คอหอยอักเสบจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส หรือ เจ็บคอสเตร็ปโธรท (อังกฤษ: Strep throat) เป็นการอักเสบที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า สเตรปโตค็อกคัส กลุ่มเอ (Group A streptococcus) สเตรปโธรทส่งผลกระทบต่อลำคอ ต่อมทอนซิล และอาจส่งผลต่อกล่องเสียง (หลอดเสียง) อาการที่พบบ่อย ได้แก่ มีไข้ เจ็บคอ และต่อมน้ำเหลืองในลำคอบวม สเตรปโธรทเป็นสาเหตุของอาการเจ็บคอคิดเป็นร้อยละ 37 ในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก
คอหอยอักเสบจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส | |
---|---|
ชื่ออื่น | Streptococcal pharyngitis, streptococcal tonsillitis, streptococcal sore throat, strep |
ภาพคอหอยของผู้ป่วยคอหอยอักเสบจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส แสดงให้เห็นหนองที่ซอนทิลที่เป็นลักษณะเฉพาะ | |
สาขาวิชา | Infectious disease |
อาการ | ไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต |
การตั้งต้น | 1–3 วัน หลังได้รับเชื้อ |
ระยะดำเนินโรค | 7–10 วัน |
สาเหตุ | |
ปัจจัยเสี่ยง | ดื่มน้ำหรือกินอาหารร่วมกัน |
วิธีวินิจฉัย | , |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | Epiglottitis, infectious mononucleosis, Ludwig's angina, peritonsillar abscess, , |
การป้องกัน | การล้างมือ การปิดปากเวลาไอ |
การรักษา | พาราเซตามอล, NSAIDs, antibiotics |
ความชุก | 5 to 40% of sore throats |
การเจ็บคอสเตรปโธรท สามารถเกิดการติดต่อได้โดยการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย หากต้องการตรวจสอบให้แน่ใจว่าผู้ป่วยนั้นๆ ป่วยเป็นเจ็บคอสเตรปโธรท ก็ต้องใช้การทดสอบที่เรียกว่าการเพาะเชื้อ (throat culture ) จากสารคัดหลั่งในลำคอ อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะไม่มีการทดสอบนี้การวินิจฉัยโรคก็อาจทำได้จากพื้นฐานอาการของโรค ในกรณีที่ผู้ป่วยมีแนวโน้มของโรคหรือเป็นโรคอย่างแน่นอน ก็สามารถใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาที่ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย) เพื่อป้องกันไม่ให้โรครุนแรงยิ่งขึ้นและหายจากโรคได้เร็วขึ้น
อาการแสดงและอาการ
อาการโดยทั่วไปของการเจ็บคอสเตรปโธรทคือ เจ็บคอ มีไข้สูงกว่า 38°ซ (100.4°ฟ) มีสารคัดหลั่ง (สีเหลืองหรือสีเขียว) ปกคลุมบนต่อมทอนซิล และต่อมในลำคอบวม
อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้คือ:
- ปวดศีรษะ
- การอาเจียนหรือคลื่นเหียน
- ปวดท้อง
- ปวดกล้ามเนื้อ
- ผื่นผิวหนัง (ผื่นโปนแดงขนาดเล็ก) ตามร่างกายหรือในช่องปากหรือลำคอ (เป็นอาการที่พบไม่บ่อยแต่เป็นอาการเฉพาะของโรค)
ผู้ป่วยสเตรปโธรทมักเริ่มแสดงอาการภายในหนึ่งถึงสามวันหลังจากได้รับเชื้อจากผู้ที่ป่วยเป็นโรค
- Mouth wide open showing the throat
A throat infection which on culture tested positive for group A streptococcus. Note the large tonsils with white . - Mouth wide open showing the throat
Note the , or small red spots, on the . This is an uncommon but highly specific finding in streptococcal pharyngitis. - A set of large tonsils in the back of the throat covered in white exudate.
A culture positive case of streptococcal pharyngitis with typical tonsillar exudate in an 8 year old.
