrs 1930 emuxmikarkhumkhngnkothskaremuxngaelaklumbukhkhlxikhlayklumodyimmikaritswnhruxkrabwnkartulakar khadngklawepnkhayummacak khaykkknxngkvs rahwang nkwichakareruxngkarlangchatiodynasi Holocaust idkahndkhxaetktangrahwangkhaykkkn dngthixthibayinbthkhwamni aelkhaymrna sungepnkhaythisrangkhunmaephuxcudprasngkhinkarsngharprachakrcanwnmaklngephiyngxyangediyw idaek chawyiwinthwipyuorp chawopl chawyipsi aelachatixun khaymrnarwmipthung ebleskh osbibxr thriblingka aelaexachwits ebxrekhnawkxngkalngshrthxemrika n khaykkknsungidrbkarpldplxy aesdngihphleruxnchaweyxrmnehnphrxmkbhlkthan rthbrrthuksungetmipdwysaksphkhaykkknrahwangsngkhramolkkhrngthisxngphayhlngkarpathukhxngsngkhramolkkhrngthisxng inpi kh s 1939 khaykkknnasiidklayepnsthanthikhumkhngstrukhxngnasi rahwangsngkhram khaykkknsahrb phuimphungprarthna niidaephrkracayipthwthwipyuorp mikarsrangkhayihm khuniklkbsunyklangkhxngprachakr phuimphungprarthna ni sungmkephngelngipyngprachakhmchawyiw klumpyyachnchawopl phwkkhxmmiwnist hruxorma kxnsngkhram inopaelndmichawyiwxasyxyuhlaylankhn khaykkknswnihymkphbehninphunthikhxng indinaednyudkhrxngopaelnd ephuxcudprasngkhdankarkhnsng nxkcakniyngthaihnasikhnsngchaweyxrmnechuxsayyiwxxknxkpraethsidxikdwy phutxngkhng klumphutxngkhnginkhaykkknswnihymicanwn 6 klum odychawyiwaelaechlysukosewiytmicanwnmakthisud khux hlaylankhn nxkcakni yngmiphwkorma hruxyipsi chawopl nkothskaremuxngsayklanghruxfaysay phwkrkrwmephs phusungmikhwambkphrxng phunbthuxlththiphyanphraeyohwah nkbwchkhathxlik klumpyyachnyuorptawnxxk aelaxun rwmthngxachyakrodythwip sahrbechlysukfaysmphnthmitrtawntkcathuksngipyngkhaykkkninhlaycudprasngkh ekhlysukehlanithiepnyiw hruxthiphwknasiechuxwaepnyiw mkcathuksngipyngkhayechlysuktampkti xyangirktam micanwnnxythithuksngipyngkhaykkknphayitnoybaytxtanchawyiw inbangkhrng khaykkknichepnthikhumkhngnkothssakhy xyangechn nayphlsungmiswnruehninkhwamphyayamlxbsngharhitelxr echn phleruxexk wilehlm khanaris phusungthukkhumtwxyuthiflxsesnbuwrk emuxwnthi 7 kumphaphnth kh s 1945 cnkrathngekhathukaekhwnkhxemuxwnthi 9 emsayn imnankxnsngkhramyuti inkhaykkknswnihy mikarbngkhbihnkothsswmekhruxngaebbsungbngchiexklksndwyekhmsitamkarcdaebngpraephth samehliymsiaedngsahrbphwkkhxmmiwnistaelankothskaremuxngxun samehliymsiekhiywsahrbxachyakrthwip sichmphusahrbchayrkrwmephs simwngsahrbphunbthuxlththiphyanphraeyohwah sidasahrbphwkyipsiaelaphwkthihlikhnisngkhm aelasiehluxngsahrbchawyiw karptibtitxnkoths nkothsnblanesiychiwitinkhaykkknenuxngcakkarthatharunodyectna orkhrabad karxdxahar aelakarichaerngnganhnk hruxthukpraharchiwitenuxngcakimsamarthichaerngnganid chawyiwmakkwa 3 lankhnesiychiwitdwyehtuphldngklaw swnihyesiychiwitinhxngrmaeks aemwacamikarsngharnkothsbangswndwykaryinghruxdwywithikarxun karkhnsngnkothsodyrthrangbrrthukmkcaxyuinsphaphaewdlxmthiimemtta thisungnkothscanwnmakesiychiwitkxnthicaipthungcudhmay nkothscathukkktwxyuinrthrang sungbxykhrngaelwmkcaepnwnhruxepnspdah odyimminahruxxahar hruxmichannkmiihnxymak nkothscanwnmakesiychiwitcakkarkhadnainxakasrxncdinvdurxn