สาเหตุ
การเจ็บคอสเตรปโธรทมีสาเหตุมาจากเชื้อโรค (หรือแบคทีเรีย) ที่ชื่อ เบต้า-ฮีโมไลติก สเตรปโตค็อกคัส กลุ่มเอ (Group A beta-hemolytic streptococcus (แกส/GAS)) แต่ทั้งนี้เชื้อโรคอื่นๆ ก็อาจเป็นสาเหตุของการเจ็บคอได้ สเตรปโธรทติดต่อได้จากการคลุกคลีใกล้ชิดโดยตรงกับผู้ป่วย โดยในกลุ่มคนจำนวนมาก เช่น ในค่ายทหารหรือในโรงเรียน จะมีอัตราการติดเชื้อของโรคนี้สูงยิ่งขึ้น เชื้อโรคที่แห้งตัวและปะปนอยู่ในฝุ่นไม่สามารถทำให้คนป่วยเป็นโรคได้ แต่เชื้อโรคที่มีความชื้น เช่น ที่พบบนแปรงสีฟัน สามารถทำให้คนป่วยเป็นเวลาไม่เกิน 15 วันได้ ในกรณีที่พบน้อยมาก เชื้อโรคเหล่านี้สามารถอาศัยอยู่ในอาหารและทำให้ผู้ที่รับประทานอาหารนั้นป่วยเป็นโรคได้ เด็กที่มีเชื้อโรคแกสในลำคอของพวกเขาโดยไม่มีอาการของการเจ็บคอสเตรปโธรทซึ่งเป็นผู้ที่เป็นพาหะของโรคมีจำนวนเท่ากับร้อยละสิบสอง
การวินิจฉัย
คะแนน | ความเสี่ยง | มาตรการรักษา |
---|---|---|
1 หรือน้อยกว่า | <10% | ไม่ใช้แอนติบอดี้หรือการเพาะเชื้อ |
2 | 11–17% | ใช้แอนติบอดี้จากการเพาะเชื้อ หรือ RADT |
3 | 28–35% | |
4 หรือ 5 | 52% | ใช้แอนติบอดี้เชิงประจักษ์ |
หลักเกณฑ์ที่เรียกว่า Modified Centor score ใช้เพื่อกำหนดวิธีการรักษาผู้ที่เจ็บคอ โดยใช้พื้นฐานของเกณฑ์ทางคลินิกที่สำคัญห้าข้อ ซึ่งคะแนนจาก Centor score จะเป็นตัวกำหนดแนวโน้มของการเป็นการเจ็บคอสเตรปโธรท
จุดที่ระบุไว้สำหรับเกณฑ์สำคัญเหล่านี้คือ:
- ไม่มีการไอ
- ต่อมในคอบวมและนิ่ม
- มีไข้สูงกว่า 38°ซ (100.4°ฟ)
- มีสารคัดหลั่งหรือการบวมของต่อมในลำคอ (ต่อมทอนซิล)
- อายุต่ำกว่า 15 ปี (เกณฑ์ข้อนี้จะถูกหักลบด้วยผู้ที่อายุมากกว่า 44 ปี)
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบที่เป็นวิธีการทดสอบหลักเรียกว่าการเพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งในลำคอ สำหรับการระบุว่าบุคคลนั้นเป็นการเจ็บคอสเตรปโธรทหรือไม่ วิธีการทดสอบนี้ให้ความแม่นยำในผลของโรคของผู้ที่ได้รับการทดสอบเท่ากับ 90 ถึง 95 เปอร์เซนต์ อาจมีการใช้การทดสอบที่เรียกว่าการทดสอบสารก่อภูมิต้านทานเชื้อสเตรป (หรือเรียกอย่างหนึ่งว่าการตรวจอาร์เอดีที [Rapid Antigen Detection Testing]) การทดสอบเชื้อสเตรปนี้ให้ผลรวดเร็วกว่าการเพาะเชื้อแต่ความแม่นยำในผลของโรคของผู้ที่ได้รับการทดสอบนั้นคิดเป็นเพียง 70 เปอร์เซ็นต์ โดยทั้งสองการทดสอบนี้มีความเท่าเทียมกันในการระบุว่าบุคคลนั้นไม่มีเชื้อการเจ็บคอสเตรปโธรท (จาก 98 เปอร์เซ็นต์ของผู้ที่ได้รับการทดสอบ)
สิ่งที่ใช้ในการพิสูจน์การเป็นโรคคือผลการทดสอบด้วยการเพาะเชื้อที่เป็นบวก (หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า การทดสอบที่ระบุว่าบุคคลนั้นเป็นโรค) หรือการทดสอบสารก่อภูมิต้านทานเชื้อสเตรป ร่วมกับอาการของการเจ็บคอสเตรปโธรท ผู้ที่ไม่มีอาการแสดงไม่ควรได้รับการทดสอบการเพาะเชื้อหรือการทดสอบสารก่อภูมิต้านทานเชื้อสเตรปเป็นประจำ เนื่องจากมีบุคคลเพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้นที่มีแบคทีเรียสเตรปโตคอกคัสในลำคอของตนโดยปราศจากผลที่เป็นอันตราย
ความเจ็บป่วยอื่นๆ ที่อาจสร้างความสับสนกับการเจ็บคอสเตรปโธรท
อาการของการเจ็บคอสเตรปโธรทเป็นอาการที่คาบเกี่ยวกับภาวะอื่นๆ ดังนั้นการวินิจฉัยว่าเป็นการเจ็บคอสเตรปโธรทโดยไม่มีการทดสอบด้วยการเพาะเชื้อหรือการทดสอบสารก่อภูมิต้านทานเชื้อสเตรปอาจทำได้ยาก นอกเหนือจากมีไข้และเจ็บคอแล้วนั้น การไอ มีน้ำมูก ท้องเสีย และตาแดงและเคืองก็เป็นแนวโน้มของการเจ็บคอที่เกิดจากเชื้อไวรัสมากกว่าที่จะเป็นการเจ็บคอสเตรปโธรทได้ การบวมของต่อม (ต่อมน้ำเหลือง) ในลำคอพร้อมกับเจ็บคอ มีไข้ และต่อม (ต่อมทอนซิล) ในลำคอโตสามารถเกิดขึ้นได้หากผู้ป่วยนั้นเป็นโรคที่เรียกว่าโรคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิส (infectious mononucleosis)
การป้องกัน
การตัดต่อมทอนซิลอาจเป็นวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันการเจ็บคอสเตรปโธรทในผู้ที่มักเจ็บป่วยจากโรคนี้อยู่เสมอ นับตั้งแต่ปี 2003 เป็นต้นมา การป่วยด้วยการเจ็บคอสเตรปโธรทตั้งแต่สามครั้งต่อหนึ่งปีขึ้นไปนั้นถือได้ว่าเป็นที่เหตุผลเพียงพอในการตัดต่อมทอนซิลทิ้ง การรอโดยคอยจับตามองก็เป็นสิ่งที่เหมาะสมเช่นกัน
การรักษา
การเจ็บคอสเตรปโธรทที่ไม่ได้รับการรักษามักหายไปเองภายในเวลาไม่กี่วัน การรักษาด้วยยา (ปฏิชีวนะ) สามารถช่วยลดระยะเวลาการเกิดอาการได้ประมาณ 16 ชั่วโมงโดยเฉลี่ย เหตุผลหลักในการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะคือเพื่อลดความเสี่ยงของความเจ็บป่วยที่ร้ายแรงมากขึ้น เช่น มีไข้รุนแรง (ที่รู้จักในชื่อว่า ไข้รูมาติก) หรือการสะสมของหนองในลำคอ (ที่เรียกว่า ฝีหลังคอหอย [retropharyngeal abscesses]). ยาเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพดีหากได้รับยาภายใน 9 วันนับจากการเริ่มต้นของอาการเหล่า
ยาแก้ปวด
ยาบรรเทาปวด เช่น ยาลดอาการบวม (ยาต้านการอักเสบหรือ NSAID ที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือยาลดไข้ (พาราเซตามอล หรือ อะเซตามิโนเฟน [acetaminophen])สามารถช่วยลดความเจ็บปวดที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บคอสเตรปโธรทได้ ทั้งนี้ยาสเตียรอยด์ต่างๆ นั้นก็มีประโยชน์เช่นกัน ซึ่งอยู่ในรูปครีมหรือขี้ผึ้งที่ชื่อลิโดเคน (lidocaine) ในผู้ใหญ่อาจใช้แอสไพรินได้ แต่ไม่แนะนำการใช้ในเด็กเพราะยานี้สามารถเพิ่มความเสี่ยงของการพัฒนาของโรคที่คุกคามชีวิตที่มีชื่อเรียกว่ากลุ่มอาการราย (Reye's syndrome)
ยาปฏิชีวนะ
ยาปฏิชีวนะที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเลือกใช้สำหรับการรักษาการเจ็บคอสเตรปโธรทคือยาเพนนิซิลลิน-วี (penicillin V) ยาปฏิชีวนะตัวนี้เป็นที่นิยมเนื่องจากเหตุผลด้านความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายและประสิทธิผลของยาดังกล่าว ส่วนยาที่ประเทศในยุโรปเลือกใช้คือยาอะม็อกซีซิลลิน (amoxicillin) ในประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความเสี่ยงในการพัฒนาของไข้รูมาติกสูง ทางเลือกอันดับแรกในการรักษาได้แก่ยาฉีดที่ชื่อว่าเบนซาทีนเพนิซิลลิน-จี (benzathine penicillin G) ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมสามารถลดระยะเวลาเฉลี่ย (ซึ่งเป็นเวลา 3-5 วัน) ของอาการลงได้ประมาณวันหนึ่ง และยาเหล่านี้ยังช่วยลดการแพร่กระจายของโรคได้อีกด้วย ยาที่แพทย์สั่งส่วนใหญ่ใช้เพื่อช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ไม่บ่อย เช่น การมีไข้ที่รุนแรง ผื่นผิวหนังหรือการติดเชื้อต่าง ๆ ผลประโยชน์จากการรักษาการเจ็บคอสเตรปโธรทด้วยยาปฏิชีวนะควรต้องมีความสมดุลกับผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้ ยาปฏิชีวนะนั้นไม่จำเป็นต้องให้แก่ผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดีที่มีปฏิกิริยาเชิงลบต่อยา ยาปฏิชีวนะที่แพทย์สั่งจ่ายสำหรับการเจ็บคอสเตรปโธรทเป็นอัตราที่สูงกว่าอัตราที่มีการคาดหมายสำหรับความรุนแรงและอัตราการแพร่กระจายของโรค ยาอิริโทรมัยซิน (Erythromycin)(และยาอื่นๆ ที่ชื่อว่า แมคโครีด [macrolides]) ได้รับการแนะนำสำหรับผู้ที่แพ้ยาเพนิซิลลินขั้นรุนแรง ขั้นแรก อาจใช้การรักษาด้วยกลุ่มยาที่ชื่อว่าเซฟาโลสปอริน (cephalosporins) ในกลุ่มของผู้มีอาการแพ้ที่รุนแรงน้อยกว่า การติดเชื้อสเตรปโตค็อกคัสยังสามารถนำไปสู่ภาวะไตบวมได้ ทั้งนี้ยาปฏิชีวนะจะไม่ช่วยลดโอกาสของภาวะนี้
แนวโน้มของโรค
อาการของการเจ็บคอสเตรปโธรทมักดีขึ้นภายใน 3-5 วันไม่ว่าจะได้รับการรักษาหรือไม่ก็ตาม การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะนั้นก็เพื่อลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยที่รุนแรงมากขึ้นและการแพร่กระจายของโรค และเมื่อได้รับยาขนานแรกเด็กก็อาจไปโรงเรียนตามปกติได้หลังจาก 24 ชั่วโมง
ปัญหาร้ายแรงเหล่านี้อาจมีสาเหตุมาจากการเจ็บคอสเตรปโธรท:
- มีไข้รุนแรง เช่น ไข้รูมาติก หรือไข้ดำแดง (scarlet fever)
- ความเจ็บป่วยที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตที่เรียกว่ากลุ่มอาการช็อกจากพิษ (toxic shock syndrome)
- การบวมของไต
- ความเจ็บป่วยที่เรียกว่ากลุ่มอาการ PANDAS (PANDAS syndrome) ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาเฉียบพลันต่อภูมิคุ้มกันขั้นร้ายแรง และบางครั้งต่อกลุ่มอาการทางพฤติกรรม
รูปแบบและการแพร่กระจายของโรค
การเจ็บคอสเตรปโธรทเป็นโรคที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ของการเจ็บคอ (หรือคออักเสบ)โดยประชากรในประเทศสหรัฐอเมริกาได้รับการวินิจฉัยว่าโรคนี้จำนวน 11 ล้านคนต่อปี กรณีส่วนของการเจ็บคอนั้นเกิดจากเชื้อไวรัส อย่างไรก็ตามแบคทีเรียสเตรปโตค็อกคัส กลุ่มเอ นั้นเป็นสาเหตุของการเจ็บคอในเด็กคิดเป็นจำนวน 30 เปอร์เซ็นต์และของการเจ็บคอในผู้ใหญ่ที่คิดเป็นจำนวน 5 ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ โรคนี้มักเกิดในช่วงปลายฤดูหนาวและต้นฤดูใบไม้ผลิ
อ้างอิง
- "Is It Strep Throat?". CDC. October 19, 2015. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2016. สืบค้นเมื่อ 2 February 2016.