hruxaekhngcntayinvduhnaw nxkcakni khaykkknphbehnineyxrmnidwyechnkn aelainkhnathimnmiidrbkarxxkaebbmaephuxkarsngharhmuxyangepnrabbodyechphaa aetnkothscanwnmakkesiychiwitcaksphaphaewdlxmthiohdrayhruximkthukpraharchiwit inchwngtnvduibimphli kh s 1941 hnwyexsexs rwmthngaephthyaelaecahnathicakokhrngkarpranikhat thi 4 erimtnkarsngharnkothssungidrbeluxkin ptibtikar 14f13 kxngtrwckhaykkknidcdhmwdhmuiflthnghmdthiekiywkhxngkbkartaykhxngnkothsrwmkb 14f aelaiflkhxngnkothsthithuksngtwipynghxngrmaeksthi 4 rwmkb 14f13 phayitkhxbngkhbthangdanphasakhxngexsexs nkothsthiidrbeluxkcarabusahrb karptibtixyangphiess eyxrmn Sonderbehandlung 14f13 nkothscaidrbeluxkxyangepnthangkar khunxyukbsphaphthangkaraephthykhxngphwkekha klawkhux phusungimehmaasmtxkarichaerngnganxyangthawr enuxngcakkhwamecbpwy aelaxyangimepnthangkar idichhlkeknththangechuxchatiaelakarbarungphnthumnusy chawyiw phuphikar aelaphusungmiprawtixachyakrrmhruxtxtansngkhm aetsahrbnkothschawyiw thangkarimaesrngthdsxbthangkaraephthyphwkekhaesiydwysa bnthukkarcbkumthnghlaycaidrbkarrabuwaepnkarwinicchykhxngaephthythngsin intxntnkhxngpi kh s 1943 emuxmikhwamtxngkarichaerngnganmakkhun aelahxngrmaeksthikhayexachwitserimichkarid xxkkhasngykelikptibtikar 14f13 phayhlngpi kh s 1942 mikarkxtngkhayyxy khnadelkcanwnmakkhuniklkborngnganxutsahkrrmephuxpxnkarbngkhbichaerngngan idkxtngekhruxngckrphlityangsngekhraah inpi kh s 1942 thi exachwits 3 mikarkxtngkhayxun khuntidtxkborngnganphlitekhruxngbin ehmuxngthanhin hruxekhruxngckrphlitechuxephlingcrwd sphaphaewdlxmkhxngnkothselwraymakaelamkmikarsngtwnkothsipynghxngrmaekshruxthuksnghar hakphwkekhathanganidimrwderwphx hlngcakkarphicarnahlaykhrng karprakaschatakrrmsudthaykhxngnkothschawyiw karaekpyhachawyiwkhrngsudthay inpi kh s 1942 n thiprachumwnnes ipthungecahnathiradbsung emuxsngkhramiklyuti khaykkknidklaymaepnaehlngthdlxngthangkaraephthy karthdlxngwichawadwykarbarungphnthumnusy karaechaekhngnkothsephuxthdsxbphlkrathbthimitxnkbin aelakarthdlxngaelayaephuxkarsngharpraktinkhaykkknhlayaehng nkothsstrimkthukkhmkhunaelathaihkhayhnaepnkicwtrinkhaykkkn phlexk diwt di ixesnhawr kalngsubswnsphkhxngnkoths n khayaerngnganohrdruf kh s 1945karpldplxy khaykkknhlayaehngniidrbkarpldplxyodyfaysmphnthmitr rahwang kh s 1943 aela kh s 1945 sungmksayekinkwacasamarthchwyehluxnkothsthiehluxxyu xathi emuxkxngkalngshrachxanackrekhasukhaykkknebxrekn eblesn inpi kh s 1945 thharphbwankoths 60 000 khnmichiwitxyu aetnkothskwa 10 000 khn esiychiwitinspdahediywknenuxngcakikhraksadihyaelakarkhadxaharpraephthkhxngkhaykhaykhnaerk Early camps odyimmiokhrngsrangphunthanthiehmaasm idetibotkhunxyangrwderwthukthiineyxrmniemuxnasiidkhrxngxanacinpi kh s 1933 dwycanwnmakethathimikhxngkxngkalngtarwcthangkaremuxngthietibotxyangimepnraebiybaelaaephrhlayrawkb ehdphudkhunhlngfntk thihimelxridnukkhunid khaykhnaerkniideriykwa khaypa Wild camps ephraabangkhrngkekidmaphrxmkbkarkhwbkhumduaelnxynidcakecahnathiradbsung idxyuphayitkhxngthharnasi tarwcthangkaremuxng aelaecahnathitarwcthxngthinbangaehngthiichphunthikhnadihy echn