- Warrell, David A.; Timothy M. Cox; John D. Firth, บ.ก. (2012). Oxford textbook of medicine infection. Oxford: Oxford University Press. pp. 280–281. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-10.
- Goroll, Allan H.; Mulley, Albert G. Jr. (2009). Primary care medicine: office evaluation and management of the adult patient (6th ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. p. 1408. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-15.
- "Strep throat - Symptoms and causes". Mayo Clinic (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
- Gottlieb, M; Long, B; Koyfman, A (May 2018). "Clinical Mimics: An Emergency Medicine-Focused Review of Streptococcal Pharyngitis Mimics". The Journal of Emergency Medicine. 54 (5): 619–629. doi:10.1016/j.jemermed.2018.01.031. PMID 29523424.
- Weber, R (March 2014). "Pharyngitis". Primary Care. 41 (1): 91–8. doi:10.1016/j.pop.2013.10.010. PMC 7119355. PMID 24439883.
- Shaikh N, Leonard E, Martin JM (September 2010). "Prevalence of streptococcal pharyngitis and streptococcal carriage in children: a meta-analysis". Pediatrics. 126 (3): e557–64. doi:10.1542/peds.2009-2648. PMID 20696723. S2CID 8625679.
- Shulman, ST; Bisno, AL; Clegg, HW; Gerber, MA; Kaplan, EL; Lee, G; Martin, JM; Van Beneden, C (Sep 9, 2012). "Clinical Practice Guideline for the Diagnosis and Management of Group A Streptococcal Pharyngitis: 2012 Update by the Infectious Diseases Society of America". Clinical Infectious Diseases. 55 (10): e86–102. doi:10.1093/cid/cis629. PMC 7108032. PMID 22965026.
- streptococcal pharyngitis ใน
- Choby BA (March 2009). "Diagnosis and treatment of streptococcal pharyngitis". Am Fam Physician. 79 (5): 383–90. PMID 19275067. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-08.
- Brook I, Dohar JE (December 2006). "Management of group A beta-hemolytic streptococcal pharyngotonsillitis in children". J Fam Pract. 55 (12): S1–11, quiz S12. PMID 17137534.
- Hayes CS, Williamson H (April 2001). "Management of Group A beta-hemolytic streptococcal pharyngitis". Am Fam Physician. 63 (8): 1557–64. PMID 11327431. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-16.
- Baltimore RS (February 2010). "Re-evaluation of antibiotic treatment of streptococcal pharyngitis". Curr. Opin. Pediatr. 22 (1): 77–82. doi:10.1097/MOP.0b013e32833502e7. PMID 19996970. S2CID 13141765.
- Lindbaek M, Høiby EA, Lermark G, Steinsholt IM, Hjortdahl P (2004). "Predictors for spread of clinical group A streptococcal tonsillitis within the household". Scand J Prim Health Care. 22 (4): 239–43. doi:10.1080/02813430410006729. PMID 15765640.
- Smith, Ellen Reid; Kahan, Scott; Miller, Redonda G. (2008). In A Page Signs & Symptoms. In a Page Series. Hagerstown, Maryland: Lippincott Williams & Wilkins. p. 312. ISBN .
- Bisno AL, Gerber MA, Gwaltney JM, Kaplan EL, Schwartz RH (July 2002). "Practice guidelines for the diagnosis and management of group A streptococcal pharyngitis. Infectious Diseases Society of America" (PDF). Clin. Infect. Dis. 35 (2): 113–25. doi:10.1086/340949. PMID 12087516.
- Ebell MH (2004). "Epstein-Barr virus infectious mononucleosis". Am Fam Physician. 70 (7): 1279–87. PMID 15508538. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-24.
- Paradise JL, Bluestone CD, Bachman RZ; และคณะ (March 1984). "Efficacy of tonsillectomy for recurrent throat infection in severely affected children. Results of parallel randomized and nonrandomized clinical trials". N. Engl. J. Med. 310 (11): 674–83. doi:10.1056/NEJM198403153101102. PMID 6700642.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Alho OP, Koivunen P, Penna T, Teppo H, Koskela M, Luotonen J (May 2007). "Tonsillectomy versus watchful waiting in recurrent streptococcal pharyngitis in adults: randomised controlled trial". BMJ. 334 (7600): 939. doi:10.1136/bmj.39140.632604.55. PMC 1865439. PMID 17347187.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Johnson BC, Alvi A (March 2003). "Cost-effective workup for tonsillitis. Testing, treatment, and potential complications". Postgrad Med. 113 (3): 115–8, 121. PMID 12647478.
- Thomas M, Del Mar C, Glasziou P (October 2000). "How effective are treatments other than antibiotics for acute sore throat?". Br J Gen Pract. 50 (459): 817–20. PMC 1313826. PMID 11127175.
- "Effectiveness of Corticosteroid Treatment in Acute Pharyngitis: A Systematic Review of the Literature". Andrew Wing. 2010; Academic Emergency Medicine.[]
- "Generic Name: Lidocaine Viscous (Xylocaine Viscous) side effects, medical uses, and drug interactions". MedicineNet.com. สืบค้นเมื่อ 2010-05-07.
- Bonsignori F, Chiappini E, De Martino M (2010). "The infections of the upper respiratory tract in children". Int J Immunopathol Pharmacol. 23 (1 Suppl): 16–9. PMID 20152073.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Snow V, Mottur-Pilson C, Cooper RJ, Hoffman JR (March 2001). "Principles of appropriate antibiotic use for acute pharyngitis in adults". Ann Intern Med. 134 (6): 506–8. doi:10.7326/0003-4819-134-6-200103200-00018. PMID 11255529. S2CID 35082591.[ต้องการการอัปเดต?]
- Linder JA, Bates DW, Lee GM, Finkelstein JA (November 2005). "Antibiotic treatment of children with sore throat". J Am Med Assoc. 294 (18): 2315–22. doi:10.1001/jama.294.18.2315. PMID 16278359.
- "UpToDate Inc". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-08.
- Stevens DL, Tanner MH, Winship J, และคณะ (July 1989). "Severe group A streptococcal infections associated with a toxic shock-like syndrome and scarlet fever toxin A". N. Engl. J. Med. 321 (1): 1–7. doi:10.1056/NEJM198907063210101. PMID 2659990.
- Hahn RG, Knox LM, Forman TA (May 2005). "Evaluation of poststreptococcal illness". Am Fam Physician. 71 (10): 1949–54. PMID 15926411.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khxhxyxkesbcakechuxsetrpotkhxkkhs hrux ecbkhxsetrpothrth xngkvs Strep throat epnkarxkesbthiekidcakechuxaebkhthieriythimichuxwa setrpotkhxkkhs klumex Group A streptococcus setrpothrthsngphlkrathbtxlakhx txmthxnsil aelaxacsngphltxklxngesiyng hlxdesiyng xakarthiphbbxy idaek miikh ecbkhx aelatxmnaehluxnginlakhxbwm setrpothrthepnsaehtukhxngxakarecbkhxkhidepnrxyla 37 inklumphupwyedkkhxhxyxkesbcakechuxsetrpotkhxkkhschuxxunStreptococcal pharyngitis streptococcal tonsillitis streptococcal sore throat strepphaphkhxhxykhxngphupwykhxhxyxkesbcakechuxsetrpotkhxkkhs aesdngihehnhnxngthisxnthilthiepnlksnaechphaasakhawichaInfectious diseasexakarikh ecbkhx txmnaehluxngotkartngtn1 3 wn hlngidrbechuxrayadaeninorkh7 10 wnsaehtupccyesiyngdumnahruxkinxaharrwmknwithiwinicchy orkhxunthikhlayknEpiglottitis infectious mononucleosis Ludwig s angina peritonsillar abscess karpxngknkarlangmux karpidpakewlaixkarrksapharaestamxl NSAIDs antibioticskhwamchuk5 to 40 of sore throats karecbkhxsetrpothrth samarthekidkartidtxidodykarkhlukkhliiklchidkbphupwy haktxngkartrwcsxbihaenicwaphupwynn pwyepnecbkhxsetrpothrth ktxngichkarthdsxbthieriykwakarephaaechux throat culture caksarkhdhlnginlakhx xyangirkdi aemwacaimmikarthdsxbnikarwinicchyorkhkxacthaidcakphunthanxakarkhxngorkh inkrnithiphupwymiaenwonmkhxngorkhhruxepnorkhxyangaennxn ksamarthichyaptichiwna yathikhaechuxaebkhthieriy ephuxpxngknimihorkhrunaerngyingkhunaelahaycakorkhiderwkhunxakaraesdngaelaxakarxakarodythwipkhxngkarecbkhxsetrpothrthkhux ecbkhx miikhsungkwa 38 s 100 4 f misarkhdhlng siehluxnghruxsiekhiyw pkkhlumbntxmthxnsil aelatxminlakhxbwm xakarxun thixacphbidkhux pwdsirsa karxaeciynhruxkhlunehiyn pwdthxng pwdklamenux phunphiwhnng phunopnaedngkhnadelk tamrangkayhruxinchxngpakhruxlakhx epnxakarthiphbimbxyaetepnxakarechphaakhxngorkh phupwysetrpothrthmkerimaesdngxakarphayinhnungthungsamwnhlngcakidrbechuxcakphuthipwyepnorkh Mouth wide open showing the throat A throat infection which on culture tested positive for group A streptococcus Note the large tonsils with white Mouth wide open showing the throat Note the or small red spots on the This is an uncommon but highly specific finding in streptococcal pharyngitis A set of large tonsils in the back of the throat covered in white exudate A culture positive case of streptococcal pharyngitis with typical