hxngekhruxngynt chnorngebiyr hxngekbkhxng hxngitdin epntn khayrth State camps echn daekha Oranienburg Esterwegen xyuinkarduaelkhxnghnwyexsex epnkhaytnaebbsahrbkhaykkknkhxnghnwyexsexsinxnakht odyminkothspraman 107 000 khnthiidekhaipxyuinthiaehngnntngaetpi kh s 1935 khayechly Hostage camps Geisellager epnthiruckkninthanaepnkhaykhukeruxncatarwc echn Sint Michielsgestel Haaren thiechlythukcbkumaelathukkhatayinewlatxmasahrbkarlangaekhnthitxtan khayaerngngan Arbeitslager khaykkknthiidthakarkktwehlaechlyihtxngthanganxyanghnkphayitkhwamohdrayaelatharun bangswnkhxngehlaniepnkhayyxy eriykwa khayphaynxk Aussenlager thuksrangkhunrxbkhayklangihy Stammlager hruxthahnathiepn khayptibtikar thicdtngkhunephuxkhwamcaepnchwkhraw khayechlysuk Kriegsgefangenen Mannschafts Stammlager Stalag a k a khayhlksahrbechlythithukcbkhnginchwngsngkhramswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephimkhaophxangxingOne of the best known examples was the 168 British Commonwealth and U S aviators held for a time at See luvnbdy secondwar fact sheets pow Veterans Affairs Canada 2006 Prisoners of War in the Second World War lingkesiy and National Museum of the USAF Allied Victims of the Holocaust Two different reasons are suggested for this the Nazis wanted to make an example of the terror instilling aviators or they classified the downed fliers as spies because they were out of uniform carrying false papers or both when apprehended See for example Joseph Robert White 2006 Flint Whitlock Given Up for Dead American GIs in the Nazi Concentration Camp at Berga book review Germany and the Camp System PBS Radio website Friedlander Henry 1995 The Origins of Nazi Genocide From Euthanasia to the Final Solution Chapel Hill University of North Carolina Press p 144 Friedlander Henry 1995 The Origins of Nazi Genocide From Euthanasia to the Final Solution Chapel Hill University of North Carolina Press pp 147 148 Friedlander Henry 1995 The Origins of Nazi Genocide From Euthanasia to the Final Solution Chapel Hill University of North Carolina Press p 150 Morrissette Alana M The Experiences of Women During the Holocaust 2008 02 28 thi ewyaebkaemchchin p 7 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb khaykkknnasi Pages show pictures and videos of the day taken at places connected with World War II Second World War 2018 08 17 thi ewyaebkaemchchin Yad VaShem The Holocaust Martyrs and Heroes Remembrance Authority 2016 02 04 thi ewyaebkaemchchin United States Holocaust Memorial Museum Personal Histories Camps 2006 06 28 thi ewyaebkaemchchin at The Holocaust History Project 2004 09 19 thi ewyaebkaemchchin Official US National Archive Footage of Nazi camps Holocaust sites in Germany Austria Poland Czech Republic France 2007 11 08 thi ewyaebkaemchchin Concentration Camps at Memory of the Camps as shown by 1 Private visit Aug 2007 Podcast with one of 2 000 Danish policemen in Buchenwald 2007 10 13 thi ewyaebkaemchchin Nazi Concentration Camp Page with links to original documents