tonsillar exudate in an 8 year old saehtukarecbkhxsetrpothrthmisaehtumacakechuxorkh hruxaebkhthieriy thichux ebta hiomiltik setrpotkhxkkhs klumex Group A beta hemolytic streptococcus aeks GAS aetthngniechuxorkhxun kxacepnsaehtukhxngkarecbkhxid setrpothrthtidtxidcakkarkhlukkhliiklchidodytrngkbphupwy odyinklumkhncanwnmak echn inkhaythharhruxinorngeriyn camixtrakartidechuxkhxngorkhnisungyingkhun echuxorkhthiaehngtwaelapapnxyuinfunimsamarththaihkhnpwyepnorkhid aetechuxorkhthimikhwamchun echn thiphbbnaeprngsifn samarththaihkhnpwyepnewlaimekin 15 wnid inkrnithiphbnxymak echuxorkhehlanisamarthxasyxyuinxaharaelathaihphuthirbprathanxaharnnpwyepnorkhid edkthimiechuxorkhaeksinlakhxkhxngphwkekhaodyimmixakarkhxngkarecbkhxsetrpothrthsungepnphuthiepnphahakhxngorkhmicanwnethakbrxylasibsxngkarwinicchyModified Centor score khaaenn khwamesiyng matrkarrksa1 hruxnxykwa lt 10 imichaexntibxdihruxkarephaaechux2 11 17 ichaexntibxdicakkarephaaechux hrux RADT3 28 35 4 hrux 5 52 ichaexntibxdiechingpracks hlkeknththieriykwa Modified Centor score ichephuxkahndwithikarrksaphuthiecbkhx odyichphunthankhxngeknththangkhlinikthisakhyhakhx sungkhaaenncak Centor score caepntwkahndaenwonmkhxngkarepnkarecbkhxsetrpothrth cudthirabuiwsahrbeknthsakhyehlanikhux immikarix txminkhxbwmaelanim miikhsungkwa 38 s 100 4 f misarkhdhlnghruxkarbwmkhxngtxminlakhx txmthxnsil xayutakwa 15 pi eknthkhxnicathukhklbdwyphuthixayumakkwa 44 pi karthdsxbthanghxngptibtikar karthdsxbthiepnwithikarthdsxbhlkeriykwakarephaaechuxcaksarkhdhlnginlakhx sahrbkarrabuwabukhkhlnnepnkarecbkhxsetrpothrthhruxim withikarthdsxbniihkhwamaemnyainphlkhxngorkhkhxngphuthiidrbkarthdsxbethakb 90 thung 95 epxresnt xacmikarichkarthdsxbthieriykwakarthdsxbsarkxphumitanthanechuxsetrp hruxeriykxyanghnungwakartrwcxarexdithi Rapid Antigen Detection Testing karthdsxbechuxsetrpniihphlrwderwkwakarephaaechuxaetkhwamaemnyainphlkhxngorkhkhxngphuthiidrbkarthdsxbnnkhidepnephiyng 70 epxresnt odythngsxngkarthdsxbnimikhwamethaethiymkninkarrabuwabukhkhlnnimmiechuxkarecbkhxsetrpothrth cak 98 epxresntkhxngphuthiidrbkarthdsxb singthiichinkarphisucnkarepnorkhkhuxphlkarthdsxbdwykarephaaechuxthiepnbwk hruxklawxikxyanghnungwa karthdsxbthirabuwabukhkhlnnepnorkh hruxkarthdsxbsarkxphumitanthanechuxsetrp rwmkbxakarkhxngkarecbkhxsetrpothrth phuthiimmixakaraesdngimkhwridrbkarthdsxbkarephaaechuxhruxkarthdsxbsarkxphumitanthanechuxsetrpepnpraca enuxngcakmibukhkhlephiyngcanwnhnungethannthimiaebkhthieriysetrpotkhxkkhsinlakhxkhxngtnodyprascakphlthiepnxntray khwamecbpwyxun thixacsrangkhwamsbsnkbkarecbkhxsetrpothrth xakarkhxngkarecbkhxsetrpothrthepnxakarthikhabekiywkbphawaxun dngnnkarwinicchywaepnkarecbkhxsetrpothrthodyimmikarthdsxbdwykarephaaechuxhruxkarthdsxbsarkxphumitanthanechuxsetrpxacthaidyak nxkehnuxcakmiikhaelaecbkhxaelwnn karix minamuk thxngesiy aelataaedngaelaekhuxngkepnaenwonmkhxngkarecbkhxthiekidcakechuxiwrsmakkwathicaepnkarecbkhxsetrpothrthid karbwmkhxngtxm txmnaehluxng inlakhxphrxmkbecbkhx miikh aelatxm txmthxnsil inlakhxotsamarthekidkhunidhakphupwynnepnorkhthieriykwaorkhtidechuxomonniwkhlioxsis infectious mononucleosis karpxngknkartdtxmthxnsilxacepnwithikarthiehmaasmsahrbkarpxngknkarecbkhxsetrpothrthinphuthimkecbpwycakorkhnixyuesmx nbtngaetpi 2003 epntnma karpwydwykarecbkhxsetrpothrthtngaetsamkhrngtxhnungpikhunipnnthuxidwaepnthiehtuphlephiyngphxinkartdtxmthxnsilthing karrxodykhxycbtamxngkepnsingthiehmaasmechnknkarrksakarecbkhxsetrpothrththiimidrbkarrksamkhayipexngphayinewlaimkiwn karrksadwyya ptichiwna samarthchwyldrayaewlakarekidxakaridpraman 16 chwomngodyechliy ehtuphlhlkinkarrksadwyyaptichiwnakhuxephuxldkhwamesiyngkhxngkhwamecbpwythirayaerngmakkhun echn miikhrunaerng thiruckinchuxwa ikhrumatik hruxkarsasmkhxnghnxnginlakhx thieriykwa fihlngkhxhxy retropharyngeal abscesses yaehlanicamiprasiththiphaphdihakidrbyaphayin 9 wnnbcakkarerimtnkhxngxakarehla yaaekpwd yabrrethapwd echn yaldxakarbwm yatankarxkesbhrux NSAID thiimichsetiyrxyd hruxyaldikh pharaestamxl hrux xaestamionefn acetaminophen samarthchwyldkhwamecbpwdthiekiywkhxngkbkarecbkhxsetrpothrthid thngniyasetiyrxydtang nnkmipraoychnechnkn sungxyuinrupkhrimhruxkhiphungthichuxliodekhn lidocaine inphuihyxacichaexsiphrinid aetimaenanakarichinedkephraayanisamarthephimkhwamesiyngkhxngkarphthnakhxngorkhthikhukkhamchiwitthimichuxeriykwaklumxakarray Reye s syndrome yaptichiwna yaptichiwnathipraethsshrthxemrikaeluxkichsahrbkarrksakarecbkhxsetrpothrthkhuxyaephnnisillin wi penicillin V yaptichiwnatwniepnthiniymenuxngcakehtuphldankhwamplxdphy khaichcayaelaprasiththiphlkhxngyadngklaw swnyathipraethsinyuorpeluxkichkhuxyaxamxksisillin amoxicillin inpraethsxinediy sungepnsthanthithimikhwamesiynginkarphthnakhxngikhrumatiksung thangeluxkxndbaerkinkarrksaidaekyachidthichuxwaebnsathinephnisillin ci benzathine penicillin G yaptichiwnathiehmaasmsamarthldrayaewlaechliy sungepnewla 3 5 wn khxngxakarlngidpramanwnhnung aelayaehlaniyngchwyldkaraephrkracaykhxngorkhidxikdwy yathiaephthysngswnihyichephuxchwyldphawaaethrksxnthiphbidimbxy echn karmiikhthirunaerng phunphiwhnnghruxkartidechuxtang phlpraoychncakkarrksakarecbkhxsetrpothrthdwyyaptichiwnakhwrtxngmikhwamsmdulkbphlkhangekhiyngthixacekidkhunid yaptichiwnannimcaepntxngihaekphuihythimisukhphaphdithimiptikiriyaechinglbtxya yaptichiwnathiaephthysngcaysahrbkarecbkhxsetrpothrthepnxtrathisungkwaxtrathimikarkhadhmaysahrbkhwamrunaerngaelaxtrakaraephrkracaykhxngorkh yaxiriothrmysin Erythromycin aelayaxun thichuxwa aemkhokhrid macrolides idrbkaraenanasahrbphuthiaephyaephnisillinkhnrunaerng khnaerk xacichkarrksadwyklumyathichuxwaesfaolspxrin cephalosporins inklumkhxngphumixakaraephthirunaerngnxykwa kartidechuxsetrpotkhxkkhsyngsamarthnaipsuphawaitbwmid thngniyaptichiwnacaimchwyldoxkaskhxngphawaniaenwonmkhxngorkhxakarkhxngkarecbkhxsetrpothrthmkdikhunphayin 3 5 wnimwacaidrbkarrksahruximktam karrksadwyyaptichiwnannkephuxldkhwamesiyngkhxngkarecbpwythirunaerngmakkhunaelakaraephrkracaykhxngorkh aelaemuxidrbyakhnanaerkedkkxaciporngeriyntampktiidhlngcak 24 chwomng pyharayaerngehlanixacmisaehtumacakkarecbkhxsetrpothrth miikhrunaerng echn ikhrumatik hruxikhdaaedng scarlet fever khwamecbpwythixacepnxntraythungchiwitthieriykwaklumxakarchxkcakphis toxic shock syndrome karbwmkhxngit khwamecbpwythieriykwaklumxakar PANDAS PANDAS syndrome sungkxihekidpyhaechiybphlntxphumikhumknkhnrayaerng aelabangkhrngtxklumxakarthangphvtikrrmrupaebbaelakaraephrkracaykhxngorkhkarecbkhxsetrpothrthepnorkhthithukcdxyuinhmwdhmukhxngkarecbkhx hruxkhxxkesb odyprachakrinpraethsshrthxemrikaidrbkarwinicchywaorkhnicanwn 11 lankhntxpi krniswnkhxngkarecbkhxnnekidcakechuxiwrs xyangirktamaebkhthieriysetrpotkhxkkhs klumex nnepnsaehtukhxngkarecbkhxinedkkhidepncanwn 30 epxresntaelakhxngkarecbkhxinphuihythikhidepncanwn 5 thung 20 epxresnt orkhnimkekidinchwngplayvduhnawaelatnvduibimphlixangxing Is It Strep Throat CDC October 19 2015 cakaehlngedimemux 2 February 2016 subkhnemux 2 February 2016 Warrell David A Timothy M Cox John D Firth b k 2012 Oxford textbook of medicine infection Oxford Oxford University Press pp 280 281 ISBN 9780191631733 cakaehlngedimemux 2016 10 10 Goroll Allan H Mulley Albert G Jr 2009 Primary care medicine office evaluation and management of the adult patient 6th ed Philadelphia Wolters Kluwer Health Lippincott Williams amp Wilkins p 1408 ISBN 9780781775137 cakaehlngedimemux 2016 09 15 Strep throat Symptoms and causes Mayo Clinic phasaxngkvs subkhnemux 24 January 2020 Gottlieb M Long B Koyfman A May 2018 Clinical Mimics An Emergency Medicine Focused Review of Streptococcal Pharyngitis Mimics The Journal of Emergency Medicine 54 5 619 629 doi 10 1016 j jemermed 2018 01 031 PMID 29523424 Weber R March 2014 Pharyngitis Primary Care 41 1 91 8 doi 10 1016 j pop 2013 10 010 PMC 7119355 PMID 24439883 Shaikh N Leonard E Martin JM September 2010 Prevalence of streptococcal pharyngitis and streptococcal carriage in children a meta analysis Pediatrics 126 3 e557 64 doi 10 1542 peds 2009 2648 PMID 20696723 S2CID 8625679 Shulman ST Bisno AL Clegg HW Gerber MA Kaplan EL Lee G Martin JM Van Beneden C Sep 9 2012 Clinical Practice Guideline for the Diagnosis and Management of Group A Streptococcal Pharyngitis 2012 Update by the Infectious Diseases Society of America Clinical Infectious Diseases 55 10 e86 102 doi 10 1093 cid cis629 PMC 7108032 PMID 22965026 streptococcal pharyngitis in Choby BA March 2009 Diagnosis and treatment of streptococcal pharyngitis Am Fam Physician 79 5 383 90 PMID 19275067 cakaehlngedimemux 2015 02 08 Brook I Dohar JE December 2006 Management of group A beta hemolytic streptococcal pharyngotonsillitis in children J Fam Pract 55 12 S1 11 quiz S12 PMID 17137534 Hayes CS Williamson H April 2001 Management of Group A beta hemolytic streptococcal pharyngitis Am Fam Physician 63 8 1557 64 PMID 11327431 cakaehlngedimemux 2008 05 16 Baltimore RS February 2010 Re evaluation of antibiotic treatment of streptococcal pharyngitis Curr Opin Pediatr 22 1 77 82 doi 10 1097 MOP 0b013e32833502e7 PMID 19996970 S2CID 13141765 Lindbaek M Hoiby EA Lermark G Steinsholt IM Hjortdahl P 2004 Predictors for spread of clinical group A streptococcal tonsillitis within the household Scand J Prim Health Care 22 4 239 43 doi 10 1080 02813430410006729 PMID 15765640 Smith Ellen Reid Kahan Scott Miller Redonda G 2008 In A Page Signs amp Symptoms In a Page Series Hagerstown Maryland Lippincott Williams amp Wilkins p 312 ISBN 0 7817 7043 2 Bisno AL Gerber MA Gwaltney JM Kaplan EL Schwartz RH July 2002 Practice guidelines for the diagnosis and management of group A streptococcal pharyngitis Infectious Diseases Society of America PDF Clin Infect Dis 35 2 113 25 doi 10 1086 340949 PMID 12087516 Ebell MH 2004 Epstein Barr virus infectious mononucleosis Am Fam Physician 70 7 1279 87 PMID 15508538 cakaehlngedimemux 2008 07 24 Paradise JL Bluestone CD Bachman RZ aelakhna March 1984 Efficacy of tonsillectomy for recurrent throat infection in severely affected children Results of parallel randomized and nonrandomized clinical trials N Engl J Med 310 11 674 83 doi 10 1056 NEJM198403153101102 PMID 6700642 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Alho OP Koivunen P Penna T Teppo H Koskela M Luotonen J May 2007 Tonsillectomy versus watchful waiting in recurrent streptococcal pharyngitis in adults randomised controlled trial BMJ 334 7600 939 doi 10 1136 bmj 39140 632604 55 PMC 1865439 PMID 17347187 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Johnson BC Alvi A March 2003 Cost effective workup for tonsillitis Testing treatment and potential complications Postgrad Med 113 3 115 8 121 PMID 12647478 Thomas M Del Mar C Glasziou P October 2000 How effective are treatments other than antibiotics for acute sore throat Br J Gen Pract 50 459 817 20 PMC 1313826 PMID 11127175 Effectiveness of Corticosteroid Treatment in Acute Pharyngitis A Systematic Review of the Literature Andrew Wing 2010 Academic Emergency Medicine lingkesiy Generic Name Lidocaine Viscous Xylocaine Viscous side effects medical uses and drug interactions MedicineNet com subkhnemux 2010 05 07 Bonsignori F Chiappini E De Martino M 2010 The infections of the upper respiratory tract in children Int J Immunopathol Pharmacol 23 1 Suppl 16 9 PMID 20152073 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Snow V Mottur Pilson C Cooper RJ Hoffman JR March 2001 Principles of appropriate antibiotic use for acute pharyngitis in adults Ann Intern Med 134 6 506 8 doi 10 7326 0003 4819 134 6 200103200 00018 PMID 11255529 S2CID 35082591 txngkarkarxpedt Linder JA Bates DW Lee GM Finkelstein JA November 2005 Antibiotic treatment of children with sore throat J Am Med Assoc 294 18 2315 22 doi 10 1001 jama 294 18 2315 PMID 16278359 UpToDate Inc cakaehlngedimemux 2008 12 08 Stevens DL Tanner MH Winship J aelakhna July 1989 Severe group A streptococcal infections associated with a toxic shock like syndrome and scarlet fever toxin A N Engl J Med 321 1 1 7 doi 10 1056 NEJM198907063210101 PMID 2659990 Hahn RG Knox LM Forman TA May 2005 Evaluation of poststreptococcal illness Am Fam Physician 71 10 1949 54 PMID 15926411